ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : แนวข้อสอบ  CAT  ฝ่ายเทคโนโลยี ศูนย์ข้อมูล
decho ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบ  CAT  ฝ่ายเทคโนโลยี ศูนย์ข้อมูล

แชร์กระทู้นี้

จำหน่ายไฟล์เอกสาแนวข้อสอบ  CAT  ฝ่ายเทคโนโลยี ศูนย์ข้อมูลทุกเขต
ความรู้ที่จำเป็น(วิชาที่สอบ) :
ความรู้เกี่ยวกับบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด _มหาชน
แนวข้อสอบข้อเขียน CAT กสท.
แนวข้อสอบความถนัดทางเชาน์ปัญญา Aptitude Test
แนวข้อสอบระบบการสื่อสารข้อมูล
แนวข้อสอบระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ _อัตานัย
แนวข้อสอบระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร์ _อัตนัย
แนวข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ
ระบบมาตรฐานด้านความปลอดภัยของข้อมูล ISO 27001
ความปลอดภัยและการรักษาความปลอดภันของระบบคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับ Virtualization & Cloud Computing
การสอบสัมภาษณ์

สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 
ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com


decho ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
Cloud Computing คือวิธีการประมวลผลที่อิงกับความต้องการของผู้ใช้ โดยผู้ใช้สามารถระบุความต้องการไปยังซอฟต์แวร์ของระบบCloud Computing จากนั้นซอฟต์แวร์จะร้องขอให้ระบบจัดสรรทรัพยากรและบริการให้ตรงกับความต้อง การผู้ใช้ ทั้งนี้ระบบสามารถเพิ่มและลดจำนวนของทรัพยากร รวมถึงเสนอบริการให้พอเหมาะกับความต้องการของผู้ใช้ได้ตลอดเวลา โดยที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องทราบเลยว่าการทำงานหรือเหตุการณ์เบื้องหลังเป็น เช่นไร

ผมได้นิยามคำว่า Cloud Computing ในรูปแบบที่ (น่าจะ) เข้าใจง่ายขึ้นที่ นิยามคำว่า Cloud Computing ภาค 2 สำหรับท่านที่กำลังค้นหาหัวข้อวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับ Cloud Computing สามารถไปอ่านบทความของผมได้ในหัวข้อชื่อ หมวดงานวิจัยเกี่ยวกับ Cloud Computing

รายละเอียดของนิยามมีอีกครับ เข้ามาติดตามได้เลย


ผมขอนิยามความหมายของคำหลักๆ 3 คำที่เกี่ยวข้องกับ Cloud Computing ต่อไปนี้

ความต้องการ (Requirement) คือโจทย์ปัญหาที่ผู้ใช้ต้องการให้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ไขปัญหาหรือตอบปัญหาตาม ที่ผู้ใช้กำหนดได้ ยกตัวอย่างเช่น ความต้องการพื้นที่จัดเก็บข้อมูลขนาด 1,000,000 GB, ความต้องการประมวลผลโปรแกรมแบบขนานเพื่อค้นหายารักษาโรคไข้หวัดนกให้ได้สูตร ยาภายใน 90 วัน, ความต้องการโปรแกรมและพลังการประมวลผลสำหรับสร้างภาพยนต์แอนนิเมชันความยาว 2 ชั่วโมงให้แล้วเสร็จภายใน 4 เดือน, และความต้องการค้นหาข้อมูลท่องเที่ยวและโปรแกรมทัวร์ในประเทศอิตาลีในราคา ที่ถูกที่สุดในโลกแต่ปลอดภัยในการเดินทางด้วย เป็นต้น

ทรัพยากร (Resource) หมายถึง ปัจจัยหรือสรรพสิ่งที่เกี่ยวข้องกับการประมวลผลหรือเกี่ยวข้องกับการแก้ไข ปัญหาตามโจทย์ที่ความต้องการของผู้ใช้ได้ระบุไว้ อาทิเช่น CPU, Memory (เช่น RAM), Storage (เช่น harddisk), Database, Information, Data, Network, Application Software, Remote Sensor เป็นต้น

บริการ (Service) ถือว่าเป็นทรัพยากร และในทางกลับกันก็สามารถบอกได้ว่าทรัพยากรก็คือบริการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านCloud Computingแล้ว เราจะใช้คำว่าบริการแทนคำว่าทรัพยากร คำว่าบริการหมายถึงการกระทำ (operation) เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่สนองต่อความต้องการ (requirement) แต่การกระทำของบริการจะเกิดขึ้นได้จำเป็นต้องพึ่งพาทรัพยากร โดยการใช้ทรัพยากรที่เกี่ยวข้องเพื่อแก้ปัญหาให้เกิดผลลัพธ์สนองต่อความต้อง การ

สำหรับCloud Computingแล้ว ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องสนใจเลยว่าระบบเบื้องล่างทำงานอย่างไร ประกอบไปด้วยทรัพยากร(resource) อะไรบ้าง ผู้ใช้แค่ระบุความต้องการ(requirement) จากนั้นบริการ(service)ก็เพียงให้ผลลัพธ์แก่ผู้ใช้ ส่วนบริการจะไปจัดการกับทรัพยากรอย่างไรนั้นผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องสนใจ สรุปได้ว่า ผู้ใช้มองเห็นเพียงบริการซึ่งทำหน้าที่เสมือนซอฟต์แวร์ที่ทำงานตามโจทย์ของ ผู้ใช้ โดยที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรับทราบถึงทรัพยากรที่แท้จริงว่ามีอะไรบ้างและถูก จัดการเช่นไร หรือไม่จำเป็นต้องทราบว่าทรัพยากรเหล่านั้นอยู่ที่ไหน
decho ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

มารู้จักเวชวลไลเซชั่นซอฟแวต์

          เวชวลไลเซชันซอฟต์แวต์ก็คือการสร้างสภาพแวดล้อมจำลองของเครื่องขึ้นมา โดยที่มันจะทำงานอยู่ภายใต้ฮาร์ดแวร์นั้น เวชวล
ไลเซชันซอฟต์แวต์ก็คือการสร้างส่วนควบคุมที่เชื่อมต่อกับซอฟต์แวร์ที่ ทำหน้าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เสมือนหรือที่เราเรียกว่าเวชวลแมชชีน
(Virtual Machines:VMs) ซึ่งก็คือซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่ในการทำงานเป็นตัวแทนของทรัพยากรต่างๆบน เครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวอย่าง
เช่น  การจำลองโปสเซสเซอร์  (Processor) , หน่วยความจำหลัก  (Physical memory) , การเชื่อมต่อกับเครือข่าย (Network connection) และ อุปกรณ์ อินพุท เอาท์พุท (IO Device)เป็นต้น ในส่วนซอฟต์แวต์ด้านสแตก จะรวมเอาระบบปฏิบัติการ (Operating system) และโปรแกรมต่างๆ ให้ทำงานอยู่ในส่วนบนสุดของตัว เวชวลแมชชีน ซึ่งการทำงานของซอฟต์แวร์เวชวลแมชชีนต่างๆ สามารถที่
จะทำงานพร้อมกันได้ในเครื่องเดียวกัน และในการเข้าใช้ทรัพยากรเครื่องของตัวซอฟต์แวร์เวชวลแมชชีน จะถูกควบคุมด้วยโปรแกรมที่เรียกว่า เวชวลแมชชีนมอนิเตอร์ (Virtual Machines Monitor:VMM) ซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อช่วยในการจัดการและจัดสรรการใช้ทรัพยากรของระบบร่วมกัน รวมถึงการแปลคำสั่งจากเวชวลแมชชีนไปเป็นคำสั่งระบบของเครื่อง (Physical Hardware)

สถาปัตยกรรมของการทำเวชวลไลเซชั่น

        มีทางเลือกมากมายในการ สนับสนุนเทคโนโลยีการทำงานของเวชวลไลเชชัน แต่มีเทคนิคอยู่ 2 รูปแบบที่เป็นผู้นำทางด้านเทคโนโลยีนี้อยู่ก็คือเทคนิคแบบ Full virtualization และ Para-virtualization




                                         รูปภาพตัวอย่างแสดงการทำงานของสถาปัตยกรรม Virtualiztion

             1. การทำ Full virtualization สำหรับการทำเวชวลไลเซชั่นในรูปแบบนี้ ถูกออก แบบเพื่อเตรียมการทำให้เป็นรูปแบบเสมือนทั้งหมดของฮาร์ดแวร์ และสร้างระบบเสมือนที่สมบูรณ์ ในที่นี้จะทำให้เราสามารถที่นำ ระบบปฏิบัติการอื่นๆ มาติดตั้งและสามารถที่จะทำงานอยู่บนเครื่องคอมพิเตอร์เดียวกันได้ ซึ่งเราจะเรียกว่าระบบปฏิบัติที่มาติดตั้งเพิ่มเติมนี้ว่า ระบบปฏิบัติการเยือน ( Guest Operating System: GOS ) โดยที่ระบบปฏิบัติการเยือนสามารถที่จะทำงานได้โดยไม่ต้องมีการแก้ไขเปลี่ยน แปลงสิ่งใดๆ กับคำสั่งที่ถูกร้องขอจากระบบปฏิบัติการเยือนนั้นๆ หรือในตัวโปรแกรมของมันเอง เพราะฉะนั้น ระบบปฏิบัติการเยือนหรือโปรแกรม จะไม่ทราบถึงสภาพแวดล้อมจำลองเสมือนจริงที่เกิดขึ้น จึงทำให้ระบบปฏิบัติการเยือนและโปรแกรมของมันทำงานอยู่บน เวชวลแมชชีน ในขณะที่ในความจริงแล้วจะต้องทำงานบนสภาวะแวดล้อมของระบบจริงๆ ( Physical system ) วิธีการนี้ทำให้เกิดประโยชน์ เพราะว่ามันได้แยกการเชื่อมต่อของซอฟต์แวร์และระบบปฏิบัติการเยือน ออกจากฮาร์ดแวร์อย่างสมบูรณ์ ดังนั้นผลลัพธ์ของวิธีการแบบ Full virtualization ก็คือสามารถให้มีเส้นทางการเคลื่อนย้ายของตัวซอฟต์แวร์ และ ภาระงานต่างๆ ( workloads ) ระหว่างระบบปฏิบัติการที่มีคุณสมบัติที่แตกต่างกัน ตัวอย่างของซอฟต์แวร์เวชวลไลเชชัน ที่ใช้เทคนิค Full virtualization ก็คือ Microsoft Virtual Server, และ VMware ESX Server

            2. การทำ Para-virtualization เป็น อีกวิธีการหนึ่งในการทำเวชวลไลเชชัน โดยนำเสนอให้แต่ละ เวชวลแมชชีน คือรูปแบบเสมือนของฮาร์ดแวร์ที่ถูกนำเสนอเช่นเดียวกันกับแบบ Full virtualization แต่มีสิ่งที่ไม่เหมือนกันก็คือในเทคนิคแบบนี้จะสามารถระบุไปถึงภายในกายภาพ ของฮาร์ดแวร์ (Physical Hardware ) โดยเทคนิค Para-virtualization ต้องการที่จะมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขคำร้องขอของระบบปฏิบัติการเยือน ที่กำลังทำงานอยู่บนเวชวลแมชชีน ผลลัพธ์ของมันก็คือ ระบบปฏิบัติการเยือน จะรับรู้ได้ว่ามันกำลังทำงานอยู่บนซอฟต์แวร์เวชวลแมชชีนนั่นเอง มีการยอมรับว่าประสิทธิภาพที่ได้จะใกล้เคียงกับประสิทธิภาพตามธรรมชาติของ ระบบปฏิบัติการเยือน วิธีการของ Para- virtualization ยังคงดำเนินการพัฒนาและยังมีข้อจำกัดอยู่ เช่นการเกิดแคชของข้อมูลของระบบปฏิบัติการเยือน ( Guest Operating System Cache Data ) และการเชื่อมต่อกันที่ยังไม่มีความน่าเชื่อถือเพียงพอ ( Unauthenticated Connections )


แสดงตัวอย่าง Solution ของการทำ VPS ของ Xen

** สำหรับในบทความตอนถัดไปเราจะมารู้จักกับ Xen OS กันครับผม

- See more at: http://www.thaiopensource.org/article/%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5-virtualization#sthash.F9J9lbTN.dpuf
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

สามารถอัพโหลดไฟล์แนบ สำหรับโพสได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้