1. ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละกี่ปี
1.1 ปี
2.2 ปี
3.3 ปี
4.4 ปี *
--------------------------------------------------------------------------------------------------------
2. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการตั้งกระทู้ถามในการประชุมสภา อบต.
1. กระทู้ถามไม่มีการอภิปรายและไม่มีการลงมติ
2. ห้ามไม่ให้สมาชิกสภา อบต. ตั้งกระทู้ถามกันเอง
3. คณะผู้บริหารจะต้องตอบกระทู้กระทู้ถามนั้นทุกครั้ง*
4. กระทู้ถามต้องทำเป็นหนังสือเสนอล่วงหน้าต่อประธานสภา อบต.
--------------------------------------------------------------------------------
3. เขต อบต. มีจำนวน 11 หมู่บ้าน จะมีสมาชิกสภา อบต. ได้กี่คน
1. 11 คน
2. 12 คน
3. 22 คน *
4. 24 คน
--------------------------------------------------------------------------------
4. สมาชิกสภา อบต. จำนวนไม่น้อยกว่ากี่คน ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ มีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปในการประชุมสภา อบต. เพื่อให้นายก อบต. แถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในปัญหาเกี่ยวกับการบริหาร อบต. โดยไม่มีการลงมติ
1. หนึ่งในสอง
2. หนึ่งในสาม *
3. สามในสี่
4. สองในสาม
--------------------------------------------------------------------------------
5. บุคคลใดเป็นผู้ประกาศเรียกประชุมสภาสมัยวิสามัญ
1. ผู้ว่าราชการจังหวัด
2. นายอำเภอ *
3. นายก อบต.
4. ประธานสภา อบต.
--------------------------------------------------------------------------------
6. บุคคลใดต่อไปนี้มิได้เป็นสมาชิกสภาตำบลโดยตำแหน่ง
1. กำนัน
2. ผู้ใหญ่บ้าน
3. แพทย์ประจำตำบล
4. สารวัตรกำนัน*
-------------------------------------------------------------------------------
7. เขต อบต. มีจำนวน 11 หมู่บ้าน จะมีสมาชิกสภา อบต. ได้กี่คน
1. 11 คน
2. 12 คน
3. 22 คน *
4. 24 คน
--------------------------------------------------------------------------------
8. ข้อใดต่อไปนี้ คือคุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นนายก อบต.
1. มีอายุไม่ต่ำกว่า 30 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
2. สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือเคยเป็นสมาชิกสภาตำบล สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น หรือสมาชิกรัฐสภา
3. ไม่เป็นผู้มีพฤติกรรมในทางทุจริต หรือพ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาตำบล สมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถิ่น หรือเลขานุการหรือที่ปรึกษาของผู้บริหารท้องถิ่น เพราะเหตุที่มีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาหรือกิจการที่กระทำกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังไม่ถึงห้าปีนับถึงวันรับสมัครเลือกตั้ง
4. ถูกทุกข้อ*
--------------------------------------------------------------------------------
9. ในกรณีที่สภา อบต. ส่งร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีของ อบต. ให้นายอำเภออนุมัติ แต่ปรากฏล่วงเลยมา 20 วัน แล้วยังไม่มีคำตอบ จากนายอำเภอ ข้อบัญญัติดังกล่าวจะมีผลอย่างไร
1. ให้ถือว่านายอำเภออนุมัติร่างข้อบัญญัติดังกล่าว*
2. สภา อบต. ทวงถามขอส่งร่างข้อบัญญัตินั้นคืนมาให้สภาทบทวน
3. ร่างข้อบัญญัตินั้นเป็นอันตกไป
4. สภา อบต. นำร่างข้อบัญญัตินั้นมาทบทวนถ้ายืนยันตามร่างเดิมด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของสมาชิกสภา อบต. เท่าที่มีอยู่ให้ส่งให้นายก อบต.ประกาศใช้ข้อบัญญัตินั้นได้เลย
--------------------------------------------------------------------------------
10. บุคคลใดเป็นผู้แต่งตั้งประธานสภา อบต.
1. นายอำเภอตามมติสภา อบต.*
2. ผู้ว่าราชการตามคำเสนอของนายอำเภอ
3. อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
4. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
--------------------------------------------------------------------------------
11. บุคคลใดมีอำนาจสั่งให้มีการยุบสภา อบต. ได้ ตามกฎหมาย
1. ผู้ว่าราชการจังหวัด *
2. นายอำเภอ
3. นายก อบต.
4. ประธานสภา อบต.
--------------------------------------------------------------------------------
12. ข้อใดเป็นรายได้ที่ อบต.จัดเก็บเอง
1. ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย อากรฆ่าสัตว์และค่าธรรมเนียมรวมถึงผลประโยชน์อื่นอันเกิดจากการฆ่าสัตว์*
2. ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์และล้อเลื่อน ภาษีธุรกิจเฉพาะ
3. ค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดิน
4. ภาษีมูลค่าเพิ่ม
--------------------------------------------------------------------------------
13. บุคคลใดเป็นประธานสภาตำบล
1. กำนัน*
2. ผู้ใหญ่บ้านที่ได้รับการคัดเลือก
3. สมาชิกสภาตำบลที่ได้รับคัดเลือก
4. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
--------------------------------------------------------------------------------
14. พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล(ฉบับที่ 5) พ.ศ.2546 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อใด และมีผลบังคับใช้เมื่อไหร่
1. 2 กุมภาพันธ์ 2546 มีผลบังคับใช้ 2 พฤษภาคม 2546
2. 22 กุมภาพันธ์ 2546 มีผลบังคับใช้ 22 กุมภาพันธ์ 2546
3. 2 ธันวาคม 2546 มีผลบังคับใช้ 3 ธันวาคม 2546
4. 22 ธันวาคม 2546 มีผลบังคับใช้ 23 ธันวาคม 2546*
--------------------------------------------------------------------------------
15. กฎหมายที่ออกเพื่อใช้บังคับในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล เรียกว่า
1. ข้อบังคับตำบล
2. ข้อบังคับองค์การบริหารส่วนตำบล
3. ข้อบัญญัติตำบล
4. ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล*
--------------------------------------------------------------------------------
16. การบริหาร
งานในรูปแบบ อบต. นายก อบต. อาจแต่งตั้งรองนายก อบต. ได้ไม่เกินกี่คน
1. 1 คน
2. 2 คน *
3. 3 คน
4. 4 คน
--------------------------------------------------------------------------------
17. กฎหมายที่ออกเพื่อใช้บังคับในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล เรียกว่า
1. ข้อบังคับตำบล
2. ข้อบังคับองค์การบริหารส่วนตำบล
3. ข้อบัญญัติตำบล
4. ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล
--------------------------------------------------------------------------------
18. ข้อบัญญัติขององค์การบริหารส่วนตำบล ที่มีการกำหนดค่าธรรมเนียมเรียกเก็บได้ จะกำหนดโทษปรับสำหรับผู้ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามข้อบัญญัติได้ไม่เกินกี่บาท
1. 500 บาท
2. ไม่เกิน 500 บาท
3. 1,000 บาท
4. ไม่เกิน 1,000 บาท*
-------------------------------------------------------------------------------
19. ข้อใดมิได้เป็นลักษณะต้องห้ามของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา อบต.
1. เป็นพนักงานในบริษัทเสริมสุขจำกัด*
2. เป็นลูกจ้างของกรุงเทพมหานคร
3. เคยถูกไล่ออกจากการเป็นพนักงานของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
4. อยู่ระหว่างการเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง
--------------------------------------------------------------------------------
20. ในกรณีที่นายก อบต. ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองนายก อบต. ตามลำดับที่นายก อบต. แต่งตั้งไว้ เป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มีรองนายก หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้บุคคลใดเป็นผู้รักษาราชการแทน
1. แต่งตั้งปลัด อบต. เป็นผู้รักษาราชการแทน*
2. แต่งตั้งพนักงานส่วนตำบลเป็นผู้รักษาราชการแทน
3. แต่งตั้งประธานสภาเป็นผู้รักษาราชการแทน
4. แต่งตั้งสมาชิกสภา อบต. คนหนึ่งเป็นผู้ว่าราชการแทน
--------------------------------------------------------------------------------
21. การประชุมสภาสามัญสมัยหนึ่ง ๆ ของ อบต. มีกำหนดระยะเวลาไม่เกินกี่วัน [
1. 90 วัน
2. 60 วัน
3. 30 วัน
4. 15 วัน*
---------------------------------------------------------------------------------
22. การจัดระเบียบวาระการประชุม โดยปกติจัดลำดับการพิจารณาข้อปรึกษาในอันดับก่อนหลังดังนี้
1. รับรองรายงานการประชุม , เรื่องด่วน , ญัตติร่างข้อบัญญัติที่ค้างพิจารณา , ญัตติร่างข้อบังคับที่เสนอใหม่ , ญัตติอื่นๆ*
2. เรื่องด่วน , ญัตติร่างข้อบัญญัติที่ค้างพิจารณา , ญัตติร่างข้อบังคับที่เสนอใหม่ , ญัตติอื่นๆ , รับรองรายงานการประชุม
3. ญัตติร่างข้อบัญญัติที่ค้างพิจารณา , ญัตติร่างข้อบังคับที่เสนอใหม่ , เรื่องด่วน , ญัตติอื่นๆ , รับรองรายงานการประชุม
4. เรื่องด่วน , ญัตติร่างข้อบังคับที่เสนอใหม่ , ญัตติอื่นๆ , รับรองรายงานการประชุม , ญัตติร่างข้อบัญญัติที่ค้างพิจารณา
--------------------------------------------------------------------------------
23. ผู้อนุญาติให้ อบต. ฉัน้เงินจากกระทรวง ทบวง กรม องค์การหรือนิติบุคคลต่างๆ ได้ คือ
1. นายก อบต.
2. สภา อบต. *
3. นายอำเภอ
4. ผู้ว่าราชการจังหวัด
--------------------------------------------------------------------------------
24. ข้อใดมิได้เป็นลักษณะต้องห้ามของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา อบต.
1. เป็นพนักงานในบริษัทเสริมสุขจำกัด*
2. เป็นลูกจ้างของกรุงเทพมหานคร
3. เคยถูกไล่ออกจากการเป็นพนักงานของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
4. อยู่ระหว่างการเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง
--------------------------------------------------------------------------------
25. ข้อใดต่อไปนี้ คือคุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นนายก อบต.
1. มีอายุไม่ต่ำกว่า 30 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
2. สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือเคยเป็นสมาชิกสภาตำบล สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น หรือสมาชิกรัฐสภา
3. ไม่เป็นผู้มีพฤติกรรมในทางทุจริต หรือพ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาตำบล สมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถิ่น หรือเลขานุการหรือที่ปรึกษาของผู้บริหารท้องถิ่น เพราะเหตุที่มีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาหรือกิจการที่กระทำกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังไม่ถึงห้าปีนับถึงวันรับสมัครเลือกตั้ง
4. ถูกทุกข้อ*
--------------------------------------------------------------------------------
26. สภาองค์การบริหารส่วนตำบล ประกอบด้วยสมาชิกตามข้อใด
1. สมาชิกสภา อบต. จำนวนหมู่บ้านละ 1 คน
2. สมาชิกสภา อบต. จำนวนหมู่บ้านละ 2 คน*
3. สมาชิกสภา อบต. ตำบลละ 12 คน
4. สมาชิกสภา อบต. ตำบลละ 24 คน
--------------------------------------------------------------------------------
27. ข้อใดเป็นคุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา อบต.
1. มีชื่อในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรในหมู่บ้านของตำบลที่สมัครรับเลือกตั้งเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่าหนึ่งปีนับจนถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง
2. สัญชาติไทยโดยการเกิด
3. มีอายุไม่ต่ำกว่ายี่สิบห้าปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
4. ถูกทุกข้อ*
--------------------------------------------------------------------------------
28. ตามกฎหมายระบุให้นายก อบต. จะต้องจัดทำรายงานแสดงผลการปฏิบัติงานตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อสภา อบต. อย่างไร
1. เป็นประจำทุกปี
2. ปีละ 2 ครั้ง
3. ทุกรอบ 4 เดือน *
4. ทุกรอบ 2 ปี
--------------------------------------------------------------------------------
29. ผู้ใดเป็นผู้มีอำนาจให้ความเห็นชอบกรณีที่ อบต. ทำกิจการนอกเขตสภา อบต. หรือกรณีร่วมกับสภาตำบล อบต. หรืออบจ. หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นอื่นเพื่อทำกิจการร่วมกันได้
1. สภา อบต.
2. นายก อบต. โดยมติสภา *
3. นายอำเภอ
4. ผู้ว่าราชการจังหวัด
--------------------------------------------------------------------------------
30. บุคคลใดเป็นประธานสภาตำบล
1. กำนัน*
2. ผู้ใหญ่บ้านที่ได้รับการคัดเลือก
3. สมาชิกสภาตำบลที่ได้รับคัดเลือก
4. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
--------------------------------------------------------------------------------
31. นอกจากสมัยประชุมสามัญแล้ว เมื่อเห็นว่าเป็นการจำเป็นเพื่อประโยชน์แก่ อบต. บุคคลใดสามารถทำคำร้องขอให้เปิดประชุมสมัยวิสามัญได้
1. ประธานสภา อบต.
2. นายก อบต.
3. สมาชิกสภา อบต. จำนวนไม่ต่ำกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกสภา อบต. เท่าที่มีอยู่
4. ถูกทุกข้อ*
--------------------------------------------------------------------------------
32. สมาชิกสภา อบต. จำนวนไม่น้อยกว่ากี่คน ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ มีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปในการประชุมสภา อบต. เพื่อให้นายก อบต. แถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในปัญหาเกี่ยวกับการบริหาร อบต. โดยไม่มีการลงมติ
1. หนึ่งในสอง
2. หนึ่งในสาม *
3. สามในสี่
4. สองในสาม
--------------------------------------------------------------------------------
33. หากปรากฎว่านายก อบต. รองนายก อบต. ประธานสภา อบต. หรือรองประธานสภา อบต. กระทำการฝ่าฝืนต่อความสงบเรียบร้อยหรือสวัสดิภาพของประชาชน หรือละเลยไม่ปฏิบัติตามหรือปฏิบัติไม่ชอบด้วยอำนาจหน้าที่ บุคคลใดดำเนินการสอบสวนได้
1. นายอำเภอ*
2. ผู้วาราชการจังหวัด
3. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
4. อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
--------------------------------------------------------------------------------
34. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับสภาตำบล
1. มีฐานะเป็นนิติบุคคล เป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
2. สมาชิกสภาตำบลทุกคนมาจากการเลือกตั้ง
3. มีฐานะเป็นนิติบุคคล*
4. สมาชิกสภาตำบลมีหมู่บ้านละ 2 คน
--------------------------------------------------------------------------------
35. กรณีที่สภา อบต. ไม่รับหลักการร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่เสนอจะต้องดำเนินการอย่างไร
1. นายก อบต.ต้องพ้นจากตำแหน่ง
2. นายก อบต. แต่งตั้งคณะกรรมการ เพื่อพิจารณาหาข้อยุติความขัดแย้ง โดยการแก้ไขปรับปรุงในข้อบัญญัตินั้น
3. นายอำเภอประกาศยุบสภาให้มีการเลือกตั้งใหม่
4. นายอำเภอแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อพิจารณาหาข้อยุติความขัดแย้ง โดยการแก้ไขปรับปรุงในข้อบัญญัตินั้น*
--------------------------------------------------------------------------------
36. บุคคลใดเป็นผู้แต่งตั้งและถอดถอนเลขานุการสภาตำบล
1. ประธานสภาตำบล
2. สภาตำบล
3. นายอำเภอตามมติของสภาตำบล*
4. ผู้ว่าราชการจังหวัด
--------------------------------------------------------------------------------
37. ข้อใดต่อไปนี้ คือคุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นนายก อบต.
1. มีอายุไม่ต่ำกว่า 30 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
2. สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือเคยเป็นสมาชิกสภาตำบล สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น หรือสมาชิกรัฐสภา
3. ไม่เป็นผู้มีพฤติกรรมในทางทุจริต หรือพ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาตำบล สมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถิ่น หรือเลขานุการหรือที่ปรึกษาของผู้บริหารท้องถิ่น เพราะเหตุที่มีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาหรือกิจการที่กระทำกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังไม่ถึงห้าปีนับถึงวันรับสมัครเลือกตั้ง
4. ถูกทุกข้อ*
--------------------------------------------------------------------------------
38. บุคคลผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา อบต. ต้องมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขต อบต. ติดต่อกันเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่าเท่าใด นับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง
1. สามเดือนจนถึงวันเลือกตั้ง
2. หกเดือนจนถึงวันเลือกตั้ง
3. หนึ่งปีจนถึงวันเลือกตั้ง*
4. ไม่มีข้อใดถูก
--------------------------------------------------------------------------------
39. ข้อใดมิได้เป็นเงินรายได้ของ อบต.
1. เงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรให้
2. รายได้จากทรัพย์สินของ อบต.
3. เงินค่าธรรมเนียมที่เก็บจากผู้มาพักโรงแรม*
4. เงินค่าบริการน้ำประปาแก่ประชาชน
-------------------------------------------------------------------------------
40. นอกจากสมัยประชุมสามัญแล้ว เมื่อเห็นว่าเป็นการจำเป็นเพื่อประโยชน์แก่ อบต. บุคคลใดสามารถทำคำร้องขอให้เปิดประชุมสมัยวิสามัญได้
1. ประธานสภา อบต.
2. นายก อบต.
3. สมาชิกสภา อบต. จำนวนไม่ต่ำกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกสภา อบต. เท่าที่มีอยู่
4. ถูกทุกข้อ*
--------------------------------------------------------------------------------
41. ผู้อนุญาติให้ อบต. ฉัน้เงินจากกระทรวง ทบวง กรม องค์การหรือนิติบุคคลต่างๆ ได้ คือ
1. นายก อบต.
2. สภา อบต. *
3. นายอำเภอ
4. ผู้ว่าราชการจังหวัด
--------------------------------------------------------------------------------
42. ข้อบัญญัติขององค์การบริหารส่วนตำบล ที่มีการกำหนดค่าธรรมเนียมเรียกเก็บได้ จะกำหนดโทษปรับสำหรับผู้ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามข้อบัญญัติได้ไม่เกินกี่บาท
1. 500 บาท
2. ไม่เกิน 500 บาท
3. 1,000 บาท
4. ไม่เกิน 1,000 บาท*
--------------------------------------------------------------------------------
43. การบริหารงานในรูปแบบ อบต. นายก อบต. อาจแต่งตั้งรองนายก อบต. ได้ไม่เกินกี่คน
1. 1 คน
2. 2 คน *
3. 3 คน
4. 4 คน
--------------------------------------------------------------------------------
44. บุคคลใดมีหน้าที่กำกับดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของ อบต. ตามกฎหมายนี้
1. ผู้ว่าราชการจังหวัด
3. นายอำเภอ *
4. นายก อบต.
5. ประธานสภา อบต.
--------------------------------------------------------------------------------
45. พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล(ฉบับที่ 5) พ.ศ.2546 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อใด และมีผลบังคับใช้เมื่อไหร่
1. 2 กุมภาพันธ์ 2546 มีผลบังคับใช้ 2 พฤษภาคม 2546
2. 22 กุมภาพันธ์ 2546 มีผลบังคับใช้ 22 กุมภาพันธ์ 2546
3. 2 ธันวาคม 2546 มีผลบังคับใช้ 3 ธันวาคม 2546
4. 22 ธันวาคม 2546 มีผลบังคับใช้ 23 ธันวาคม 2546*
--------------------------------------------------------------------------------
46. บุคคลใดเป็นเลขานุการสภาตำบล
1. กำนัน
2 .ผู้ใหญ่บ้านที่ได้รับการคัดเลือก
3.สมาชิกสภาตำบลที่ได้รับคัดเลือก
4.ข้าราชการที่ปฏิบัติงานในตำบลนั้นหรือบุคคลอื่นที่มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายกำหนด*
--------------------------------------------------------------------------------
47. บุคคลใดเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานส่วนตำบลและลูกจ้าง อบต.
1. นายก อบต. *
2. ประธานสภา อบต.
3. ปลัด อบต.
4. รองนายก อบต.
สั่งซื้อที่
ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724 Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3 ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2
ธ.กสิกรไทย ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay
[font=arial ]ผลงานการสอบได้ของลูกค้า
ติดตามข่าวการสอบราชการที่ https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่ www.ข้อสอบงานราชการไทย.com