ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : เปิดสอบเลื่อนนายตำรวจสัญญาบัตร ปี 2557
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

เปิดสอบเลื่อนนายตำรวจสัญญาบัตร ปี 2557

แชร์กระทู้นี้

อ้างอิง: หัวข้อนี้ถูกเน้น โดย admin เมื่อเวลา(2012-12-02)

การรับสมัครและคัดเลือกข้าราชการตำรวจชั้นประทวน เข้ารับการฝึกอบรมเพื่อแต่งตั้งเลื่อนชั้นเป็น ข้าราชการตำรวจชั้นสัญญาบัตร

  ประกาศรับสมัคร  1 มิ.ย.57 
 เปิดรับสมัครทาง Internet  3-13 มิ.ย.57 
 สอบข้อเขียน  13 ก.ค.57 
 ทดสอบความเหมาะสมของร่างกาย  21-26 ก.ค.57 
 ประกาศผลสอบรอบสุดท้าย  30 ก.ค.57 
 รายงานตัวเข้ารับการฝึกอบรม  3 ส.ค.57
**หมายเหตุ::วันเวลาต่างๆ อาจมีการเปลี่ยนแปลง

ขอบ เขตวิชาสอบข้อเขียน      

Download ทักษะงานอำนวยการ ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับงานอำนวยการ 

วิชาการสอบคัดเลือก
สายป้องกันและปราบปราม
การคัดเลือกบุคคลภายนอก (เพศชาย) ผู้มีวุฒิประกาศนียบัตรประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ  (ปวช.) หรือเทียบเท่า เพื่อบรรจุเป็นข้าราชการตำรวจชั้นพลตำรวจ (นสต.) 

วิธีสอบข้อเขียน ข้อสอบแบบปรนัย ๔ ตัวเลือก จำนวน ๑๒๐ ข้อ ๑๒๐ คะแนน ใช้เวลาทำข้อสอบ ๒ ชั่วโมง ๓๐ นาที
๑. ความสามารถทั่วไป จำนวน ๒๕ ข้อ
๒. ภาษาไทย จำนวน ๒๕ ข้อ
๓. ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) จำนวน ๓๐ ข้อ
๔. ความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จำนวน ๒๐ ข้อ
๕. กฎหมายที่ประชาชนควรรู้ จำนวน ๑๐ ข้อ
๖. สังคม วัฒนธรรมและจริยธรรม ๑๐ ข้อ
กฎหมายที่น่าสนใจ

ระเบียบสำนักงานตำรวจแห่งชาติว่าด้วยประมวลระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 54  งานสารบรรณ พ.ศ.2556  

พ.ร.บ.ตํารวจแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554 
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ. 2555 
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 
จริยธรรมและกฎ ก.ตร.ว่าด้วยประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของตำรวจ พ.ศ. 2551และที่แก้ไขเพิ่มเติม 
พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 
กฎ ก.ตร. ว่าด้วยการคัดเลือกและแต่งตั้งข้าราชการตำรวจชั้นพลตำรวจเป็น ข้าราชการตำรวจชั้นประทวนและการคัดเลือกและแต่งตั้งข้าราชการตำรวจชั้นประทวนหรือชั้นพลตำรวจ เป็นข้าราชการตำรวจชั้นสัญญาบัตร พ.ศ.2547 
กฎ ก.ตร.ว่าด้วยคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของการเป็นข้าราชการตำรวจพ.ศ.2547 


จำหน่ายเอกสารข้อสอบ
นายตำรวจสัญญาบัตร 
กลุ่มงานอำนวยการและสนับสนุน

รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ รวมแนวข้อสอบเก่าเด็ดๆๆ  และข้อสอบที่ออกบ่อยมาก 
ประกอบด้วย

- แนวข้อสอบ กฎ ก.ตร.ว่าด้วยประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของตำรวจ พ.ศ. 2553

- แนวข้อสอบเก่าตำรวจสัญญาบัตร_อก_ 2555 _11 มี.ค. 55_

- แนวข้อสอบ กฏ ก.ตร. การสืบสวนข้อเท็จจริง

- แนวข้อสอบ ตำรวจแห่งชาติ _ฉบับที่ 2_  พ.ศ. 2554

- แนวข้อสอบ พ.ร.ก ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
        - แนวข้อสอบการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544
        - แนวข้อสอบตำรวจสายอำนายการ ที่ออกบ่อยๆ

แนวข้อสอบพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ

- แนวข้อสอบภาษาไทย
       - แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม

 

จำหน่ายเอกสารข้อสอบนายตำรวจสัญญาบัตร กลุ่มสายงานป้องกันปราบปราม  

รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ รวมแนวข้อสอบเก่าเด็ดๆๆ  และข้อสอบที่ออกบ่อยมาก 
ประกอบด้วย

       - แนวข้อสอบ กฎ ก.ตร.ว่าด้วยประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของตำรวจ พ.ศ. 2553

แนวข้อสอบ กฏ ก.ตร. การสืบสวนข้อเท็จจริง

- แนวข้อสอบ ตำรวจแห่งชาติ _ฉบับที่ 2_  พ.ศ. 2554

- แนวข้อสอบ ป.วิอาญา.M

แนวข้อสอบ พ.ร.ก ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546

แนวข้อสอบกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

แนวข้อสอบกฎหมายอาญา

แนวข้อสอบเก่าตำรวจสัญญาบัตร_ปป

แนวข้อสอบเก่าสายปราบปราม ที่เคยออก

แนวข้อสอบพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ

แนวข้อสอบวิชาประมวลกำหมายวิธีพิจารณาความอาญา

สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 
ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
1.    ผบ.ตร.แต่งตั้งยศ ต้องมีคุณสมบัติอย่างไร
ตอบ   ร.ต.ต.ขึ้นไปแต่ไม่สูงกว่า   พ.ต.อ.
2.    ข้อใดเป็นหน้าที่ของ ก.ตร
ตอบ  รายงานคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาปรับปรุงขั้นเงินเดือน
3.    ผู้ใดไม่มีสิทธิเลือกกรรมการข้าราชการตำราจผู้ทรงคุณวุฒิ
ตอบ   พนักงานสอบสวนผู้ชำนาญการพิเศษ
4.    ข้าราชการตำรวจถึงแก่ความตาย
ตอบ   คณะกรรมการข้าราชการตำรวจ
5.    เงินเพิ่มค่าครองชีพตามภาวะเศรษฐกิจ  ตราขึ้นเป็นกฏหมายใด
ตอบ   พระราชกฤษฎีกา
6.    ข้อใดมิใช่อำนาจของก.ตร
ตอบ   กำหนดประเด็นหรือข้อสำคัญที่ต้องการทราบสั่งไปให้ผู้บังคับบัญชาสอบสวนเพิ่มเติม
7.    การขอลาออกไปสมัครรับเลือกตั้งมีผลนับตั้งแต่วันใด
ตอบ   ผู้นั้นขอลาออก
8.    การอุทธรณ์ที่ถูกต้อง  คือ
ตอบ  ผบช.สั่งให้ออกจากราชการ ให้อุทธรณ์ต่อ ก.ตร.
9.    ผู้ใดแต่งกายคล้ายเครื่องแบบตำรวจในเขตประกาศกฎอัยการศึก มีโทษอย่างไร
ตอบ   จำคุก 1-10 ปี
10.    ใครเป็นผู้อนุมัตินำเงินค่าเปรียบเทียบฯ
ตอบ    คณะรัฐมนตรี
11.    การตรวจเงินแผ่นดินจะต้องรายงานผลการตรวจสอบบัญชีของกองทุนเสนอต่อใคร
ตอบ   กระทรวงการคลัง
12.    คณะกรรมการพิจารณาการประเมินมีหน้าที่อย่างไร
ตอบ   พิจารณาคำร้องทุกข์ ผู้ที่เห็นว่าการประเมินของตนไม่เป็นไปตามข้อเท็จจริง
สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

[font=arial                              ]ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 

ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบนายร้อยตำรวจสายธุรการ



1. "สำเนาคู่ฉบับ"
มีลักษณะสำคัญอย่างไร

1.
เป็นสำเนาจัดทำพร้อมต้นฉบับโดยมีผู้ลงลายมือชื่อในต้นฉบับลงลาย มื่อชื่อหรือลายมือชื่อย่อไว้และมีผู้ร่างผู้พิมพ์ และผู้ตรวจลงลายมือชื่อหรือลายมือ
2.
เป็นสำเนาที่จัดทำเหมือนต้นฉบับโดยมีผู้ฉบับลงลายมือชื่อหรือลา ยมือชื่อย่อไว้และมีผู้ร่าง
ผู้พิมพ์
 และผู้ตรวจลงลายมือชื่อหรือลายมือ
3.
เป็นสำเนาที่จัดทำพร้อมกับต้นฉบับหรือทำเหมือนต้นฉบับโดยมีผู้ล งลายมือชื่อในต้นฉบับลงลาย
มือชื่อหรือลายมือชื่อย่อไว้และมีผู้ร้าง ผู้พิมพ์ และผู้ตรวจลงลายมือชื่อหรือลายมือ
4.
เป็นสำเนาที่จัดทำพร้อมกับต้นฉบับและทำเหมือนต้นฉบับโดยมีผู้ลง ลายมือชื่อในต้นฉบับลงลาย
มือชื่อหรือลายมือชื่อย่อไว้และมีผู้ร้าง ผู้พิมพ์ และผู้ตรวจลงลายมือชื่อหรือลายมือ
2.
อำนาจของหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมที่เกี่ยวกับการทำลายหนังสือ เป็นไปตามข้อใด
1.
อนุมัติทำลายหนังสือ
2.
ตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือ
3.
ตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือ ส่งหนังสือไปยังหอจดหมายเหตุแห่งชาติและอนุมัติทำลายหนังสือ
4.
ตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือ ขยายเวลาเก็บหนังสือจนถึงเวลาการทำลายงวดต่อไปและอนุมัติทำลายห
นังสือ

3.
ในการรายงานเรื่องที่ผู้บังคับบัญชามอบหมายให้ไปดำเนินการ เพื่อประกอบการพิจารณาตัดสินใจ
จะต้องใช้หนังสือตามข้อใด
1.
บันทึกรายงาน
2.
บันทึกรายงานและบันทึกความคิดเห็น
3.
บันทึกรายงาน, บันทึกความคิดเห็นและบันทึกสั่งการ
4.
บันทึกย่อเรื่อง, บันทึกรายงานและบันทึกความคิดเห็น
4.
สิ่งสำคัญและต้องคำนึงในการร่างหนังสือคือข้อใด
1.
ชนิดและรูปแบบของหนังสือที่ต้องใช้
2.
คำขึ้นต้น/ สรรพนามและคำลงท้าย อักขรวิธี ตัวสะกดการันต์
3.
การใช้ถ้อยคำ สำนวนภาษาต้องเป็นภาษาหนังสือ
4.
ระลึกถึงผู้รับและเข้าใจถูกต้องตามถ้อยคำและความประสงค์ที่มีหน
ังสือไป

5.
สิ่งสำคัญเบื้องต้นที่จะต้องคำนึงถึงในการร่างหนังสือสั่งการคื
อข้อใด

1.
รูปแบบหนังสือที่ใช้
2.
บทกฎหมายที่ให้อำนาจสั่งการ
3.
ข้อความที่สั่งต้องตรงประเด็นและรัดกุม
4.
ข้อความที่สั่งไม่ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
6.
การลำดับข้อความเนื้อเรื่องในการร่างหนังสือนั้น
ระเบียบฯ
 กำหนดไว้อย่างไร
1.
เริ่มต้นด้วยเรื่องเดิม ข้อความและคำลงท้าย
2.
เริ่มต้นด้วยใจความที่เป็นเหตุ
ตามด้วยข้อความและคำลงท้าย

3.
เริ่มต้นด้วยใจความที่เป็นเหตุ
ตามด้วยข้อความที่เป็นความประสงค์ และข้อตกลง

4.
เริ่มต้นด้วยเรื่องเดิมตามด้วยกฎหมาย คำสั่ง
ความประสงค์ ข้อตกลง และคำลงท้าย

7.
การนำเสนอร่างหนังสือเพื่อผู้บังคับบัญชาตรวจและสั่งพิมพ์จะต้อ งปฎิบัติอย่างไร
1.
เสนอเฉพาะตัวร่างให้ผู้บังคับบัญชาตรวจ
2.
เสนอตัวร่างพร้อมด้วยกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องให้ผู้บังคั
บบัญชาตรวจ

3.
เสนอตัวร่างและเรื่องเดิมให้ผู้บังคับบัญชาตรวจ
4.
เสนอตัวร่าง,เรื่องเดิมและเอกสารที่เกี่ยวข้องให้ผู้บังคับบัญช
าตรวจ

8.
ระเบียบฯ
กำหนดวิธีการเสนอหนังสือที่เป็นเรื่องทั่วๆไป ว่าอย่างไร

1.
จัดใส่แฟ้มเรียงลำดับเรื่องที่ต้องสั่งการ
พิจารณาหรือเพื่อทราบ

2.
ไม่ต้องใส่แฟ้มแต่ต้องเรียงลำดับเรื่องที่สั่งการ
พิจารณาหรือเพื่อทราบ

3.
ใส่แฟ้มเรียงลำดับตามลำดับเรื่องที่รับเข้ามาก่อนหลัง
4.
เรียงลำดับเรื่องที่เข้ามาก่อนหลังแล้วจัดใส่แฟ้มนำเสนอเรียงลำ ดับเรื่องที่ต้องการสั่งการ
พิจารณาหรือเพื่อทราบ

9.
ข้อแตกต่างระหว่างผู้มาประชุมกับผู้เข้าร่วมประชุมคือข้อใด
1.
ผู้มาประชุมคือ ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นคณะที่ประชุมซึ่งมาประชุม
ผู้เข้าร่วมประชุม คือ
 เลขานุการและผู้จดบันทึกการประชุม
2.
ผู้มาประชุมคือ ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นคณะที่ประชุมซึ่งมาประชุม
ผู้เข้าร่วมประชุม คือ
 ใครก็ได้ที่อยู่ในการประชุมครั้งนั้น
3.
ผู้มาประชุมคือ ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นคณะที่ประชุมซึ่งมาประชุม
ผู้เข้าร่วมประชุม คือ
 เจ้าหน้าที่ผู้เข้ามาชี้แจงข้อเท็จจริงให้กับการประชุม
4.
ข้อ 2 และ 3 ถูก
10.
การรับรองรายงานการประชุมกรณีเร่งด้วนระเบียบฯ กำหนดให้ปฎิบัติอย่างไร
1.
ประธานหรือเลขานุการของที่ประชุมอ่านสรุปมติให้ที่ประชุมรับรอง ในการประชุมครั้งนี้เลย
2.
เลขานุการเวียนรายงานการประชุมให้ที่ประชุมรับรอง
3.
ประธานหรือเลขานุการนำรายงานการประชุมไปพบองค์คณะที่ประชุมเพื่ อขอให้รับรองด้วยตนเองเพื่อความรวดเร็ว
4.
ขอมติที่ประชุมให้ประธานและเลขานุการสามารถรับรองรายงานการประช ุมได้แล้วรายงานให้ที่ประชุมทราบภายหลัง 
11.
สมมติว่าท่านเป็นเจ้าหน้าที่ของกองบังคับการอำนวยการตำรวจนครบา ลได้รับสั่งให้ไปติดตามเรื่องที่ ส่งไปยังกรมตำรวจ ในกรณีนี้ที่ท่านจะสามารถค้นหาเรื่องนั้นได้จากที่ใดบ้างจึงจะร ู้ว่าหนังสือฉบับนั้น
กรมตำรวจได้มอบหมายให้หน่วยงานใดเป็นผู้รับผิดชอบ
1.
ทะเบียนรับหนังสือและสมุดส่งหนังสือของกรมตำรวจ
2.
ทะเบียนรับหนังสือและสมุดส่งหนังสือของกรมตำรวจ
3.
ทะเบียนรับหนังสือ,สมุดส่งหนังสือ
และบัตรตรวจค้นหนังสือของกรมตำรวจ

4.
ทะเบียนรับหนังสือ , สมุดส่งหนังสือ , ใบรับรองหนังสือและบัตรตรวจค้นหนังสือของกรมตำรวจ
12.
ระเบียบฯ กำหนดการใช้ในรับหนังสือไว้อย่างไร
1.
กำหนดให้ใช้เฉพาะการรับหนังสือทุกกรณี
2.
กำหนดให้ใช้เฉพาะการส่งรับหนังสือที่มีไปถึงส่วนราชการนอกกรมหร ือบุคคลภายนอกเท่านั้น
3.
กำหนดให้ใช้เฉพาะการส่งหนังสือขอไปยังส่วนราชการอื่นหรือบุคคลภ
ายนอก

4.
กำหนดให้ใช้เฉพาะกรณีการส่งหนังสือราชการที่ไม่ได้มีการบรรจุซอ งซึ่งจะต้องใช้วิธีพับปิดด้วยใบรับหนังสือ
13.
เจ้าของเรื่องจะเก็บหนังสือประเภทใดได้บ้าง
1.
เก็บหนังสือที่เป็นต้นฉบับทั้งที่อยู่ระหว่างดำเนินการและที่ดำ เนินการเสร็จแล้ว
2.
เก็บหนังสือทั้งที่เป็นต้นฉบับและสำเนาซึ่งเป็นหนังสือที่อยู่ร
ะหว่างปฎิบัติ

3.
เก็บหนังสือทั้งที่เป็นต้นฉบับและสำเนาซึ่งเป็นหนังสือที่อยู่ร ะหว่างปฎิบัติและหนังสือที่ปฎิบัติการเสร็จแล้วแต่ต้องเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ
4.
เก็บหนังสือเฉพาะที่เป็นต้นฉบับและสำเนาซึ่งเป็นหนังสือที่อยู่ ระหว่างปฎิบัติและหนังสือที่ปฎิบัติการเสร็จแล้วแต่ต้องเก็บไว้ เพื่อใช้ในการตรวจสอบ
14.
การอ้างถึงหนังสือที่มีทั้งชั้นความเร็วและชั้นความลับนั้น
ข้อใดถูกต้อง

1.
อ้างชั้นความเร็วตามด้วยชั้นความลับ
2.
อ้างชั้นความลับก่อนตามด้วยความเร็ว
3.
อ้างเฉพาะชั้นความเร็ซเท่านั้นไม่ต้องอ้างชั้นความลับเนื่องจาก
เป็นเอกสารลับ

4.
อ้างเฉพาะชั้นความลับเท่านั้นทั้งนี้เพราะลักษณะของเรื่องจะต้อ งปฎิบัติโดยเร่งด่วนอยู่แล้ว
15.
ตามกำหนดว่าภายใน 60 วันหลังจากวันสิ้นปีปฏิทินนั้น
ระเบียบกำหนดให้ใครทำอะไร

1.
ให้หัวหน้าส่วนราชการดำเนินการทำลายเอกสารให้เสร็จสิ้น
2.
ให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมตั้งคณะกรรมการดำเนินการคัดเลือกแ ละทำลายหนังสือให้เสร็จ
3.
ให้คณะกรรมการทำลายหนังสือดำเนินการพิจารณาทำลายนำเสนอขออนุมัต ิหนังสือให้เสร็จ
4.
ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการเก็บหนังสือสำรวจหนังสือที่มีอาย ุครบการเก็บในปีนั้นและทำบัญชีหนังสือขอทำลายเสนอหัวหน้าส่วนรา ชการระดับกรม
16.
หนังสือที่ใช้ติดต่อราชการระหว่างส่วนราชการหรือส่วนราชการกับบ ุคคลภายนอกคือหนังสือข้อใด
1.
หนังสือภายนอก , หนังสือประทับตรา
2.
หนังสือภายใน , หนังสือประทับตรา
3.
หนังสือภายนอก , หนังสือภายในและหนังสือประทับตรา
4.
หนังสือภายนอก , หนังสือภายใน ,หนังสือประทับตราและบันทึก
17.
การใช้คำขึ้นต้นในหนังสือราชการของตำรวจภาค 1-9ที่มีถึงกองวิชาการกรมตำรวจเพื่อหารือข้อปฎิบัติ
ตามระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดี จะต้องใช้คำขึ้นต้นว่าอย่างไร
1.
ไม่ต้องระบุคำขึ้นต้น เพราะหัวหน้าตำรวจภาค 1-9 มีระดับตำแหน่งเป็นผู้ช่วยอธิบดีกรมตำรวจ
2.
ใช้คำว่าเรียนเนื่องจากเป็นการติดต่อประสานราชการระหว่างส่วนรา ชการกับส่วนราชการ
3.
ใช้คำว่าเรียนหรือไม่กล่าวคำขึ้นต้นก็ได้เนื่องจากเป็นการติดต่ อประสานงานระหว่างหน่วยงานระดับสูงไปยังหน่วยงานระดับต่ำกว่า
4.
ให้อยู่ในดุลยพินิจของหัวหน้าส่วนราชการทั้งนี้จะต้องคำนึงถึงค วามสัมพันธ์ระหว่างผู้รับและผู้ส่ง
18.
สมมติท่านเป็นผู้บังคับบัญชาระดับรองผู้กำกับการ
ในการปฏิบัติงานเรื่องหนึ่งสารวัตร
 ได้ทำบันทึก
รายงานผู้กำกับการซึ่งจะต้องเสนอเรื่องดังกล่าวผ่านท่านในกรณีน ี้หากท่านไม่มีความเห็นใดเพิ่มเติม
ท่านจะต้องปฏิบัติอย่างไร
1.
ไม่ต้องปฏิบัติอย่างไร
ให้แจ้งเจ้าหน้าที่ที่นำเสนอต่อไปได้

2.
ระบุคำขึ้นต้นพร้อมลงชื่อและตำแหน่งต่อท้ายบันทึกฉบับนั้น
3.
ระบุคำขึ้นต้น ลงชื่อและตำแหน่ง
และวันเดือนปีต่อท้ายบันทึกฉบับนั้น

4.
ลงชื่อและวันเดือนปีกำกับเท่านั้น
19.
เจ้าหน้าที่นำสารได้นำหนังสือราชการจ่าหน้าซองระบุชื่อและตำแหน
่งถึงตัวท่าน
 โดยในด้านจ่าซองมี
การระบุคำว่า "ด่วนภายใจวันเดือนปีและกำหนดเวลา" ท่านจะปฏิบัติอย่างไร
1.
ลงชื่อหนังสือนั้นไว้และปฏิบัติตามความในหนังสือที่ผู้ส่งหนังส ือถึงตัวท่านในทันทีที่ได้รับหนังสือเท่านั้น
2.
ลงชื่อหนังสือนั้นไว้และปฏิบัติตามความในหนังสือที่ผู้ส่งหนังส ือถึงท่านโดยเร็ว
3.
ลงชื่อหนังสือนั้นไว้และปฏิบัติตามความในหนังสือที่ผู้ส่งจ่าหน ้าซองถึงท่านให้เร็วกว่าปกติเท่าที่จะทำได้
4.
ลงชื่อรับหนังสือนั้นไว้และปฏิบัติตามความในหนังสือที่มีผู้ส่ง
ถึงท่าน

20.
ระเบียบฯ
ว่าด้วยงานสารบรรณกำหนดวิธีการเก็บสำเนาคู่ฉบับไว้อย่างไร

1.
ให้เก็บไว้ที่หน่วยงานสารบรรณกลางเพื่อให้ค้นหาได้ง่าย
2.
ให้เก็บไว้กับตัวเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโดยแยกเก็บไว้ต่างหากเ พื่อสะดวกในการใช้งาน
3.
ให้เก็บไว้กับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโดยเก็บต้นฉบับเพื่อสะดวก
ในการใช้งาน

4.
ให้อยู่ในดุลยพินิจของหัวหน้าส่วนราชการว่าจะเก็บไว้ที่เจ้าหน้ าที่หรือเก็บไว้ที่หน่วยงานสารบรรณกลาง
21.
ความต่อไปนี้ข้อใดคือหลักการของการแสดงชั้นความลับของสิ่งที่เป
็นความลับ

1.
ประทับตัวอักษรตามชั้นความลับทุกหน้าเอกสารที่มีชั้นความลับโดย มีขนาดตัวอักษรโตกว่าอักษรธรรมดาและใช้สีแดง
2.
ประทับหรือเขียนตัวอักษรตามชั้นความลับทุกหน้าเอกสารที่มีชั้นค
วามลับ
 โดยมีขนาดตัวอักษร โตกว่าอักษรธรรมดา และใช้สีแดงหรือสีอื่น
3.
ประทับหรือเขียนตัวอักษรที่กึ่งกลางหน้ากระดาษทั้งด้านบนและด้า นล่างของทุกหน้าเอกสารที่มีชั้นความลับนั้น โดยมีขนาดตัวอักษรโตกว่าอักษรธรรมดาและใช้สีแดงหรือสีอื่น
4.
ประทับหรือเขียนตัวอักษรตามชั้นความลับที่กึ่งกลางหน้ากระดาษทั ้งด้านบนและด้านล่างของทุกหน้าเอกสารที่มีชั้นความลับนั้น โดยมีขนาดตัวอักษรโตกว่าอักษรธรรมดาและใช้สีแดงหรือสีอื่นที่เห
็นเด่นชัด

22.
การตรวจสอบเอกสารลับจะต้องกระทำเมื่อเกิดข้อเท็จจริงอย่างไรเกิ
ดขึ้น

1.
ทุกหกเดือนและทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนตัวนายทะเบียนเอกสารลับหร ือผู้ช่วยนายทะเบียนเอกสารลับ
2.
ทุกหกเดือนและทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนตัวเจ้าหน้าที่ควบคุมการร ักษาความปลอดภัย
3.
ทุกหกเดือนและทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนตัวนายทะเบียนเอกสารลับ
4.
ถูกทุกข้อ
23.
เมื่อมีความจำเป็นต้องจัดทำสำเนาเอกสารชั้น
"ลับที่สุด" หรือ
"ลับมาก" เพิ่มเติมจากที่ได้รับไว้แล้วจะ
ต้องดำเนินการอย่างไร
1.
จะต้องขออนุญาตจากเจ้าของเรื่องเดิมก่อนทุกครั้ง ยกเว้นแต่กรณีที่มีความจำเป็นเร่งด่วนหัวหน้าส่วนราชการนั้น อาจสั่งให้จะทำสำเนาเพิ่มเติมก็ได้ แต่ต้องแจ้งเหตุผลและจำนวนสำเนาที่ได้ทำเพิ่มเติมขึ้นให้เจ้าขอ งเรื่องเดิมทราบโดยเร็วที่สุด
2.
จะต้องขออนุญาตจากเจ้าของเรื่องเดิมก่อนทุกครั้ง ยกเว้นแต่กรณีที่มีความจำเป็นเร่งด่วนในราชการที่สำคัญหัวหน้าส
่วนราชการนั้น
 อาจสั่งให้จะทำสำเนาเพิ่มเติมก็ได้ แต่ต้องแจ้งเหตุผลและจำนวนสำเนาที่ได้ทำเพิ่มเติมขึ้นให้เจ้าขอ งเรื่องเดิมทราบโดยเร็วที่สุด
3.
จะต้องขออนุญาตจากเจ้าของเรื่องเดิมก่อนทุกครั้ง ยกเว้นแต่กรณีที่มีความจำเป็นเร่งด่วนหัวหน้าส่วนราชการนั้น อาจสั่งให้จะทำสำเนาที่ได้ทำเพิ่มเติมขึ้นให้เจ้าของเรื่องเดิม ทราบโดยเร็วที่สุด
4.
จะต้องขออนุญาตจากเจ้าของเรื่องเดิมก่อนทุกครั้ง ยกเว้นแต่กรณีที่มีความจำเป็นเร่งด่วนในราชการที่สำคัญ
หัวหน้าส่วนราชการนั้น
 อาจสั่งให้จะทำสำเนาเพิ่มเติมขึ้น พร้อมทั้งสำเนาที่ได้ทำเพิ่มเติมขึ้นให้เจ้าของเรื่องเดิมทราบโ
ดยเร็วที่สุด

24.
การบรรจุเพื่อส่งออกนอกส่วนราชการของเอกสารลับชั้น
"ลับที่สุด" หรือ "ลับมาก"
 จะต้องดำเนินการ
อย่างไร
1.
จะต้องบรรจุซอง หรือห่อสองชั้นอย่างมั่นคงพร้อมด้วยใบรับเอกสารลับ(รปภ.6)
2.
จะต้องบรรจุซอง หรือห่อทึบแสงสองชั้นอย่างมั่นคงพร้อมด้วยใบรับเอกสารลับ(รปภ.6 )
3.
จะต้องบรรจุซอง
หรือห่อทึบแสงสองชั้นอย่างมั่นคงพร้อมด้วยใบรับเอกสารลับ(รปภ.
6 ) ต้องบรรจุอยู่ในซองหรือห่อชั้นใน
4.
จะต้องบรรจุซอง หรือห่อทึบแสงสองชั้นอย่างมั่นคงพร้อมด้วยใบรับเอกสารลับ(รปภ.6 )
25.
การส่งเอกสารชั้น "ลับที่สุด" หรือ
"ลับมาก" มีหลักการส่งอย่างไร

1.
ส่งตรงต่อนายทะเบียนเอกสารลับหรือผู้ช่วยนายทะเบียนเอกสารลับเพ ื่อลงทะเบียนเอกสารลับ
(รปภ.
19) เสียก่อนโดยไม่มีข้อยกเว้น
2.
ส่งตรงต่อนายทะเบียนเอกสารลับหรือผู้ช่วยนายทะเบียนเอกสารลับเพ ื่อลงทะเบียนเอกสารลับ
(รปภ.
19) เสียก่อนไม่ว่าจะเป็นกรณีจ่าหน้าซองหรือห่อระบุชื่อ หรือตำแหน่งก็ตาม
3.
ส่งตรงต่อนายทะเบียนเอกสารลับหรือผู้ช่วยนายทะเบียนเอกสารลับเพ ื่อลงทะเบียนเอกสารลับ
(รปภ.
19) เสียก่อนเว้นแต่มีเหตุผลจะส่งตรงต่อผู้รับตามจ่าหน้าซองให้เป็น
ผู้รับก็ได้

4.
ส่งตรงต่อนายทะเบียนเอกสารลับหรือผู้ช่วยนายทะเบียนเอกสารลับเพ ื่อลงทะเบียนเอกสารลับ
(รปภ.
19) เสียก่อนเว้นแต่มีเหตุผลเป็นกรณีพิเศษจะส่งตรงต่อผู้รับตามจ่าห
น้าซอง
 หรือเจ้าหน้าที่ซึ่งได้รับมอบอำนาจเป็นลายลักษณ์อักษรจากผู้รับ ตามจ่าหน้าซองให้เป็นผู้รับก็ได้
26.
การทำลายเอกสารลับชั้น "ลับที่สุด" หรือ "ลับมาก" จะต้องคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผุ้รับผิดชอบประกอบด้วย
1.
นายทะเบียนเอกสารลับเป็นผู้ควบคุมการทำลาย
ผู้ช่วยควบคุมเอกสารลับเป็นผู้ทำลาย
 และพยานอย่างน้อยหนึ่งคน
2.
นายทะเบียนเอกสารลับหรือผู้ช่วยนายทะเบียนเอกสารลับเป็นผู้ควบค
ุมการทำลายหนึ่งคน
 ผู้ทำลายจำนวน 1 คน และพยานอย่างน้อยหนึ่งคน
3.
นายทะเบียนเอกสารลับหรือผู้ช่วยนายทะเบียนเอกสารลับเป็นผู้ควบค
ุมการทำลายหนึ่งคน
 ผู้ทำลายจำนวน 1 คน และพยานหนึ่งคน
4.
ไม่มีข้อถูกต้อง
27.
คุณสมบัติของผู้เป็นพยานในคณะเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการทำลา
ยเอกสารชั้น "ลับ"
 หรือ "ปกปิด"
จะต้องเป็นผู้มีคุณสมบัติอย่างไร
1.
จะต้องเป็นผู้ได้รับความไว้วางใจไม่ต่ำกว่าชั้นเอกสารที่จะทำลา ยและจะต้องเป็นข้าราชการไม่ต่ำกว่าชั้นจัตวา
2.
จะต้องเป็นผู้ได้รับความไว้วางใจไม่ต่ำกว่าชั้นเอกสารที่จะทำลา ยและต้องเป็นข้าราชการไม่ต่ำกว่าชั้นตรี
3.
จะต้องเป็นผู้ได้รับความไว้วางใจไม่ต่ำกว่าชั้นเอกสารที่จะทำลา ยและต้องเป็นข้าราชการไม่ต่ำกว่าชั้นตรี
ขึ้นไป

4.
จะต้องเป็นผู้ได้รับความไว้วางใจไม่ต่ำกว่าชั้นเอกสารที่จะทำลา ยและต้องเป็นข้าราชการไม่ต่ำกว่าชั้นตรี
หรือเทียบเท่าขึ้นไป

28.
เรื่องใดที่ราชการจำเป็นต้องสงวนเป็นความลับชั่วระยะเวลาหนึ่ง
1.
พ.ร.บ. การเวนคืนที่ดิน 2. คำสั่งแต่งตั้งบุคคลในตำแหน่ง 3. ข้อสอบ 4. ถูกทุกข้อ
29.
การมีผลบังคับใช้ของระเบียบว่าด้วย
การรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ.
2517 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่
1.
วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2518 2. วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
3.
วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2518 4. ถูกทั้งข้อ 1 และ ข้อ 2.
30.
หากส่วนราชการใดมีการจำเป็นที่จะต้องมีระเบียบเป็นการเฉพาะซึ่ง ขัดหรือระเบียบว่าด้วยการรักษา
ปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 จะต้องดำเนินการอย่างไร
1.
จะต้องขออนุมัติต่อคณะรัฐมนตรี
2.
จะต้องขออนุมัติต่อคณะรัฐมนตรี
3.
จะต้องเสนอรัฐมนตรีเจ้าสังกัดเพื่อนำเสนอขออนุมัติต่อคณะรัฐมนตรี
4. จะต้องเสนอรัฐมนตรีเจ้าสังกัดเพื่อนำเสนอขออนุญาติคณะรัฐมนตรี
31.
ในการรักษาความปลอดภัยจะต้องกำหนดมาตราการอย่างไรบ้าง
1.
มาตราการป้องกัน
2.
มาตราการจำกัดให้ทราบเท่าที่จำเป็น
3.
มาตราการป้องกันและมาตราอื่นๆควบคู่กันไป
4.
ถูกทุกข้อ
32.
ในกรณีที่ส่วนราชการใดมีปัญหาเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยจะต้ องดำเนินการอย่างไร
1.
จะต้องขอคำแนะนำ ความช่วยเหลือ และความร่วมมือจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
2.
จะต้องขอคำแนะนำ และความช่วยเหลือจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
3.
จะต้องติดตามขอคำแนะนำ ความช่วยเหลือ
และความร่วมมือจากองค์กรรักษาความปลอดภัย

4.
จะต้องติดต่อขอคำแนะนำ ความช่วยเหลือ และความร่วมมือจากองค์การรักษาความปลอดภัย
33.
ความต่อไปนี้ข้อใดคือสิ่งที่เป็นความลับ ชั้นลับมาก
1.
การประมาณการข่าวกรองเกี่ยวกับขีดความสามารถของข้าศึก
2. แผนการยุทธ์
3.
การตรากฎหมายเกี่ยวกับการเวียนคืนอสังหาริมทรัพย์เพื่อประโยชน์
ในทางราชการ
4. ถูกทุกข้อ
34.
ความต่อไปนี้ข้อใดคือความมุ่งหมายของการรักษาความปลอดภัยเกี่ยว กับเอกสาร
1.
เพื่อกำหนดนโยบายและวิธีการในการรักษาความลับของทางราชการ ซึ่งจะต้องปฏิบัติต่อเอกสารลับทุกขั้นตอน ทั้งนี้เพื่อให้เป็นมาตราฐานเดียวกัน
2.
เพื่อกำหนดนโยบายในการพิทักษ์รักษาความลับของทางราชการ ซึ่งจะต้องปฏิบัติต่อเอกสารลับทุกขั้นตอน ทั้งนี้เพื่อให้เป็นมาตราฐานเดียวกัน
3.
เพื่อกำหนดนโยบายและวิธีการในการพิทักษ์รักษาความลับของทางราชก
ารทุกขั้นตอน
 ทั้งนี้เพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน
4.
เพื่อกำหนดนโยบายและวิธีการในการพิทักษ์รักษาความลับของทางราชก
าร
 ซึ่งจะต้องปฏิบัติต่อเอกสารลับชั้นต่างๆ ทุกขั้นตอนของการดำเนินกรรมวิธี ทั้งนี้เพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน
35.
การมอบอำนาจ การกำหนดชั้นความลับชั้น
"ลับที่สุด" จะต้องดำเนินการอย่างไร

1.
ต้องมีคำสั่งเป็นลายลักษณ์อักษร
และมีบันทึกลายมือชื่อในทำเนียบลับทีสุดหรือลับมาก
(รปภ .5) ของผู้ที่ได้รับมอบอำนาจไว้เป็นหลักฐานและจะต้องมีจำนวนไว้เป็น หลักฐานและจะต้องมีจำนวนจำกัดที่สุด
2.
ต้องมีคำสั่งเป็นลายลักษณ์อักษรและทะเบียนความไว้วางใจ
(รปภ.
4) พร้อมทั้งมีบันทึกลายมือชื่อในทะเบียนลับที่สุด
หรือลับมาก (รปภ.
5) ของผู้ที่ได้รับมอบอำนาจไว้เป็นหลักฐาน
3.
ต้องมีคำสั่งเป็นลายลักษณ์อักษร และทะเบียนความไว้วางใจ (รปภ.4) พร้อมทั้งบันทึก
4.
ต้องมีคำสั่งเป็นลายลักษณ์อักษร
และทะเบียนความไว้วางใจ (รปภ.
4) พร้อมทั้งบันทึกลายมือชื่อในทะเบียนลับที่สุด
หรือลับมาก (รปภ.
5) ของผู้ที่ได้รับมอบอำนาจไว้เป็นหลักฐานและจะต้องมีจำนวนจำกัดที ่สุดเท่าที่จำเป็น
36.
ในกรณีที่ต้องการให้หนังสือส่งถึงผู้รับภายในเวลาที่กำหนด การปฏิบัติบนหน้าซองของหนังสือให้ระบุ
คำว่า…………….
1.
ด่วนมาก แล้วมอบให้กับเจ้าหน้าที่ส่งถึงผู้รับ
2.
ด่วน แล้วลงเวลาที่ต้องการให้หนังสือไปถึงผู้รับ
3.
ด่วนภายใน แล้วลงวันเดือนปีและกำหนดเวลาที่ต้องการให้หนังสือไปถึงผู้รับก ับให้เจ้าหน้าที่ส่งถึงผู้รับ
4.
กรุณาส่งด่วนแล้วลงวันเดือนปีที่ต้องการ ให้หนังสือไปถึงผู้รับ
37.
การจัดส่งหนังสือราชการที่มีการประทับตราด่วนมาก จะต้องปฏิบัติต่อหนังสือนั้นอย่างไร
1.
ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติเร็วกว่าปกติเท่าที่จะทำได้
2. ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติโดยเร็ว
3.
ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติในทันทีที่ได้รับหนังสือนั้น
 
4. ถูกทุกข้อ
38.
การท้าวความ หรืออ้าวถึงบันทึกข้อความในหนังสือราชการภายในของกรมตำรวจให้ใช ้ข้อความดังนี้
1.
ตามหนังสือ…………….. 2. ตามบันทึก……………..
3.
ตามอ้างถึง…………….. 4. ถูกทุกข้อ
39.
หนังสือที่จัดทำขึ้นโดยปกติให้มีสำเนาอย่างไร
1.
อย่างน้อย 2 ฉบับ มีสำเนาถูกต้อง 1 ฉบับ 2. อย่างน้อย 2ฉบับ มีสำเนาคู่ฉบับ 1 ฉบับ
3.
อย่างน้อย 2 ฉบับ มีสำรองสำเนา 1 ฉบับ 4. อย่างน้อย 2 ฉบับ มีสำเนา 1 ฉบับ
40.
การรายงานข้าราชการกระทำผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ราชการไปยังอธิบ ดีกรมตำรวจให้ดำเนินการส่งที่
1.
สำนักงานอธิบดีกรมตำรวจ 2. กองคดี กรมตำรวจ
3.
กองวินัยสำนักงานกำลังพล กรมตำรวจ 4. สำนักงานเลขานุการ กรมตำรวจ
41.
กรณีศาลมีหมายเรียกให้กรมตำรวจส่งเอกสารใดๆ ไปยังศาล เพื่อเป็นพยานหลักฐานประกอบคดี
ผู้ใด

เป็นผู้ส่งเอกสารไปยังศาล
1.
อธิบดีกรมตำรวจ 2. เลขานุการกรมตำรวจ
3.
หัวหน้าส่วนราชการที่รับผิดชอบเอกสารนั้น 4. กองคดี กรมตำรวจ
42.
การจ่าหน้าไปรษณีย์ภัณฑ์และพัสดุไปรษณีย์ที่ส่งจากสนามชายแดน ข้อใดถูกต้องที่สุด
1.
จาก ตร. สนามชายแดน
ส่ง
พ.ต.ท. พนม คงเจริญ
ตราโล่เขน 573 ถนนอาทิตย์
ลงลายมือชื่อ เขตยานนาวา
(
ตร.2) กรุงเทพมหานคร 10120
2.
จาก ตร. สนามชายแดน
ส่ง
พ.ต.ท. พนม คงเจริญ
ตราโล่เขน 573 ถนนอาทิตย์
ลงลายมือชื่อ เขตยานนาวา
(
ตร.2) กรุงเทพมหานคร 10120
3.
จาก ตร. สนามชายแดน
ส่ง
พ.ต.ท. พนม คงเจริญ
ตราโล่เขน 573 ถนนอาทิตย์
ลงลายมือชื่อ เขตยานนาวา
(
ตร.2) กรุงเทพมหานคร 10120
4.
ส่ง
พ.ต.ท. พนม คงเจริญ
573
ถนนอาทิตย์
จาก ตร. สนามชายแดน เขตยานนาวา
กรุงเทพมหานคร 10120
ตราโล่เขน
ลงลายมือชื่อ
(
ตร.2)
43.
หนังสือราชการภายในหรือเอกสารที่ใช้หรือถึงกันภายในหน่วยงานของ กรมตำรวจที่ไม่พึงเปิดเผยจะ
ต้องปฏิบัติอย่างไร
1.
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526
2.
ระเบียบการสารบรรณตรวจ
3.
ระเบียบการว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ 4. ถูกทุกข้อ

สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 
ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com



จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
44. การสั่งการของผู้บังคับบัญชาโดยชอบด้วยกฏหมายสามารถกระทำได้กี่ วิธี และข้อใดถูกต้องที่สุด
1. กระทำด้วยลายลักษณ์อักษรหรือวาจา
2. กระทำด้วยหนังสือ วาจา หรือเครื่องวิทยุตำรวจ
3. กระทำด้วยหนังสือ วาจา หรือเครื่องคอมพิวเตอร์
4. กระทำด้วยหนังสือ วาจา หรือเครื่องสื่อสาร
45. ในกรณีที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ผู้ใต้บังคับบัญชา คำขึ้นต้นในบันทึกข้อความให้ใช้คำว่า
1. เรียน ผกก. 2. ผกก. 3. เสนอ ผกก. 4. ถูกทุกข้อ
46. การใช้บันทึกข้อความในการลงความเห็นของเจ้าหน้าที่ ตามปกติให้ใช้บันทึกฉบับเดียวถ้าเป็นข้อความ
สั้นควรเขียน ถ้าเป็นข้อความยาวมากให้ใช้พิมพ์ดีด เมื่อสิ้นสุดข้อความแล้วการลงลายมือชื่อควรลงใน
ลักษณะอย่างไร
1. ลงลายมือชื่อเขียนหวัด แล้วลงวันเดือนปีกำกับไว้ใต้ตำแหน่งหน้าที่ราชการทุกครั้ง
2. ลงลายมือชื่อไม่หวัด ผู้รับอ่านออกได้ว่าเป็นใครแล้วลงตำแหน่งหน้าที่ราชการทุกครั้ง
3. ลงลายมือชื่อหวัด วงเล็บชื่อ ชื่อสกุลไว้ข้างลายมือชื่อ แล้วลงวันเดือนปีกำกับไว้ได้ตำแหน่งหน้าที่ราชการทุกครั้ง
4. ลงลายมือชื่อไม่หวัด ผู้รับอ่านออกได้ว่าเป็นใครแล้วลงเวลา วันเดือนปี กำกับไว้ใต้ตำแหน่งหน้าที่ราชการทุกครั้ง
47. การบันทึกเสนอกรมตำรวจ หรือกระทรวงมหาดไทยอย่างน้อยจะต้องมีหัวข้อดังนี้
1. เรื่องเดิม ข้อเท็จจริง ข้อพิจารณาหรือปัญหา ข้อเสนอแนะ
2. เรื่องเดิม ข้อเท็จจริง ข้อกฏหมายหรือระเบียบ ข้อพิจารณาหรือปัญหา ข้อเสนอแนะ
3. เรื่องเดิม ข้อเท็จจริง ข้อกฏหมายหรือระเบียบ ข้อเสนอแนะ
4. เรื่องเดิม ข้อเท็จจริง ข้อพิจารณาหรือปัญหา ข้อพิจารณาหรือปัญหา ข้อเสนอแนะ
48. การจัดทำหนังสือ กรณีประมวลเรื่องเสนอกรมตำรวจเพื่อพิจารณา เมื่อมีปัญหาเกี่ยวกับข้อกฏหมาย
ระเบียบ หรือคำสั่งให้หน่วยงานเจ้าของเรื่อง ส่งปัญหานั้นไปให้หน่วยงานใดพิจารณามีความเห็นก่อน
1. สำนักงานเลขานุการกรมตำรวจ 2. กองวิชาการกรมตำรวจ
3. กองคดีกรมตำรวจ 4. หน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบ
49. การรับรองสำเนาหนังสือทุกชนิดให้ใช้คำว่า สำเนาถูกต้อง และผู้ใดเป็นผู้ลงลายมือชื่อรับรอง
1. ข้าราชการตำรวจที่มียศตั้งแต่เทียบเท่าระดับสองของข้าราชการพลเ รือน ตามระเบียบงานสารบรรณสำนักนายกรัฐมนตรี
2. ข้าราชการตั้งแต่ยศร้อยตำรวจตรีขึ้นไปในกรมตำรวจ
3. ข้าราชการตั้งแต่ยศร้อยตรีขึ้นไปในกรมตำรวจของหน่วยงานเจ้าของเ รื่อง
4. ข้าราชการตั้งแต่ยศร้อยตรีขึ้นไปในกรมตำรวจในสำนักงานเลขานุการ กรมตำรวจ
50. สำเนาหนังสือราชการกรมตำรวจซึ่งทำในนามกระทรวงมหาดไทยที่จะสั่ง ไปยังจังหวัดต่างๆ หรือ
หน่วยงานต่างๆ ผู้ใดเป็นผู้ลงนามรับรองว่าสำเนาถูกต้อง
1. รองอธิบดีกรมตำรวจ 2. ผู้ช่วยอธิบดีกรมตำรวจ 3. เลขานุการกรมตำรวจ 4. ถูกทุกข้อ
51. หนังสือราชการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ ชนิดใดต่อไปนี้ที่เป็นหนังสือ
ติดต่อราชการ
1. หนังสือภายใน-หนังสือภายนอก 2. หนังสือประชาสัมพันธ์-หนังสือภายใน
3. หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ-หนั งสือภายนอก
4. หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ-หนั งสือประทับตรา
52. ข้อใดต่อไปนี้ เป็นคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่ าด้วยงานสารบรรณ
1. หนังสือรับรองเป็นหนังสือที่ส่วนราชการออกให้เพื่อรับรองโดยมีว ัตถุประสงค์ให้ปรากฎแก่บุคคลโดยทั่วไปจำเพาะเจาะจง ใช้กระดาษตราครุฑ
2. การเก็บหนังสือเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว กรณีเป็นหนังสือที่ต้องเก็บไว้ตลอดไปให้ประทับตราคำว่า ห้ามทำลายด้วยหมึกสีดำ
3. หนังสือที่ได้ลงทะเบียนส่งในกรณีที่เป็นการตอบหนังสือซึ่งรับเข ้ามาให้ลงทะเบียนว่าหนังสือนั้นได้ตอบตามหนังสือรับที่เท่าใด วันเดือนปีใด
4. รายงานการประชุมเป็นการบันทึกความคิดเห็นของผู้มาประชุมและมติข องที่ประชุมไว้เป็นหลักฐาน
53. ข้อใดต่อไปนี้เป็นข้อที่ถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับหลักการสำคัญของ การรับหนังสือ
1. จัดลำดับของหนังสือเพื่อดำเนินการก่อนหลัง ตรวจความถูกต้อง ประทับตรารับหนังสือที่มุมบนด้านซ้ายของหนังสือ ลงทะเบียนรับหนังสือ และจัดแยกหนังสือแล้วส่งให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
2. จัดลำดับของหนังสือเพื่อดำเนินการก่อนหลัง ตรวจความถูกต้อง ประทับตรารับหนังสือที่มุมบนด้านขวาของหนังสือ ลงทะเบียนรับหนังสือในทะเบียนหนังสือส่งและจัดแยกหนังสือส่งให้ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
3. จัดลำดับของหนังสือเพื่อดำเนินการก่อนหลัง ตรวจความถูกต้อง ประทับตรารับหนังสือที่มุมบนด้านขวาของหนังสือ ลงทะเบียนรับหนังสือในทะเบียนหนังสือรับและจัดแยกหนังสือแล้วส่ งให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
4. จัดลำดับของหนังสือเพื่อดำเนินการก่อนหลัง ตรวจความถูกต้อง ประทับตรารับหนังสือที่มุมบนด้านขวา หรือซ้ายของหนังสือก็ได้ ลงทะเบียนรับหนังสือในทะเบียนหนังสือส่ง และจัดแยกหนังสือแล้วส่งให้ส่วนราชการทีเกี่ยวข้อง
54. การร่างหนังสือที่มีลักษณะเป็นการสั่งการจะต้องมีหลักการที่สำค ัญในข้อใด
1. ควรใช้ถ้อยคำที่ผู้รับคำสั่งสามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
2. ก่อนร่างควรพิจารณาค้นคว้าว่ามีบทกฎหมายให้อำนาจสั่งการไว้แล้ว ประการใด
3. ถ้าการที่จะสั่งการนั้นจัดกับคำสั่งเก่าๆ ต้องยกเลิกคำสั่งเก่าเสียก่อน
4. ถูกทุกข้อ
55. ข้อใดต่อไปนี้เป็นการดำเนินการที่ถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับการจัด ทำหนังสือราชการตามแบบระเบียบ ข้อบังคับหรือประกาศ
1. ประกาศ ณ วันที่ 20 ธันวาคม 2539 2. ประกาศ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2539
3. ประกาศ ณ วันที่ 20 ธันวาคม 2539 4. ประกาศ เมื่อ วันที่ 20 ธันวาคม 2539
56. ข้อใดต่อไปนี้มิใช้หน้าที่ของคณะกรรมการทำลายหนังสือ
1. พิจารณาหนังสือที่จะขอทำลายตามบัญชีหนังสือขอทำลายหากเห็นว่ายั งไม่ควรทำลายให้แจ้งส่วน
ราชการต้นสังกัดส่งหนังสือมาให้ตรวจสอบ
2. มีความเห็นหนังสือว่าหนังสือฉบับใดยังไม่ควรทำลาย โดยทำความเห็นแย้งไปยังหัวหน้าส่วน
ราชการระดับกรม
3. ควบคุมการทำลายหนังสือซึ่งผู้มีอำนาจอนุมัติให้ทำลายได้แล้ว และเมื่อทำลายเรียบร้อยแล้วให้ทำ
รายงานเสนอผู้มีอำนาจอนุมัติทราบ
4. กรณีมีความเห็นว่าหนังสือฉบับใดไม่ควรทำลายและควรจะขยายเวลาการ เก็บไว้ให้ลงความเห็น
ขยายเวลาการเก็บแล้วให้แก้ไขอายุการเก็บหนังสือในตรากำหนดเก็บห นังสือ โดยประธานกรรมการลงลายมือชื่อกำกับการแก้ไขไว้
57. พล.ต.ต.อนันต์ เคราะห์ดีมาก ผบก.ภ.จว. ลับแล มีคำสั่งมอบอำนาจให้พ.ต.อ. สมบูรณ์ มีดี รอง ผบก.ภ.จว ลับแล รับผิดชอบแทนเกี่ยวกับงานด้านอำนวยการและให้ พ.ต.อ. เล็ก วงแจ้ง รอง ผบก.ภ.จว. ลับแล ซึ่งมีอาวุโส สูงกว่ารับผิดชอบงานแทนเกี่ยวกับด้านป้องกันและปราบปราม หากภ.จว. ลับแลมีความจำเป็นจะต้องเสนองานเกี่ยวกับงานด้านอำนวยการ ไปยังตร.ภาค ที่สังกัด พ.ต.อ. สมบูรณ์ จะต้องลงนามในหนังสือราชการเกี่ยวกับงานด้านอำนวยการดังกล่าวแท น ผบก.ภ.จว. ตามข้อใด
1. รักษาราชการแทน 2. ปฏิบัติราชการแทน
3. ทำการแทน 4. ไม่สามารถลงนามได้ต้องให้ ผบก.ภ.จว.เป็นผู้ลงนาม
58. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณกำหนดเกี่ยวกับการรั กษาหนังสือราชการ กรณีเกิดการสูญหายจำเป็นต้องดำเนินการแจ้งความต่อพนักงานสอบสวน เป็นกรณีใดต่อไปนี้
1. หนังสือที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์
2. หนังสือที่เป็นหลักฐานทางสถิติ
3. หนังสือสำคัญที่เป็นการแสดงเอกสารสิทธิ
4. หนังสือที่ได้ปฏิบัติงานเสร็จสิ้นแล้วและเป็นคู่สำเนาที่มีต้นเ รื่องจะค้นได้จากที่อื่น
59. ข้อใดต่อไปนี้เป็นผู้มีอำนาจสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสื อราชการ
1. ผู้ว่าราชการจังหวัด 2. รองอธิบดี
3. ผู้ตรวจราชการกรม 4. ผู้อำนวยการกอง
60. ตรารับหนังสือซึ่งเป็นตราที่ใช้ประทับบนหนังสือเพื่อเลขทะเบียน รับหนังสือมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดใด
1. ขนาด 2.5 เซนติเมตร x 5 เซนติเมตร มีชื่อส่วนราชการอยู่ตอนล่าง
2. ขนาด 2.5 เซนติเมตร x 5 เซนติเมตร มีชื่อส่วนราชการอยู่ตอนบน
3. ขนาด 3.5 เซนติเมตร x 4.5 เซนติเมตร มีชื่อส่วนราชการอยู่ตอนล่าง
4. ขนาด 3.5 เซนติเมตร x 5 เซนติเมตร มีชื่อส่วนราชการอยู่ตอนบน
61. บรรดาข้อความที่ผู้อำนาจหน้าที่กำหนดให้ใช้โดยอาศัยอำนาจของกฏห มายให้กระทำได้ และใช้กระดาษตราครุฑเรียกว่า
1. ประกาศ 2. คำสั่ง 3. ระเบียบ 4. ข้อบังคับ
62. หนังสือการยื่นคำร้องขอแก้ไขชื่อสกุล ณ ที่ว่าการอำเภอ เป็นหนังสือชนิดใด
1. บันทึก 2. หนังสืออื่น 3. หนังสือรับรอง 4. ถูกข้อ 1 และ 2
63. คู่ฉบับของหนังสือจะต้องให้ผู้ร่าง ผู้พิมพ์ และผู้ตรวจลงลายมือชื่อ เป็นหนังสือชนิดใด
1. ข้างท้ายขอบล่างด้านขวาของหนังสือ 2. ข้างท้ายขอบล่างด้านซ้ายของหนังสือ
3. ข้างท้ายขอบล่างด้านซ้ายหรือขวาของหนังสือก็ได้ 4. ข้างท้ายขอบล่างด้านหลังของหนังสือ
64. ข้อต่อไปนี้ข้อใดใช้หลักการของการจัดทำหนังสือประทับตรา
1. หนังสือประทับตราให้ใช้ได้ระหว่างส่วนราชการเท่านั้นและเฉพาะกร ณีที่ไม่ใช่เรื่องสำคัญ
2. หนังสือประทับตราสามารถใช้ในกรณีการแจ้งผลงานที่ได้ดำเนินการไป แล้วให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทราบ
3. หนังสือประทับตราใช้ในการขอรายละเอียดเพิ่มเติมประกอบเรื่อง
4. ให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกองหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้ าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไปเป็นผู้รับผิดชอบลงชื่อย่อกำกับตรา
65. การส่งเอกสารวิชาการของกรมตำรวจที่ไม่สำคัญไปให้กรมปกครองสมควร ใช้ชนิดหนังสือประเภทใดเพื่อให้สอดคล้องตามระเบียบสำนักนายกรัฐ มนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ
1. หนังสือภายนอก 2. หนังสือภายใน 3. หนังสือประทับตรา 4. ถูกทุกข้อ
66. การเขียนหนังสือภายนอกถึง พระบรมราชวงศ์ชั้นพระองค์เจ้าต้องใช้คำขึ้นต้นและคำลงท้ายอย่าง ใด
1. กราบทูล (ออกพระนาม) ทราบฝ่าพระบาท-ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด
2. กราบทูล (ออกพระนาม) ทราบฝ่าพระบาท-ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
3. ขอประทานกราบทูล (ออกพระนาม) ทราบฝ่าพระบาท-ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด
4. ขอประทานกราบทูล (ออกพระนาม) ทราบฝ่าพระบาท-ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด กระหม่อมข้า
พระพุทธเจ้า (ลงชื่อ)
67. ข้อใดต่อไปนี้เป็นหน่วยราชการบริหารส่วนท้องถิ่นตามความหมายของ "ส่วนราชการ" ในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ
1. จังหวัด 2. กรุงเทพมหานคร 3. อำเภอ 4. ตำบล
68. มาตรา 17 แห่ง พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการตำรวจฯ ได้บัญญัติให้ ก.ตร. มีอำนาจออกข้อบังคับว่าด้วยการประชุมและการลงมติ ของ ก.ตร. และของคณะกรรมการ ขอทราบว่าข้อบังคับ ตามมาตรา 17 ดังกล่าวนี้เป็นหนังสือชนิดใด
1. หนังสือประชาสัมพันธ์ 2. หนังสือสั่งการ
3. หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นไว้เป็นหลักฐานในราชการ 4. หนังสืออื่น
69. ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณได้กำหนดให้ผู้ใด เป็นผู้รักษาการหรือเป็นผู้ตีความหรือวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับกา รปฏิบัติตามระเบียบ
1. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี 2. ปลัดนายกรัฐมนตรี
3. ปลัดกระทรวงมหาดไทย 4. ถูกข้อ 1 และ ข้อ 2
70. ข้อความต่อไปนี้เป็นข้อที่ถูกต้องที่สุดของหลักการเกี่ยวกับอาย ุการเก็บหนังสือ
1. การเก็บหนังสือที่มีอายุครบ 25 ปี ส่วนราชการเจ้าของเรื่องจะเก็บเองหรือส่งให้กองจดหมายเหตุแห่งช าติกรมศิลปากรเก็บก็ได้
2. หนังสือที่ได้ปฏิบัติงานเสร็จสิ้นแล้ว และเป็นคู่สำเนาที่มีต้นเรื่องสามารถจะค้นได้จากที่อื่นให้เก็บ ไว้ไม่น้อยกว่า 3 ปี
3. หนังสือที่เกี่ยวกับการเงินแม้เป็นเอกสารสิทธิ หากเห็นว่าไม่มีความจำเป็นต้องเก็บไว้ถึง 10 ปี ให้ทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง เพื่อขอทำลายได้
4. หนังสือที่เป็นเรื่องธรรมดาสามัย และเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นเป็นประจำ เมื่อดำเนินการเสร็จแล้ว จะเก็บไว้ไม่ถึง 1 ปีก็ได้
71. การตรวจสอบประวัติและพฤติการณ์บุคคล ข้อใดดำเนินการไม่ถูกต้อง
1. บุคคลที่เข้าถึงเรื่องลับที่สุด และลับมาก จะต้องตรวจสอบประวัติและพฤติการณ์โดยละเอียดเป็นพิเศษ
2. ก่อนที่จะบรรจุบุคคลเป็นข้าราชการต้องให้กรมตำรวจตรวจสอบพิมพ์ล ายนิ้วมือและประวัติอาชญกร
3. บุคคลเมื่อพ้นตำแหน่งหรือหน้าที่เกี่ยวกับความลับของทางราชการช ั้นลับมากเมื่อกลับเข้าทำงานในตำแหน่งดังกล่าวอีกไม่ต้องตรวจสอ บประวัติและพฤติการณ์ใหม่อีก
4. ในกรณีจำเป็นหรือเร่งด่วน หัวหน้าส่วนราชการอาจรับรองความไว้วางใจบุคคลได้โดยไม่ต้องรอฟั งผลการตรวจสอบประวัติและพฤติการณ์
72. การปฏิบัติกรณีทำลายเอกสารลับที่สุด ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. ให้หัวหน้าส่วนราชการ แจ้งเจ้าของเรื่องเดิมทราบ
2. ให้หัวหน้าส่วนราชการมีคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบก ารทำลาย 3 คน
3. ใช้วิธีเผาแล้วขยี้เถ้าให้เป็นผง
4. ให้นายทะเบียนเอกสารลับหรือผู้ช่วยนายทะเบียนเอกสารลับ บันทึกการทำลายไว้ในใบรับรองการทำลายเอกสารลับ (รปภ. 15) จำนวน 2 ชุด และเก็บไว้เป็นหลักฐานไม่น้อยกว่า 1 ปี
73. กุญแจที่ใช้กับภาชนะเก็บรักษาเอกสารลับที่สุดและลับมากจะต้องมี ลักษณะอย่างไร
1. กุญแจรหัสชนิดเปลี่ยนเลขรหัสได้ 2 ชั้น 2. กุญแจแบบมีกระเดื่อง 5 อัน
3. กุญแจแบบธรรมดาและมีเครื่องสัญญานแจ้งการรุกล้ำ 4. ถูกทุกข้อ
74. ในกรณีที่กรมตำรวจมีเหตุพิเศษ ซึ่งจะต้องวางระเบียบเฉพาะเรื่องที่ขัดแย้งกับระเบียบว่าด้วยกา รรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 ใครเป็นผู้มีหน้าที่ขออนุมัติต่อคณะรัฐมนตรี
1. อธิบดีกรมตำรวจ 2. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
3. สำนักข่าวกรองแห่งชาติ 4. ศูนย์รักษาความปลอดภัย
75. การนำเอกสารชั้นลับมากจะต้องใช้เจ้าหน้าที่นำสาร และผู้อารักขาการนำสารชั้นใด
1. เจ้าหน้าที่นำสาร-ชั้นจัตวา,ผู้อารักขา-ชั้นจัตวา
2. เจ้าหน้าที่นำสาร-ชั้นตรี,ผู้อารักขา-ชั้นตรี
3. เจ้าหน้าที่นำสาร-ชั้นจัตวา,ผู้อารักขา-ผู้ผ่านการตรวจสอบประวั ติและพฤติการณ์ความไว้วางใจ
4. เจ้าหน้าที่นำสาร-ชั้นตรี,ผู้อารักขา-ผู้ผ่านการตรวจสอบประวัติ และพฤติการณ์ความไว้วางใจ
76. การนำส่งเอกสารชั้นลับมากจะต้องใช้เจ้าหน้าที่นำสาร และผู้อารักขาการนำสารชั้นใด
1. กึ่งกลางหน้ากระดาษทั้งด้านบนและด้านล่างของทุกหน้าเอกสาร
2. กึ่งกลางหน้ากระดาษด้านบนของทุกหน้าเอกสาร
3. กึ่งกลางหน้ากระดาษทั้งด้านบนและด้านล่างเฉพาะหน้าแรกของเอกสาร
4. กึ่งกลางหน้ากระดาษเฉพาะด้านบนของเอกสารหน้าแรก
77. วิธีกำหนดชั้นความลับให้พิจารณาจาก
1. เอกสารตามแฟ้มเรื่องที่เก็บ 2. เอกสารอื่นที่อ้างถึง
3. ความสำคัญในเนื้อความของเอกสารนั้นเป็นหลัก 4. ถูกทุกข้อ
78. หลักการรักษาความปลอดภัยทั่วไปมีแนวทาง ดังนี้
1. ยึดถือหลัก "การกำจัดให้ทราบเท่าที่จำเป็น"
2. การรักษาความปลอดภัยที่ดีนั้นจะต้องมีจุดอ่อนน้อยที่สุด
3. ในการรักษาความปลอดภัยจะกำหนดมาตรการป้องกันอย่างเดียวอาจไม่เพ ียงพอควรกำหนดมาตรการอย่างอื่นควบคู่กันไปด้วย
4. ถูกทุกข้อ
79. การป้องกันอัคคีภัยในเวลาราชการ ให้จัดข้าราชการเป็นเจ้าหน้าที่ดับเพลิงแยกออกเป็นสองกลุ่ม โดยกลุ่มที่หนึ่งมีหน้าที่ดับเพลิง ส่วนอีกกลุ่มหนึ่งมีหน้าที่
1. ขนย้ายเอกสารและวัสดุสำนักงานที่จำเป็นและสำคัญ
2. ควบคุมรับผิดชอบเอกสารสำคัญที่จะทำการขนย้าย
3. ขนย้ายเอกสารและควบคุมรับผิดชอบเอกสารและวัสดุ
4. ควบคุมวางแผนการขนย้ายเอกสารและวัสดุอย่างเป็นระบบ
80. ห้องทำงาน อ.ตร. จัดว่าเป็นพื้นที่ที่มีการรักษาความปลอดภัยประเภทใด
1. พื้นที่ควบคุม 2. เขตหวงห้าม 3. เขตหวงห้ามเฉพาะ 4. เขตหวงห้ามเด็ดขาด
81. เลขานุการกรมตำรวจมีอำนาจกำหนดชั้นความลับใด
1. ปกปิด 2. ปกปิด ลับ 3. ปกปิด ลับ ลับมาก 4. ปกปิด ลับ ลับมาก ลับที่สุด
82. แผนการปราบปรามผู้ก่อการร้าย ขจก. จัดอยู่ในชั้นความลับใด
1. ลับที่สุด 2. ลับมาก 3. ลับ 4. ปกปิด
83. เครื่องแต่งกายชุดสนามของตำรวจตระเวนชายแดนจัดเป็น
1. ยุทธภัณฑ์ 2. ครุภัณฑ์ 3. บริภัณฑ์ 4. วัสดุภัณฑ์
84. การจัดทำใบรับเอกสารลับมากข้อใดถูกต้อง
1. เขียนชื่อเรื่องในใบรับเอกสารลับ
2. กำหนดชั้นความลับในใบรับรองเอกสารลับ
3. ระบุแต่เพียงที่เอกสาร วันเดือนปี จำนวน และหมายเลขฉบับของเอกสาร
4. ข้อ 1 และ 2 ถูกต้อง
85. นายทะเบียนเอกสารลับมีหน้าที่รับผิดชอบในเรื่องใด
1. วางระเบียบการรักษาความปลอดภัยในส่วนราชการของตน
2. จัดให้มีการอบรมเรื่องการรักษาความปลอกภัย
3. ตรวจและควบคุมการรักษาความปลอดภัยต่อเอกสารที่เตรียมจะเปิดเผยต ่อสื่อมวลชน
4. ดำเนินการเกี่ยวกับการปรับและยกเลิกชั้นความลับ
86. การส่งเรื่องไปเพื่อ เสนอคณะรัฐมนตรีตามข้อใดถูกต้อง
1. เรื่องที่มีกำหนดระยะเวลาแน่นอนให้ส่งก่อนวันประชุม ค.ร.ม. ไม่น้อยกว่า 15 วัน ส่วนกรณีเร่งด่วนไม่น้อยกว่า 4 วัน
2. เรื่องที่มีกำหนดระยะเวลาแน่นอนให้ส่งก่อนวันประชุม ค.ร.ม. ไม่น้อยกว่า 7 วัน ส่วนกรณีเร่งด่วนไม่น้อยกว่า 2 วัน
3. เรื่องที่มีกำหนดระยะเวลาแน่นอนให้ส่งก่อนวันประชุม ค.ร.ม. ไม่น้อยกว่า 15 วัน ส่วนกรณีเร่งด่วนไม่น้อยกว่า 2 วัน
4. เรื่องที่มีกำหนดระยะเวลาแน่นอนให้ส่งก่อนวันประชุม ค.ร.ม. ไม่น้อยกว่า 2 สัปดาห์ ส่วนกรณีเร่งด่วนไม่น้อยกว่า 3 วัน
87. การเสนองานต่อผู้บังคับบัญชาข้อใดถูกต้องที่สุด
1. ต้องเสนอตามลำดับชั้นโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆทั้งสิ้น
2. ต้องเสนอตามสายการบังคับบัญชาห้ามผิดสายและข้ามขั้นตอนเด็ดขาด
3. เสนอตามสายการบังคับบัญชาเว้นแต่กรณีเร่งด่วนก็ข้ามขั้นตอนได้
4. ถูกทุกข้อ
88. การส่งเอกสารใดๆ ไปยังศาลเพื่อเป็นพยานหลักฐานประกอบคดี กรมตำรวจและหน่วยงานในสังกัดควรปฏิบัติอย่างไร เมื่อมีหมายเรียกศาล
1. หากศาลไม่ระบุ อาจส่งต้นฉบับหรือสำเนาก็ได้
2. ต้องส่งตามที่ศาลระบุไม่ว่าจะเป็นต้นฉบับหรือสำเนาเอกสาร
3. หากมีการสำเนาเอกสารส่งไปยังศาลต้องรับรองสำเนาถูกต้อง 4. ถูกทุกข้อ
89. การกำหนดเลขประจำส่วนราชการในสังกัด กระทรวงมหาดไทย ว่า"มท 06" นั้นเป็นของส่วนราชการใด
1. ร.ต.อ. เฉลิม อยู่บำรุง รมช.กระทรวงมหาดไทย
2. สำนักงานนายกรัฐมนตรีช่วยว่ากระทรวงมหาดไทย (ร.ต.อ. เฉลิม อยู่บำรุง)
3. กรมตำรวจ
4. สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
90. ข้อความ " ชำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน " ในการส่งไปรษณียภัณฑ์และพัสดุไปรษณีย์จะปรากฎที่ใด
1. ด้านจ่าหน้าซอง มุมซ้ายบน 2. ด้านจ่าหน้าซอง มุมขวาล่าง
3. ด้านจ่าหน้าซอง มุมซ้ายล่าง 4. ด้านจ่าหน้าซอง มุมขวาบน
91. กองปราบปราม และ กองตำรวจทางหลวง มีคำย่อของหน่วยตรงกับข้อใด
1. บก.ป และ บก.ทล. 2. ป. และ บก.ทล.
3. บป. และ กทล. 4. ป. และ ทล.
92. คำนำหน้าตำแหน่งว่า " ฯพณฯ " ใช้กรณีใดบ้าง
1. กรณีนำหน้าตำแหน่งรัฐมนตรีทุกกระทรวงและทบวง ขึ้นไป
2. เฉพาะกรณีนำหน้าตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เท่านั้น
3. ไม่จำเป็นต้องใช้เลยในงานสารบรรณ
4. ไม่มีข้อถูก
93. วัตถุประสงค์ของการกำหนดเลขประจำหน่วยงานภายในกรมตำรวจข้อใดไม่ ถูกต้อง
1. เพื่อความสะดวกในการติดตามค้นหา 2. เพื่อให้ทราบว่าใครเป็นหน่วยงานเจ้าของเรื่อง
3. เพื่อการจำแนกเรื่องส่งให้หน่วยปฏิบัติ 4. เพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยเอกสาร
94. ข้อใดต่อไปนี้ว่าเป็นระเบียบการตำรวจ
1. หนังสือสั่งการ อ.ตร. ท้ายบันทึกที่หน่วยเสนอทุกเรื่อง
2. หนังสือเวียน ตร. กำหนดให้ทุกหน่วยใน ตร. รายงานผลการปฏิบัติงานทุกวันสิ้นเดือน
3. คำสั่ง ตร. ตั้งคณะทำงานปรับปรุงโครงสร้างกรมตำรวจ
4. คำสั่งสำนักงานกำลังพลกำหนดวิธีปฏิบัติในการคัดเลือกด้วยวิธีสอ น
95. กรณีกรมตำรวจจะนำเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรี ผู้ที่มีอำนาจหน้าที่ในการลงชื่อเป็นหนังสือนำส่งคือข้อใด
1. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
2. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย หรือรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
3. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย หรือปลัดกระทรวงมหาดไทย
4. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย หรือปลัดกระทรวงมหาดไทย
96. ในการทำบันทึกเสนอต่อ ตร. จะต้องมีหัวข้อ 4 หัวข้อ เฉพาะส่วนของหัวข้อ "ข้อพิจารณา" กำหนดให้มีเนื้อหาอย่างไร
1. รายละเอียดของเรื่องที่บันทึกเสนอนั้น
2. ข้อกฎหมายและข้อคิดเห็นของผู้เสนอ
3. นำเสนอความคิดเห็น และทางเลือกในการปฏิบัติเกี่ยวกับเรื่องที่เสนอ
4. นำเสนอความคิดเห็นทางเลือกในการปฏิบัติเกี่ยวกับเรื่องที่เสนอแ ละข้อเสนอว่าควรตัดสินใจเลือกทางเลือกใด
97. การประมวลเรื่องเสนอ ตร. กรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับข้อกฎหมายหรือระเบียบปฏิบัติจะต้องปฏิบ ัติอย่างไร
1. ส่งเรื่องให้ วช. หรือ ดค. พิจารณาก่อน
2. นำเสนอที่ปรึกษากฎหมาย ตร. พิจารณาให้ได้ข้อยุติเสียก่อน แล้วจึงเสนอ ตร. พิจารณา
3. ประมวลประเด็นปัญหาให้ชัดเจนแล้วนำเสนอ ตร. สั่งการหน่วยเกี่ยวข้องพิจารณาแต่ละประเด็น
4. ประมวลประเด็นปัญหาให้ชัดเจนแล้วประสานหน่วยที่เกี่ยวข้องให้ได ้ข้อยุติก่อนแล้วประมวลเสนอ ตร.
98. การเขียนหรือพิมพ์ชื่อบุคคลต่างด้าวเป็นอักษรไทย ระเบียบกำหนดไว้อย่างไร
1. พิมพ์ชื่อ โดยมีอักษรต่างด้าวกำกับทุกครั้ง
2. พิมพ์ชื่อโดยมีอักษรคนต่างด้าวกำกับเฉพาะครั้ง
3. พิมพ์ชื่อโดยมีอักษรโรมันกำกับเฉพาะครั้งแรก
4. จะพิมพ์ชื่อเป็นอักษรไทยไม่ได้ต้องพิมพ์เป็นอักษรต่างด้าวหรืออ ักษรโรมันเท่านั้น
99. การสั่งการตามข้อใดต่อไปนี้ระเบียบงานสารบรรณกำหนดให้สั่งการด้ วยหนังสือ
1. สั่งแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการตำรวจ
2. สั่งให้ข้าราชการตำรวจตั้งด่านตรวจสกัดจับ
3. สั่งให้ข้าราชการตำรวจ ในจังหวัดใดจังหวัดหนึ่งมารายงานตัวที่ ตร. ภายใน 24 ชม.
4. ถูกทุกข้อ
100.การบันทึกรายงานผู้บังคับบัญชาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ถ้าผู้บังคับบัญชาได้วินิจฉัยสั่งการแล้ว ต่อมามีประเด็นในเรื่องนั้นเพิ่มขึ้นจะต้องปฏิบัติอย่างไร
1. ใช้บันทึกฉบับเดิมลงความเห็นต่อ 2. แยกเป็นอีกหนึ่งเรื่องแล้วแยกนำเสนอต่างหาก
3. ใช้บันทึกฉบับใหม่โดยแรกเรื่องนำเสนอ 4. ใช้บันทึกฉบับใหม่โดยรวมเรื่องนำเสนอ
101. การสั่งการตามประมวลระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดีว่าด้วยการส ารบรรณตำรวจกระทำได้กี่วิธี
1. 2 วิธี 2. 3 วิธี 3. 4 วิธี 4. 5 วิธี
102. แบบบันทึกข้อความ มีกี่ขนาด
1. 2 ขนาด 2. 3 ขนาด 3. 4 ขนาด 4. ตามระเบียบฯ ไม่ได้กำหนดขนาดไว้
103. คำสั่งของอธิบดีที่สั่งการในบันทึกหรือในเรื่องใด ๆ ถ้าเป็นคำสั่งที่ต้องถือเป็นระเบียบถาวรหรือต้องมีการแก้ไขระเบ ียบปฏิบัติในเรื่องใด ให้เจ้าหน้าที่ของเรื่องนั้นส่งสำเนาบันทึกคำสั่งไปให้หน่วยงาน ใด
1. แผนกเผยแพร่ 2. แผนกค้นคว้า
3. แผนกเตรียมการ 4. แผนกระเบียบการตำรวจ
104. การจัดทำบันทึกเสนอต่อกรมตำรวจหรือกระทรวงมหาดไทย ตามระเบียบฯ กำหนดไว้ว่าอย่างน้อยจะต้องมีหัวข้ออะไรบ้าง
1. ข้อหารือ 2. ข้อปฏิบัติ 3. ข้อเท็จจริง 4. ข้อยุติ
105. การพิมพ์ที่ตั้งของส่วนราชการเจ้าของหนังสือภายนอก ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของหนังสือไว้ที่บรรทัดใด
1. บรรทัดบน 2. บรรทัดรอง 3. บรรทัดที่สุดท้าย 4. บรรทัดต่อมา
106. การพิมพ์ที่ตั้งของส่วนราชการเจ้าของหนังสือในหนังสือภายนอก ให้ลงชื่อถนนและที่ตั้งของส่วนราชการพร้อมรหัสไปรษณีย์ในบรรทัด ใด
1. ในบรรทัดสุดท้าย 2. ในบรรทัดบน
3. ในบรรทัดต่อมา 4. ในบรรทัดใดก็ได้ตามความเหมาะสม
107. การเขียนคำย่อ วัน เดือน ปีและเวลาให้ใช้ดังนี้
1. การเขียนคำย่อ "ชั่วโมง" ใช้ว่า ช.ม.
2. วันที่ ใช้เฉพาะตัวเลขข้างหน้าชื่อเดือน
3. ปีพุทธศักราช ใช้ตัวเลขเต็มทั้ง 4 ตำแหน่งท้ายอักษรย่อชื่อเดือน
4. การเขียนคำย่อ เวลาขึ้นวันใหม่ยังไม่เต็มชั่วโมงเพิ่มขึ้นมาได้ 1 นาที ใช้ว่า "00.01"
สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลยในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 
ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
108. กองทะเบียนพล มีสำเนาคำสั่งที่อธิบดีกรมตำรวจเป็นผู้ลงนาม มีต้นฉบับ (ต้นครุฑ) เจ้าหน้าที่คนนั้นจะต้องดำเนินการอย่างไร
1. ขอออกเลขที่หนังสือที่สำนักงานเลขานุการกรมตำรวจ
2. ขอออกเลขที่ที่กองวิชาการ กรมตำรวจ
3. ขอออกเลขที่ที่กองทะเบียนพล
4. ขอออกเลขที่ที่สำนักงานกำลังพล
109. หน่วยงานของกรมตำรวจที่มีที่ตั้งในกรุงเทพมหานคร ที่ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่าย งานบริการทั่วไป ได้แก่
1. กองบัญชาการตำรวจนครบาล 2. กองบัญชาการศึกษา
3. สำนักงานแพทย์ใหญ่ 4. กองวิชาการ
110. หน่วยงานของกรมตำรวจที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ ต้องนำเงินค่าส่งไปรษณีย์ภัณฑ์ และพัสดุไปรษณีย์ของแต่ละเดือนที่ใช้บริการแล้ว ภายในวันที่เท่าใดของเดือนถัดไป
1. ภายในวันที่ 10 ของเดือนถัดไป 2. ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป
3. ภายในวันที่ 20 ของเดือนถัดไป 4. ภายในวันที่ 25 ของเดือนถัดไป
111. การทำความตกลงระหว่างหน่วยงานของกรมตำรวจที่ได้รับจัดสรรงบประม าณกับการสื่อสารแห่งประเทศ โดยชำระค่าส่งรายเดือนต้องกำหนดให้มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบในการ ส่งไปรษณีย์ภัณฑ์และพัสดุได้ไม่เกิน
1. ไม่เกิน 2 คน 2. ไม่เกิน 3 คน 3. ไม่เกิน 4 คน 4. ไม่เกิน 5 คน
112. สำนักงานส่งกำลังบำรุงมีความจำเป็นจะเสนองานโดยตรงไปยังกรมตำรว จสั่งการจะต้องดำเนินการอย่างไร
1. แจ้งให้สำนักงานเลขานุการดำเนินการต่อไป 2. นำเรื่องขออนุมัติกรมตำรวจเพื่อดำเนินการ
3. แจ้งเวียนให้หน่วยงานต่าง ๆ ทราบและดำเนินการ 4. ให้กองวิชาการดำเนินการ
113. สิ่งของต้องห้ามมิให้ส่งทางไปรษณีย์ ได้แก่อะไร
1. วัตถุมีคมที่ไม่มีเครื่องหุ้มห่อป้องกันพอ 2. สัตว์มีชีวิต
3. สิ่งโสโครกหรือสิ่งมีพิษ 4. ถูกทุกข้อ
114. หนังสือราชการ (เป็นเรื่องสำคัญ) ที่ทำในนามกรมตำรวจ หรือผู้ทำการแทน หรือรองอธิบดี ผู้ช่วยอธิบดี ใครเป็นผู้ลงนามตรวจ
1. ผู้บังคับการหรือตำแหน่งเทียบเท่าขึ้นไปลงนามตรวจ
2. สารวัตรหรือเทียบเท่าสารวัตรลงนามตรวจ
3. รองสารวัตรลงนามตรวจ 4. รองผู้บังคับการลงนามตรวจ
115. การออกเลขที่หนังสือทุกชนิดในนามของกรมตำรวจ ให้หน่วยงานเจ้าของเรื่องนำไปออกเลขที่ ณ หน่วยงานใด
1. สำนักงานอธิบดีกรมตำรวจ
2. สำนักงานอธิบดี รองอธิบดีหรือผู้ช่วยอธิบดี ตามความเหมาะสม
3. สำนักงานเลขานุการกรมตำรวจ 4. กองวิชาการ กรมตำรวจ
116. หนังสือสั่งการ (คำสั่ง) ของกรมตำรวจ ให้หน่วยงานเจ้าของเรื่องนำไปออกเลขที่ ณ หน่วยงานใด
1. สำนักงานอธิบดีกรมตำรวจ
2. สำนักงานอธิบดี รองอธิบดีหรือผู้ช่วยอธิบดี ตามความเหมาะสม
3. สำนักงานเลขานุการกรมตำรวจ 4. กองวิชาการ กรมตำรวจ
117. ผู้มีอำนาจกำหนดเลขประจำส่วนราชการเจ้าของเรื่องให้กับส่วนราชก ารระดับกองบังคับการ กองกำกับการและแผนก ได้แก่
1. อธิบดีกรมตำรวจ 2. ผู้บัญชาการตำรวจ 3. ผู้บังคับการตำรวจ 4. หัวหน้าส่วนราชการต้นสังกัด
118. ร.ต.ต.เด่น ยอดปัญญา เจ้าหน้าที่ทะเบียนพล ได้รับคำสั่งจาก พล.ต.ต.เขียว ยอดฝีมือ ให้นำเรื่องกลับมาเพื่อเสนอกรมตำรวจสั่งการเป็นกรณีเร่งด่วน ต้องดำเนินการอย่างไร
1. นำงานเสนอกรมตำรวจสั่งการทันที
2. นำงานเสนอรับผิดชอบตามงานเมื่อกรมตำรวจสั่งการแล้ว
3. นำงานมาลงทะเบียนรับหนังสือที่สำนักงานเลขานุการกรมตำรวจก่อน
4. นำงานมาลงทะเบียนรับหนังสือที่กองทะเบียนพลก่อน
119. การรับรองสำเนาหนังสือทุกชนิดให้ข้าราชการตำรวจตั้งแต่ยศอะไรขึ ้นไปของหน่วยงานเจ้าของเรื่องลงลายมือชื่อรับรอง
1. ร้อยตำรวจตรี 2. ร้อยตำรวจโท 3. ร้อยตำรวจเอก 4. พันตำรวจตรี
120. ศาลมีหมายเรียกให้กรมตำรวจ หรือส่วนราชการในสังกัดกรมตำรวจส่งเอกสารใด ๆ ไปยังศาล จะต้องดำเนินการอย่างไร
1. ให้สำเนาเอกสารส่งซึ่งรับรองสำเนาถูกต้องส่งไป 2. ให้จัดส่งต้นฉบับไป
3. ให้สำเนาเอกสารส่งไป 4. ตอบปฏิเสธเอกสารสูญหาย
121. กองสวัสดิการ กรมตำรวจ ทำหนังสือให้กรมตำรวจลงนามเพื่อแจ้งเวียนให้หน่วยงานต่าง ๆ ทราบต้องดำเนินการอย่างไร
1. รับผิดชอบในการจัดทำและส่งหนังสือไป 2. ส่งเรื่องไปให้เลขานุการกรมตำรวจ
3. นำเสนอรกมตำรวจสั่งการ 4. ส่งเรื่องไปยังสำนักงานกำลังพล
122. การใช้คำย่อ "ยศ" ของข้าราชการตำรวจ สำหรับผู้มียศตำรวจเป็นหญิงให้ใช้ดังนี้
1. ร.ต.ต. (หญิง) แดง ใจงาม 2. ร.ต.ต. (ญ) แดง ใจงาม
3. ร.ต.ต. หญิง แดง ใจงาม 4. ร.ต.ต. ญ แดง ใจงาม
123. กองคดี กรมตำรวจ จัดทำหนังสือเสร็จแล้ว จะต้องดำเนินการอย่างไร
1. จัดส่งเองจะเป็นหนังสือในนามหน่วยในนามกรมตำรวจ หรือในนามกระทรวงมหาดไทย
2. ส่งให้เลขานุการกรมตำรวจ
3. ส่งให้กองการสอบดำเนินการ
4. เสนอเรื่องไปให้กรมตำรวจสั่งการให้หน่วยงานต่าง ๆ มารับ
124. การสำเนาเรื่องต่าง ๆ ของกรมตำรวจที่ทำในนามของกระทรวงมหาดไทย เช่น สำเนา ข้อบังคับ ระเบียบ และคำสั่ง จะต้องดำเนินการอย่างไร
1. เจ้าหน้าที่งานสำเนาส่งเอง
2. กองกลางสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยสำเนาส่ง
3. เจ้าของเรื่องจัดการสำเนาส่งเองทุกเรื่องไป
4. ส่งเรื่องไปยังสำนักงานเลขานุการกรมตำรวจ
125. ข้อตกลงระหว่างกระทรวงกลาโหม และการสื่อสารแห่งประเทศไทย เกี่ยวกับการใช้บริการไปรษณีย์สนาม โดยไม่ต้องชำระค่าไปรษณียากร ของทหารและตำรวจตระเวนชายแดนที่ปฏิบัติราชการสนามชายแดน มีผลบังคับเมื่อไร
1. วันที่ 1 มกราคม 2522 2. วันที่ 1 มกราคม 2523
3. วันที่ 1 มกราคม 2524 4. วันที่ 1 มกราคม 2525
126. บรรดาข้อความที่ทางราชการประกาศหรือชี้แจงให้ทราบหรือแนะแนวทาง ปฏิบัติคือ
1. แจ้งความ 2. คำชี้แจง 3. คำแนะนำ 4. ประกาศ
127. หนังสือประชาสัมพันธ์ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสาร บรรณ พ.ศ. 2526 มีกี่ชนิด
1. 2 ชนิด 2. 3 ชนิด 3. 4 ชนิด 4. 5 ชนิด
128. หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการมีกี ่ชนิด
1. 2 ชนิด 2. 5 ชนิด 3. 2 ชนิด 4. 3 ชนิด
129. หนังสือสั่งการมีกี่ชนิด
1. 4 ชนิด 2. 3 ชนิด 3. 2 ชนิด 4. 3 ชนิด
130. หนังสือสั่งการมี 3 ชนิด ได้แก่
1. คำสั่ง ระเบียบ และหนังสือประทับตรา 2. ระเบียบ คำสั่ง และหนังสือภายใน
3. ระเบียบ คำสั่ง และหนังสือภายนอก 4. คำสั่ง ระเบียบ และข้อบังคับ
131. รายงานการประชุม คือ
1. การบันทึกความคิดเห็นของผู้มาประชุม ผู้เข้าประชุม
2. ผู้จดรายงานการประชุม
3. มติของที่ประชุมไว้เป็นหลักฐาน
4. ถูกข้อ 1 และ 3
132. บรรดาข้อความที่ทางราชการแถลงเพื่อทำความเข้าใจในกิจกรรมของทาง ราชการหรือเหตุการณ์หรือกรณีใด ๆ ให้ทราบชัดเจนโดยทั่วกัน
1. คำชี้แจง 2. แจ้งความ 3. ข่าว 4. แถลงการณ์
133. หนังสือที่เขียนโดยใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 และต้องลงชื่อ ซึ่งมีไปในเรื่องราชการสำคัญ เช่น เรื่องที่มีลักษณะผูกมัดรัฐบาล หรือพาดพิงถึงนโยบายของรัฐบาล เรื่องที่เป็นการแสดงอัธยาศัยไมตรี และเรื่องที่ขอความช่วยเหลือ หรือขอความสะดวกเป็นพิเศษ เป็นคำนิยามของหนังสือแบบใด
1. หนังสือราชการที่ไม่เป็นแบบพิธี 2. หนังสือราชการที่เป็นแบบพิธี
3. จัดเป็นบันทึกช่วยจำ 4. หนังสือกลาง
134. หนังสือที่มีผู้รับเป็นจำนวนมาก และมีใจความเป็นอย่างเดียวกันทั้งหมด จัดเป็นหนังสือประเภทใด
1. หนังสือสั่งการ 2. หนังสือประชาสัมพันธ์ 3. บันทึก 4. หนังสือเวียน
135. เอกสารจำพวกภาพถ่าย ฟิล์ม แถบบันทึกเสียง แถบบันทึกภาพ และหนังสือของบุคคลภายนอกที่ยื่นต่อเจ้าหน้าที่นั้น จะจัดอยู่ในประเภทใด
1. หนังสือเวียน 2. หนังสืออื่น 3. หนังสือราชการ 4. วัสดุและอุปกรณ์
136. ตัวอักษรสีแดง ที่ใช้สำหรับระบุชั้นความเร็วจะต้องมีขนาดเท่าใด
1. ไม่เล็กกว่าตัวพิมพ์โป้ง 32 พอยท์ 2. เท่าตัวพิมพ์โป้ง 32 พอยท์
3. ใหญ่กว่าตัวพิมพ์โป้ง 32 พอยท์ 4. เล็กกว่าตัวพิมพ์โป้ง 32 พอยท์
137. หนังสือราชการมีกี่ชนิด
1. 4 ชนิด 2. 5 ชนิด 3. 6 ชนิด 4. 7 ชนิด
138. หนังสือที่ต้องจัดส่งและดำเนินการทางสารบรรณด้วยความรวดเร็วเป็ นพิเศษ เป็นหนังสือที่จะต้องดำเนินการอย่างไร
1. ปฏิบัติอย่างไรก็ได้ 2. ปฏิบัติไปตามปกติ
3. ปฏิบัติด้วยความระมัดระวัง 4. ปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ
139. คำที่ใช้ในการจ่าหน้าซองถึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
1. ขอพระราชทานกราบบังคมทูล 2. ขอพระราชทานทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายขอเดชะ
3. ขอพระราชทานกราบทูล 4. ขอประทานกราบทูล
140. บรรดาข้อความที่ทางราชการเห็นสมควรเผยแพร่ให้ทราบคือ
1. ประกาศ 2. โฆษณา 3. แถลงการณ์ 4. ข่าว
141. หนังสือประทับตรา คือ
1. หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการระดับก องขึ้นไป
2. หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการระดับก รมขึ้นไป
3. หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการระดับก องลงมา
4. หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการต่ำกว่ าระดับกรม
142. ถ้าให้ท่านเขียนหนังสือถึงพระราชาคณะ ท่านจะใช้คำขึ้นต้นและคำลงท้ายในหนังสือว่าอย่างไร
1. ใช้คำขึ้นต้นว่า "นมัสการ" และคำลงท้ายว่า "ขอนมัสการด้วยความนับถืออย่างยิ่ง"
2. ใช้คำขึ้นต้นว่า "นมัสการ" และคำลงท้ายว่า "ขอนมัสการด้วยความเคารพอย่างยิ่ง"
3. ใช้คำขึ้นต้นว่า "นมัสการ" และคำลงท้ายว่า "ขอนมัสการด้วยความเคารพ"
4. ใช้คำขึ้นต้นว่า "นมัสการ" และคำลงท้ายว่า "ขอนมัสการด้วยความเคารพอย่างสูง"
143. หนังสือรับรองที่ส่วนราชการออกให้เพื่อรับรองแก่บุคคล นิติบุคคล หรือหน่วยงานเพื่อวัตถุประสงค์อย่างหนึ่งอย่างใด ให้ปรากฎแก่บุคคลโดยทั่วไปไม่จำเพาะเจาะจงใช้
1. กระดาษบันทึกในการพิมพ์ 2. กระดาษขาวในการพิมพ์
3. กระดาษครุฑในการพิมพ์ 4. ไม่มีข้อใดถูก
144. หนังสือที่เป็นคำสั่ง ระเบียบ และข้อบังคับ
1. หนังสือภายใน 2. หนังสือภายนอก 3. หนังสือประชาสัมพันธ์ 4. หนังสือสังการ
145. บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่ได้วางไว้ โดยจะอาศัยอำนาจของกฎหมายหรือไม่ก็ได้ เพื่อถือเป็นหลักปฏิบัติงานเป็นการประจำคือ
1. คำสั่ง 2. ข้อบังคับ 3. ระเบียบ 4. คำแนะนำ
146. สำเนาเอกสารที่ไม่มีความจำเป็นต้องใช้ประโยชน์แล้ว เช่น สำเนาร่างพระราชบัญญัติถ้าถือว่าเป็นเอกสารที่จะต้องปฏิบัติตาม ที่กำหนดไว้ในระเบียบว่าด้วยงานสารบรรณ จะต้องเก็บไว้อย่างน้อยกี่ปี จึงจะทำลายได้
1. 1 ปี 2. 3 ปี 3. 5 ปี 4. 10 ปี
147. การลงทะเบียนหนังสือเก็บ ตามแบบที่ 20 โดยกำหนดให้ลงข้อความว่า "ให้ลงวันเดือนปี ที่นำหนังสือนั้นเข้าทะเบียนเก็บ" ข้อความดังกล่าวจัดอยู่ในช่วงใด
1. เลขทะเบียนรับ 2. รหัสแฟ้ม 3. วันเก็บ 4. อายุการเก็บ
148. สมุดส่งหนังสือให้จัดทำตามแบบที่เท่าใด
1. 15 2. 16 3. 17 4. 18
149. ข้อใดที่ไม่มีรายละเอียด ในทะเบียนหนังสือรับ ตามแบบที่ 13
1. เลขทะเบียนหนังสือ 2. การปฏิบัติ 3. ลงรับที่ 4. เวลา
150. บัตรตรวจค้น ซึ่งจะต้องจัดทำตามแบบนั้น มีทั้งหมดกี่ช่อง
1. 6 ช่อง 2. 7 ช่อง 3. 8 ช่อง 4. 9 ช่อง
151. การเก็บหนังสือเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว ให้ประทับตรากำหนดเก็บไว้ที่
1. มุมล่างด้านขวาของกระดาษแผ่นแรก 2. มุมล่างด้านซ้ายของกระดาษแผ่นแรก
3. ตรงกลางของกระดาษแผ่นแรก 4. ไม่มีระเบียบกำหนดไว้
152. การลงทะเบียนรับหนังสือ ตามแบบที่ 13 นั้น ในช่อง "การปฏิบัติ" ให้ลงข้อความว่า
1. ให้ลงชื่อเรื่องของหนังสือฉบับนั้น ในกรณีที่ไม่มีชื่อเรื่องให้ลงสรุปเรื่องย่อ
2. ให้ลงตำแหน่งของผู้ที่หนังสือนั้นมีถึงหรือส่วนราชการ หรือชื่อบุคคลในกรณีที่ไม่มีตำแหน่ง
3. ให้บันทึกการปฏิบัติเกี่ยวกับหนังสือฉบับนั้น
4. ให้ลงชื่อผู้รับหนังสือนั้นให้สามารถอ่านออกได้
153. ในการยืมหนังสือที่เก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ จะต้องปฏิบัติอย่างไร
1. การยืมหนังสือภายในส่วนราชการเดียวกัน ผู้ยืมและผู้อนุญาตให้ยืม ต้องเป็นหัวหน้าส่วนราชการระดับแผนก
2. การยืมหนังสือภายในส่วนราชการเดียวกัน ผู้ยืมและผู้อนุญาตให้ยืม ต้องเป็นหัวหน้าส่วนราชการระดับกอง
3. การยืมหนังสือภายในส่วนราชการเดียวกัน ผู้ยืมและผู้อนุญาตให้ยืม เป็นผู้ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนราชการระดับแผนก
4. ถูกทุกข้อ
154. ให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมแต่งตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือนั ้น หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม หมายถึง
1. รองอธิบดีกรมตำรวจซึ่งอธิบดีกรมตำรวจได้มอบหมายให้กระทำแทน
2. อธิบดีกรมตำรวจ
3. ผู้อำนวยการสำนักของกรุงเทพมหานคร
4. ข้อ 1 และ 2

155. ในทะเบียนส่งหนังสือ การลงเลขทะเบียนส่ง ควรปฏิบัติอย่างไรจึงจะถูกต้อง
1. ลงเลขลำดับของทะเบียนหนังสือส่งเรียงลำดับติดต่อกันไปถึงสิ้นปี งบประมาณ
2. ลงเลขลำดับของทะเบียนหนังสือส่งเรียงลำดับติดต่อกันไปตั้งแต่ 1 ตุลาคม ถึง 30 กันยายนของปีถัดปี
3. ลงเลขลำดับของทะเบียนหนังสือส่งเรียงลำดับติดต่อกันไปตลอดปีปฏิ ทิน
4. ข้อ 1 และ 2
156. ทุกปีปฏิทิน ให้ส่วนราชการจัดส่งหนังสือที่มีอายุครบ 25 ปี พร้อมทั้งบัญชีส่งมอบหนังสือครบ 25 ปร ให้กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร ภายใน.............
1. ภายในวันที่ 31 มกราคมของปีถัดไป 2. ภายในเดือนมกราคมของปีถัดไป
3. ถูกทั้ง 1 และ 2 4. ไม่มีข้อใดถูก
157. ตามระเบียบงานสารบรรณ วัน เดือน ปี ที่รับหนังสือในทะเบียนหนังสือรับอยู่ในส่วนใด
1. ช่องที่ 2 ของทะเบียนหนังสือรับ 2. ช่องที่ 3 ของทะเบียนหนังสือรับ
3. มุมบนด้านขวา 4. มุมล่างด้านขวา
158. การเสนอบัญชีขอทำลายหนังสือ ให้เสนอต่อหัวหน้าส่วนราชการระดับกรม ภายใน
1. ภายใน 60 วัน ก่อนวันสิ้นปีปฏิทิน 2. ภายใน 60 วัน หลังวันสิ้นปีปฏิทิน
3. ภายใน 30 วัน ก่อนวันสิ้นปีปฏิทิน 4. ภายใน 30 วัน หลังวันสิ้นปีปฏิทิน
159. ข้อใดปฏิบัติไม่ถูกต้อง ในเรื่องการยืมหนังสือที่ส่งเก็บแล้ว
1. ผู้ยืมต้องแจ้งให้ทราบว่าเรื่องที่ยืม จะนำไปใช้ในราชการใด
2. ผู้ยืมต้องมอบหลักฐานการยืม แล้วลงชื่อรับเรื่องที่ยืม
3. การยืมหนังสือระหว่างส่วนราชการ ผู้ยืมและผู้อนุญาตให้ยืมต้องเป็นหัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้ นไป
4. การยืมหนังสือภายในส่วนราชการเดียวกัน ผู้ยืมและผู้อนุญาติให้ยืมต้องเป็นหัวหน้าส่วนราชการระดับแผนกล งมา
160. การให้บุคคลภายนอกยืมหนังสือ ควรปฏิบัติอย่างไรจึงจะถูกต้องตามระเบียบงานสารบรรณ
1. จะต้องได้รับอนุญาตจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรม
2. จะต้องได้รับอนุญาตจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกอง
3. ข้อ 1 และ 2 4. ไม่มีข้อใดถูก
161. ข้อใดที่ไม่มีอำนาจกำหนดขั้น "ลับที่สุด"
1. ผู้บัญชาการตำรวจ 2. ผู้บัญชาการทหารบก 3. ผู้บังคับการกรม 4. ผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร
162. การรับเอกสารลับที่สุดและมากถ้าจ่าหน้าซองหรือห่อชั้นในระบุถึง ตำแหน่งก็ให้บุคคลต่อไปนี้เป็นผู้เปิดซองและลงชื่อในใบรับเอกสา รลับ
1. ผู้ครองตำแหน่ง 2. ผู้ได้รับมอบหมายจากผู้ครองตำแหน่ง
3. นายทะเบียนเอกสารลับ 4. ถูกทุกข้อ
163. เครื่องหมายแสดงชั้นความลับ แผนที่ภาพถ่าย ให้แสดงชั้นความลับไว้ที่ใด
1. ด้านในของปกหน้าปกหลัง 2. ด้านนอกของปกหน้าปกหลัง
3. ต้นและปลายม้วน 4. ใกล้ชื่อหรือมาตราส่วน
164. ผู้มีอำนาจกำหนดชั้น ลับ และปกปิดได้แก่
1. หัวหน้ากอง 2. ผู้บังคับหมวดเรือ 3. ผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร 4. ผู้บังคับกองร้อย
165. การกำหนดชั้นความลับของเอกสารให้พิจารราจากความสำคัญของ
1. เนื้อความในเอกสารตามแฟ้มเรื่องที่เก็บ 2. เนื้อความของเอกสารนั้น ๆ
3. เนื้อความตามเอกสารอื่นที่อ้างถึง 4. ไม่มีข้อใดถูก
166. รปภ. 19 คือ
1. รายงานเอกสารลับสูญหาย 2. รายงานการตรวจสอบเอกสารลับ
3. บันทึกการรับรองการรักษาความลับเมื่อพ้นจากตำแหน่งหรือหน้าที่ 4. ผิดทุกข้อ
167. บุคคลใดที่จะต้องมีการตรวจสอบประวัติและพฤติการณ์โดยละเอียดเป็ นพิเศษ
1. บุคคลที่ไปต่างประเทศบ่อย ๆ
2. บุคคลที่จะได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่ หรือแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งที่สำคัญในส่วนราชการ
3. ถูกทั้ง 2 ข้อ 4. ผิดทั้ง 2 ข้อ
168. การสูญเสียกำลังพลในการรบที่สำคัญ จัดอยู่ในประเภท
1. ลับที่สุด 2. ลับมาก 3. ลับ 4. ปกปิด
169. รปภ. 13 คือ
1. รายงานการตรวจสอบเอกสารลับ 2. ใบรับรองเอกสารลับ
3. ใบรับรองการโอนเอกสารลับ 4. ใบรับรองการทำลายเอกสารลับ
170. การเก็บรักษาเอกสารลับที่สุด และลับมากให้ปลอดภัย เลขรหัสสำหรับห้องนิรภัยหรือตู้นิรภัย ควรเปลี่ยนตามวาระดังนี้
1. เมื่อความลับรั่วไหล หรือสงสัยว่าความลับจะรั่วไหล
2. เมื่อมีการเปลี่ยนเจ้าหน้าที่ในสำนักงานที่รู้รหัสกุญแจ
3. ตามห้วงระยะเวลาไม่นานกว่า 6 เดือนต่อหนึ่งครั้ง 4. ถูกทุกข้อ
171. หนังสือประทับตราให้ใช้อย่างไร
1. ระหว่างส่วนราชการกับส่วนราชการและให้ร่วมถึงบุคคลภายนอกด้วย
2 ทั้งระหว่างส่วนราชการกับส่วนราชการและระหว่างส่วนราชการกับบุค คลภายนอกเฉพาะกรณีที่ไม่ใช่เรื่องสำคัญ
3. ทั้งระหว่างส่วนราชการกับส่วนราชการและระหว่างส่วนราชการกับบุค คลภายนอกเฉพาะกรณีที่
เป็นเรื่องสำคัญ
4. ไม่มีข้อใดถูก
172. หนังสือภายใน คืออะไร
1. หนังสือติดต่อราชการที่ไม่เป็นแบบพิธีอย่างหนังสือภายนอก
2. หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีน้อยกว่าหนังสือภายนอก เป็นหนังสือติดต่อภายในกระทรวงทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน ใช้กระดาษบันทึกข้อความ
3. หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีซึ่งผู้บังคับบัญชา ใช้ส่งข้อความภายในจากกรุงเทพฯถึงจังหวัดอื่นๆ
4. หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีน้อยกว่าหนังสือภายนอก เป็นหนังสือติดต่อภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดอื่น ใช้กระดาษตราครุฑ
173. หนังสือภายนอก คืออะไร
1. หนังสือติดต่อราชการที่ไม่เป็นแบบพิธีโดยใช้กระดาษอะไรก็ได้
2. หนังสือที่หน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการนำมามอบให้ส่วนราช การในกการติดต่อ
3. หนังสือที่ติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีโดยใช้กระดาษตราครุฑ เป็นหนังสือติดต่อระหว่างส่วน ราชการหรือส่วนราชการมีถึงหน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการหร ือที่มีบุคคลภายนอก
174. งานสารบรรณ คืองานที่เกี่ยวกับอะไร
1. งานที่เกี่ยวกับด้านการรับ การส่ง และการลงเลขหนังสือรับ - ส่ง
2. งานที่เกี่ยวกับด้านหนังสือราชการและหนังสือทั่วไป
3. งานที่เกี่ยวกับด้านหนังสือราชการที่จะต้องเก็บรักษา
4. งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสารเริ่มตั้งแต่การจัดทำ การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำลาย
175. การปรับปรุงสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2506 เสียใหม่ได้เหมาะสมยิ่งขึ้นเมื่อ ปี พ.ศ. ใด
1. พ.ศ. 2507 2. พ.ศ. 2515 3. พ.ศ. 2520 4. พ.ศ. 2526
176. การส่งหนังสือซึ่งมิใช่เป็นการส่งโดยทางไปรษณีย์ เมื่อส่งหนังสือให้ผู้รับแล้ว ผู้ส่งจะต้องดำเนินการอย่างใด
1. ให้ผู้รับลงชื่อในสำเนาคู่ฉบับ 2. ให้ผู้รับลงชื่อในสำเนาที่เจ้าของเรื่องรับรองสำเนาถูกต้อง
3. ให้ผู้รับลงชื่อรับในสมุดส่งหนังสือ 4. ถูกทุกข้อ
177. ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยสารบรรณ พ.ศ. 2516 ได้แบ่งวิธีการเก็บหนังสือไว้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
1. 2 ประเภท คือ การเก็บก่อนปฏิบัติ การเก็บหลังปฏิบัติเสร็จแล้ว
2. 3 ประเภท คือ การเก็บระหว่างปฏิบัติ การเก็บเมื่อเสร็จแล้ว การเก็บเพื่อไว้ใช้ในการตรวจสอบก่อนปฏิบัติ
3. 4 ประเภท คือ การเก็บก่อนปฏิบัติ การเก็บระหว่างปฏิบัติ การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว การเก็บเพื่อไว้ใช้ในการตรวจสอบ
4. 5 ประเภท คือ การเก็บก่อนปฏิบัติ การเก็บระหว่างปฏิบัติ การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว การเก็บเพื่อไว้ใช้ในการตรวจสอบ การเก็บเพื่อไว้ใช้เป็นหลักฐานในการอ้างอิง
178. บัญชีส่งมอบหนังสือครบ 25 ปี และบัญชีหนังสือครบ 25 ปี ที่ขอเก็บเอง อย่างน้อยให้มีต้นฉบับและสำเนาคู่ฉบับ เพื่อให้ส่วนราชการผู้มอบและผู้รับมอบยึดถือไว้เป็นหลักฐานฝ่าย ละฉบับ ส่วนราชการ “ผู้รับมอบ” ตามระเบียบนี้ได้แก่
1. สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี 2. กองจดหมายเหตุแห่งชาติ
3. หอสมุดแห่งชาติ 4. พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ
179. การยืมหนังสือต่างกรม ผู้อนุญาตให้ยืมต้องเป็น
1. หัวหน้าแผนกเก็บ 2. หัวหน้ากองเจ้าของเครื่อง
3. หัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้นไป 4 อธิบดีกรมเจ้าสังกัด
180. คณะกรรมการทำลายหนังสือ
1. ได้รับการแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรม ประกอบด้วย ประธานกรรมการ และกรรมการอีกอย่างน้อย 2 คน โดยปกติแต่งตั้งจากข้าราชการตั้งแต่ระดับ 3 หรือเทียบเท่าขึ้นไป
2. ได้รับการแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกอง ประกอบด้วย ประธานกรรมการ และกรรมการอีกอย่างน้อย 2 คน โดยปกติแต่งตั้งจากข้าราชการตั้งแต่ระดับ 3 หรือเทียบเท่าขึ้นไป
3. ได้รับการแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรม ประกอบด้วย ประธานกรรมการ และกรรมการอีกอย่างน้อย 3 คน โดยปกติแต่งตั้งจากข้าราชการตั้งแต่ระดับ 3 หรือเทียบเท่าขึ้นไป
4. ได้รับการแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกอง ประกอบด้วย ประธานกรรมการ และกรรมการอีกอย่างน้อย 3 คน โดยปกติแต่งตั้งจากข้าราชการตั้งแต่ระดับ 3 หรือเทียบเท่าขึ้นไป
181. บัตรยืมหนังสือ ไม่มีรายละเอียดในเรื่องใด
1. ชื่อหนังสือ 2. ผู้ยืม - ผู้รับ
3. วันยืม - กำหนดส่งคืน 4. ผู้สั่งให้ส่งคืน - วันที่สั่งให้ส่งคืน
182. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2516 ประกาศ ณ วันที่
1. 1 มิถุนายน 2526 2. 11 มิถุนายน 2526 3. 1 เมษายน 2526 4. 11 เมษายน 2526
183. อธิบดีกรมตำรวจ ลงนามในหนังสือเวียน ปลัดกระทรวงมหาดไทยลงนามในหนังสือเวียน ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ ให้จัดสรรเงินงบประมาณในการก่อสร้างให้กับกรมตำรวจ หนังสือที่ ปลัดกระทรวงมหาดไทยลงนามข้อใด เป็นการใช้ส่วนราชการเจ้าของเรื่องที่ถูกที่สุด
1. สำนักงานนโยบายและแผนมหาดไทย 2. กองกลาง สำนักงานนโยบายและแผน
2. กรมตำรวจ สำนักงานนโยบายและแผน 4. กรมตำรวจ กองงบประมาณ
184. ให้ท่านเร่งหนังสือนิมนต์ สมเด็จพระญาณสังวร จะใช้คำขึ้นต้นและคำลงท้ายข้อใดถูก
1. คำขึ้นต้น กราบทูล สมเด็จพระญาณสังวร คำลงท้าย ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด
2. คำขึ้นต้น นมัสการ สมเด็จพระญาณสังวร คำลงท้าย ขอนมัสการด้วยความเคารพอย่างยิ่ง
3. คำขึ้นต้น นมัสการ สมเด็จพระญาณสังวร คำลงท้าย ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด
4. คำขึ้นต้น กราบทูล สมเด็จพระญาณสังวร คำลงท้าย ขอนมัสการด้วยความเคารพอย่างยิ่ง
185. การลงชื่อในหนังสือแบบที่ 1 ข้อใดถูกที่สุด
1. พันตำรวจเอกหญิง
(คุณหญิงสม ลูกเล็ก)
2. พันตำรวจเอกหม่อมหลวง
(เล็ก พึ่งบุญ ณ อยุธยา)
3. พันตำรวจเอก
(หม่อมหลวงใหญ่ ทองใหญ่ ณ อยุธยา)
4. พันตำรวจเอก
(หม่อมลูกปลา ยุคล)
186. สลก. ทำหนังสือให้ พล.ต.อ. จำลอง เอี่ยมแจ้งพันธ์ ผู้ช่วย อ.ตร. (ปป.2) ลงนามเรียน อ.ตร. ข้อใดเป็นการใช้ส่วนราชการเจ้าของเรื่องที่ถูกที่สุด
1. ส่วนราชการ สลก. โทร 2518966
ที่ 0501.31/123 วันที่ 20 กันยายน 2538
2. ส่วนราชการ สง. ผู้ช่วย อ.ตร. (ปป.2) โทร 2512345
3. ส่วนราชการ สลก. โทร 2518966
ที่ 0501.31/123 (ปป.2) / 123 วันที่ 10 กันยายน 2538
4. ส่วนราชการ สง. ผู้ช่วย อ.ตร. (ปป.2) โทร 2518666
ที่ 0501.31/789 วันที่ 10 กันยายน 2538
187. ประกาศ ณ วันที่ ใช้ในหนังสือประเภทใดบ้างที่ท่านเห็นว่าถูกที่สุด
1. คำสั่ง, ระเบียบ, ข้อบังคับ 2. ระเบียบ, ประกาศ, ข้อบังคับ
3. ระเบียบ, ประกาศ, แถลงการณ์ 4. คำสั่ง, ประกาศ, ข้อบังคับ
188. ข้อใดเป็นหนังสืออื่นตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสาร บรรณ พ.ศ. 2526
1. หนังสือที่ นาย ก. ร้องเรียน อ.ตร. 2. ฟิล์ม 3. โฉนด 4. แผนผังสถานที่เกิดเหตุ
189. การประทับระดับความเร่งด่วน อยู่ในตำแหน่งใดในทางปฏิบัติที่ท่านเห็นว่าถูกที่สุด
1. หนังสือภายนอก ประทับที่ด้านขวาของครุฑ
2. หนังสือภายใน ประทับด้านขวาของครุฑใต้ส่วนราชการเจ้าของเรื่อง
3. หนังสือประทับตรา ประทับเหนือเลขที่รหัสประจำส่วนราชการเจ้าของเรื่อง
4. หนังสือรับรอง ประทับด้านขวาของครุฑ
190. การปฏิบัติในการพิมพ์หนังสือราชการแต่ละครั้งเจ้าหน้าที่พิมพ์ด ีดจะปฏิบัติอย่างไรถึงจะถูกต้องตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่า ด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ข้อที่ 30
1. ต้นฉบับ 1 ฉบับ, สำเนาคู่ฉบับ 1 ฉบับ, สำเนาอย่างน้อย 1 ฉบับ
2. ต้นฉบับ 1 ฉบับ, สำเนาอย่างน้อย 2 ฉบับ
3. ต้นฉบับ 1 ฉบับ, สำเนาคู่ฉบับอย่างน้อย 2 ฉบับ
4. ต้นฉบับ 1 ฉบับ, สำเนา 21 ฉบับ
191. ถ้าท่านได้รับคำสั่งจากผู้บังคับบัญชาให้ทำลายบรรดาเอกสารลับที ่สุด และลับมากที่ยกเลิกแล้วและสำเนาที่เหลือใช้ ท่านจะใช้วิธีทำลายเอกสารเหล่านั้นอย่างไร
1. โดยการเผา หรือโดยวิธีการแปรรูปอย่างอื่น ๆ จนไม่สามารถทราบความลับในซากเอกสารนั้นได้
2. ฉีกให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ หรือ โดยวิธีแปรรูปอย่างอื่น ๆ จนไม่สามารถทราบความลับในซากเอกสารนั้นได้
3. เผาให้เป็นผง จนไม่สามารถทราบความลับในซากเอกสารนั้นได้
4. เผาแล้วขยี้ขี้เถ้าให้เป็นผงหรือด้วยวิธีแปรรูปอย่างอื่น ๆ จนไม่สามารถทราบความลับในซากเอกสารนั้นได้
192. ระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 ยึดถือหลักการทั่วไปตามแนวทางต่อไปนี้
1. ป้องกันการบ่อนทำลายอันจะเป็นผลกระทบกระเทือนต่อความสามัคคีหรื อความมั่นคงแห่งชาติ
2. การรักษาความปลอดภัยที่ดีขึ้น จะต้องไม่ให้มีจุดอ่อน ณ ที่ใดเลย
3. การรักษาความปลอดภัยนั้น จะต้องมีการสอดส่องและตรวจสอบมาตรการที่วางไว้เป็นประจำ
4. ที่กล่าวมาทุกข้อถูกต้องทั้งหมด
193. หากท่านได้รับการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ทะเบียนเอกสารลับและจะต้อง ส่งเอกสารลับที่สุดภายในส่วนราชการที่อยู่ในบริเวณเดียวกัน ท่านจะต้องใช้ใบปกเอกสารลับปิดทับเอกสารเพื่อป้องกันผู้อื่นลอบ ดูข้อความภายใน ในกรณีนี้ท่านจะต้องใช้ปกเอกสารลับ
1. สีแดง 2. สีเหลือง 3. สีน้ำเงิน 4. สีน้ำตาล
194. ในการประชุมออกข้อสอบ เพื่อบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการตำรวจชั้นประทวนและพลตำรวจเป็ฯน ายตำรวจชั้นสัญญาบัตรประจำปี 2538 โดยมี สกพ. เป็นหน่วยงานเจ้าของเรื่อง และ บช.ศ. เป็นเจ้าของสถานที่ (ห้องประชุม) ผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการรักษาความปลอดภัยในการประชุมซึ่ง ถือว่าเป็นการประชุมลับ ตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ. 2517 ได้แก่
1. ผู้บัญชาการสำนักงานกำลังพล
2. ผู้บัญชาการศึกษา
3. อธิบดีกรมตำรวจ
4. ผู้บัญชาการสำนักงานกำลังพล หรือผู้บังคับบัญชาการศึกษาคนใดคนหนึ่งตามแต่จะตกลงกัน
195. ในการประชุมคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ (ก.ตร.) ซึ่งเป็นการประชุมลับ ณ ห้องประชุม 2 กรมตำรวจ เลขานุการ ก.ตร. ในฐานะผู้จัดการประชุมมีความจำเป็นต้องแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน ควรจะดำเนินการแถลงข่าวอย่างไร เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517
1. เพื่อเลิกประชุมแล้วก็เชิญเข้าไปรับฟังการแถลงข่าว ณ ห้องประชุม 2 กรมตำรวจ
2. ตั้งสำนักงานแถลงข่าวนั้นโดยเฉพาะและควรอยู่นอกพื้นที่ที่มีการ รักษาความปลอดภัย
3. ใช้สถานที่ใดก็ได้ที่สะดวกสำหรับผู้สื่อข่าว
4. ไม่มีข้อใดถูก
196. ความมุ่งหมายของการปฏิบัติเมื่อเกิดการละเมิดการรักษาความปลอดภ ัย คือ
1. เพื่อลดความเสียหายให้น้อยที่สุด
2. ป้องกันมิให้เกิดการละเมิดการรักษาความปลอดภัยซ้ำอีก
3. ค้นหาข้อบกพร่อง สาเหตุ ผลเสียหาย เพื่อนำมาวิเคราะห์วิจัยในการปรับปรุงแก้ไขมาตรการรักษาความปลอ ดภัยให้รัดกุมยิ่งขึ้น
4. ถูกทุกข้อ
197. ผู้บังคับบัญชาเมื่อทราบว่าได้เกิดการละเมิดการรักษาความปลอดภั ยขึ้น ต้องดำเนินการอยางไร ดังต่อไปนี้
1. แจ้งให้ส่วนราชการเจ้าของเรื่องเดิมและหรือเจ้าของสถานที่หรือผ ู้ที่เกี่ยวข้องทราบ
2. สอบสวนเพื่อให้รู้ว่าใครเป็นผู้ละเมิดและพิจารณาแก้ไขข้อบกพร่อ ง
3. พิจารณาลงโทษบุคคลผู้ละเมิดและผู้รับผิดชอบ
4. ถูกทั้งข้อ 1,2 และ 3
198. อธิบดีชื่อ ก. ได้พ้นจากตำแหน่งไปแล้วเนื่องจากได้ลาออกไปสมัครการรับเลือกตั้ งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แต่ก็สอบตก ต่อมาได้ขอกลับเข้ารับราชการใหม่ในตำแหน่งที่มีหน้าที่เกี่ยวกั บความลับของทางราชการชั้นลับที่สุด หรือลับมากอีก อธิบดี ก. จะถูกดำเนินการอย่างไรในการตรวจสอบประวัติและพฤติการณ์
1. จะต้องดำเนินกรรมวิธีการตรวจสอบประวัติและพฤติการณ์ใหม่
2. ไม่ต้องดำเนินกรรมวิธีการตรวจสอบแต่อย่างใด เพราะเคยผ่านการตรวจสอบมาแล้วก่อนลาออก
3. จะตรวจสอบหรือไม่ตรวจสอบก็ได้ แล้วแต่ผู้บังคับบัญชาสูงสุดจะสั่งการ
4. ไม่มีคำตอบข้อใดถูก
199. ระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่
1. วันที่ 16 ธันวาคม 2517 2. วันที่ 17 ธันวาคม 2517
3. วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2518 4. วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2518
200. ชั้นความลับของทางราชการตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแ ห่งชาติ พ.ศ. 2517 นั้น แบ่งออกเป็นกี่ชั้น อะไรบ้าง
1. แบ่งออกเป็น 3 ชั้น ได้แก่ ลับที่สุด ลับมาก ลับ
2. แบ่งออกเป็น 3 ชั้น ได้แก่ ลับมาก ลับ ปกปิด
3. แบ่งออกเป็น 4 ชั้น ได้แก่ ลับที่สุด ลับมาก ลับ ปกปิด
4. แบ่งออกเป็น 4 ชั้น ได้แก่ ลับที่สุด ลับมาก ลับเฉพาะ ลับ
201. ตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 นั้น องค์การรักษาความปลอดภัย ได้แก่
1. ศูนย์รักษาความปลอดภัย สำนักผู้บัญชาการทหารสูงสุด
2. สำนักข่าวกรองแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี
3. สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
4. ถูกเฉพาะข้อ 1 และข้อ 2
202. ต่อไปนี้ข้อใดเป็นความลับของทางราชการ ชั้นลับมาก
1. การประกอบกำลัง การวางกำลับและการพัฒนากำลังเพื่อการสงคราม
2. รายงานพฤติการณ์ของบุคคลที่ไม่น่าไว้วางใจ
3. การสืบสวนประวัติและพฤติการณ์บุคคลเพื่อวัตถุประสงค์ในการมอบคว ามไว้วางใจ
4. เอกสารที่เกี่ยวกับการจัดหา การคัดเลือก การสอบ การบรรจุ การแต่งตั้ง การเลื่อนหรือลดตำแหน่ง การโยกย้าย ปลดหรือพิจารณาทัณฑ์บุคคล ซึ่งถ้าเปิดเผยก่อนเวลา อันสมควรจะเกิดความเสียหายต่อทางราชการ
203. การที่ทางราชการกำหนดให้มีการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับบุคคลนั ้น ทางราชการมีจุดมุ่งหมายดังนี้
1. เพื่อเลือกเฟ้น ตรวจสอบ ให้ได้บุคคลที่มีลักษณะเหมาะสมแก่การบรรจุเข้ารับราชการ
2. เพื่อเลือกเฟ้น ตรวจสอบ ให้ได้บุคคลที่มีลักษณะเหมาะสมแก่การปฏิบัติหน้าที่ราชการ
3. เพื่อกำหนดระดับความไว้วางใจในการมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่เกี่ ยวกับเอกสารลับ
4. ถูกทุกข้อ
204. คำว่าการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับเอกสาร ท่านมีความเข้าใจว่าคืออะไร
1. มาตราการที่กำหนดชั้นสำหรับปฏิบัติต่อเอกสารลับ เพื่อป้องกันมิให้บุคคลภายนอกได้ล่วงรู้หรือเข้าถึงเอกสารนั้น
2. มาตรการที่กำหนดชั้นสำหรับปฏิบัติต่อเอกสารลับ เพื่อป้องกันมิให้ผู้ไม่มีหน้าที่ได้ล่วงรู้หรือเข้าถึงเอกสารน ั้น
3. มาตรการที่กำหนดชั้นสำหรับปฏิบัติต่อเอกสารลับ เพื่อป้องกันมิให้ผู้ไม่มีอำนาจหน้าที่ได้ล่วงรู้หรือเข้าถึงเอ กสารนั้น
4. มาตรการที่กำหนดชั้นสำหรับปฏิบัติต่อเอกสารลับ เพื่อป้องกันมิให้ผู้ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องได้ล่วงรู้หรือเข้าถึง เอกสารนั้น
205. ระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 ผู้มีอำนาจกำหนดชั้น “ลับที่สุด” ได้แก่ ข้าราชการตั้งแต่ตำแหน่งหรือเทียบเท่าตำแหน่งดังต่อไปนี้ขึ้นไป
1. อธิบดี หัวหน้าคณะทูต ผู้ช่วยทูตฝ่ายต่างประเทศ ผู้บัญชาการตำรวจ
2. อธิบดี หัวหน้าคณะทูต ผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร ผู้บัญชาการตำรวจ
3. อธิบดี หัวหน้าคณะทูต ผู้ช่วยทูตต่างประเทศ ผู้บัญชาการทหาร
4. อธิบดี หัวหน้าคณะทูต ผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร ผู้บัญชาการทหาร
206. ข้อความที่ผู้รับไม่ต้องลงในการรับ-ส่ง หนังสือในสมุดส่งหนังสือ หรือรับหนังสือได้แก่
1. ยศ, ชื่อ, ชื่อสกุล ให้สามารถอ่านออกได้
2. ตำแหน่ง
3. สังกัด
4. สังกัดและตำแหน่งของผู้รับหนังสือนั้นให้สามารถอ่านออกได้
207. ระเบียบการใช้คำย่อในส่วนราชการตำรวจต่อไปนี้คำย่อใด เป็นคำย่อของตำแหน่งและส่วนราชการในกรมตำรวจ
1. ลก.ตร./, สกพ. 2. ด.ต., ผบ.มว.
3. กส., สบพ. 4. ว่าที่ ร.ต.ต.หญิง, บก. อก.
208. เมื่อท่านได้รับหนังือที่ “มท 0501/.........” ท่านทราบหรือไม่วาเลขสองตัวแรกหมายถึง
1. กรม 2. กอง 3. แผนก 4. งาน
209. การใช้รหัสพยัญชนะและเลขประจำหน่วยงานข้อใดถูกต้อง
1. หนังสือที่มีไปยังหน่วยงานภายในสังกัดกรมตำรจให้ใช้เลขประจำหน่ วยงานโดยไม่ต้องมีรหัส
พยัญชนะ “มท” นำหน้า เช้า “0601/....”
2. หนังสือที่มีไปถึงหน่วยงานภายนอกสังกัดกรมตำรวจให้ใช้รหัสพยัญช นะ “มท” นำหน้าตามด้วยเลขประจำหน่วยงานและหลังคำว่า “มท” ไม่ต้องมีจุดเพราะเป็นรหัสพยัญชนะไม่ใช่คำย่อ เช่น “มท 0601/......”
3. ถูกทั้งข้อ 1 และข้อ 2
4. ผิดทั้งข้อ 1 และข้อ 2
210. การส่งไปรษณีย์และพัสดุไปรษณีย์ไปยังไปรษณีย์สนามของทหารและตำร วจชายแดนผู้ส่งต้องปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับและกฎหมายว่าด้วย การไปรษณีย์ทุกประการ โดยเฉพาะการเข้าห่อซอง หรือหุ้มห่อขนาดและน้ำหนักต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของไปรษณีย์ภั ณฑ์และพัสดุไปรษณีย์แต่ละชนิดแล้วแต่กรณี สำหรับพัสดุไปรษณีย์ที่ส่งต้องมีน้ำหนักอย่างสูงไม่เกิน
1. 3 กิโลกรัม 2. 4 กิโลกรัม 3. 5 กิโลกรัม 4. 6 กิโลกรัม
211. วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้บริการไปรษณีย์สนามของทหารและตำรวจช ายแดนเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อตกลงของหน่วยงานใดกับหน่วยงานใด ดังต่อไปนี้
1. กระทรวงกลาโหม กับกระทรวงมหาดไทย 2. กรมไปรษณีย์โทรเลข กับกระทรวงกลาโหม
3. กรมตำรวจ กับกรมไปรษณีย์โทรเลข 4. กระทรวงกลาโหม กับการสื่อสารแห่งประเทศไทย
212. ข้อบังคับหรือคำสั่งของนายทะเบียนและเจ้าพนักงานจราจรนั้นต้องด ำเนินการอย่างไร
1. ไม่ต้องส่งไปประกาศในราชกิจจานุเบกษา แต่เมื่อออกข้อบังคับหรือคำสั่งและจะใช้ภายในเขต จว., อำเภอ และตำบลใดก็ให้กำหนดไว้ให้เป็นการแน่นอน
2. ใช้กระดาษขนาด เอ 4 เป็นแบบในการพิมพ์และไม่ต้องส่งไปประกาศในราชกิจจานุเบกษาก่อนจ ึงใช้บังคับ
3. ใช้กระดาษตราครุฑเป็นแบบในการพิมพ์และส่งไปประกาศในราชกิจจานุเ บกษาก่อนจึงใช้บังคับ
4. ใช้กระดาษบันทึกข้อความเป็นแบบในการพิมพ์และประกาศให้ราษฎรผู้ต ้องปฏิบัติตามข้อบังคับได้ทราบล่วงหน้าก่อนในระยะเวลาอันควร
213. แบบของบันทึกข้อความที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันมีกี่ขนาดและในแต่ล ะขนาดจะมีการกำหนดส่วนของความกว้างยาวไว้อย่างไรบ้าง
1. มี 2 ขนาด คือ ขนาดใหญ่ 210 x 279 มิลลิเมตร และขนาดเล็ก 184 x 210 มิลลิเมตร
2. มี 2 ขนาด คือ ขนาดใหญ่ 210 x 297 มิลลิเมตร และขนาดเล็ก 148 x 210 มิลลิเมตร
3. มี 2 ขนาด คือ ขนาดใหญ่ 210 x 296 มิลลิเมตร และขนาดเล็ก 147 x 210 มิลลิเมตร
4. มี 2 ขนาด คือ ขนาดใหญ่ 210 x 269 มิลลิเมตร และขนาดเล็ก 174 x 210 มิลลิเมตร
214. ข้อความที่กล่าวว่า “ข้อกำหนดที่ทางราชการได้วางไว้เพื่อให้ข้าราชการตำรวจได้ปฏิบั ติหน้าที่ราชการให้เป็นไปตามระเบียบแบบแผนการปกครอง และธรรมเนียมประเพณีของตำรวจเพื่อรักษาไว้ซึ่งวินัยของข้าราชกา ร” เป็นความหมายที่ปรากฎอยู่ในเรื่องอะไร
1. ระเบียบการตำรวจ 2. ประมวลระเบียบการตำรวจเกี่ยวกับคดี
3. วินัยของข้าราชการตำรวจ 4. ประมวลระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดี
215. ในการเขียนหรือพิมพ์นามบุคคล บริษัท ห้างร้านและสถานที่ของคนต่างด้าวเป็นตัวอักษรไทย หากใช้ตัวอักษรไม่ถูกต้องอาจจะเป็นสาเหตุซึ่งจะทำให้เกิดการเข้ าใจผิดได้ว่าเป็นคนละคนหรอืคนละแห่ง ดังนั้น ท่านจะมีวิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องอย่างไรกับเรื่องดังกล่าว
1. ให้เขียนเฉพาะนามของภาษานั้นกำกับไว้ด้วย
2. ให้ใช้กระดาษประทับที่แสดงถึงบุคคล บริษัท ห้างร้าน ดังกล่าวประทับแสดงกำกับไว้ด้วย
3. ให้เขียนนามหรือพิมพ์อักษรของภาษานั้นกำกับไว้ด้วย
4. ให้เขียนนามหรือพิมพ์อักษรของภาษานั้นเป็นภาษาไทยกำกับไว้ด้วย
216. การประมวลเรื่องเสนอกรมตำรวจกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับข้อกฎหมาย ระเบียบ หรือคำสั่งขึ้นหน่วยงานเจ้าของเรื่องมีวิธีปฏิบัติเช่นใดบ้างก่ อนที่จะประมวลเรื่องดังกล่าวเสนอกรมตำรวจพิจารณา สั่งการต่อไป
1. ส่งเรื่องนั้นไปให้หน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบพิจารณามีความ เห็ฯขึ้นมาเสียก่อน
2. ส่งเรื่องนั้นไปให้หน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบไปดำเนินการรว บรวมข้อกฎหมายระเบียบ คำสั่ง และเอกสารต่าง ๆ เสนอขึ้นไป
3. ให้หน่วยงานเจ้าของเรื่องดำเนินการนำเสนอผู้บังคับบัญชาพิจารณา ตามลำดับขั้นได้เลย
4. ให้หน่วยงานเจ้าของเรื่องรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องแล้วนำเสนอก รมตำรวจพิจารณาสั่งการต่อไป
217. สำหรับเรื่องการลงความเห็นของเจ้าหน้าที่ที่ปกติให้ใช้บันทึกฉบ ับเดียว ถ้าเป็นข้อความสั้น ๆ ก็ควรที่จะใช้วิธีการเขียน แต่ถ้าเป็นข้อความที่ยาวมากก็ให้ใช้วิธีการพิมพ์ดีดแทน และเมื่อพิมพ์ไปตลอดหน้าแล้วยังไม่หมดข้อความ หากท่านเป็นเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติจะต้องดำเนินการอย่างไร
1. ให้ตัดข้อความที่ไม่สำคัญออกไปเพื่อให้เนื้อความของความเห็นอยู ่ในหน้าเดียวกัน
2. ให้ใช้กระดาษแผ่นเดิมพิมพ์ต่อไปโดยวิธีการพับกระดาษมาครึ่งแผ่น แล้วพิมพ์เฉพาะส่วนที่พับด้านหลัง
3. ให้ใช้กระดาษสำเนาพิมพ์เพียงครึ่งหน้าส่วนที่เหลือไว้สำหรับให้ ผู้บังคับบัญชาเขียนความเห็น
4. ให้ใช้กระดาษสำเนาพิมพ์เต็มทั้งหน้าในหน้าต่อไปจนหมดข้อความ
218. ตามระเบียบงานสารบรรณในหน้าที่ตำรวจข้อใดกล่าวไว้ถูกต้อง
1. การเสนองานของหน่วยงานที่มีที่ตั้งอยู่นอกเขตกรุงเทพมหานครไปยั งกรมตำรวจนั้น ให้จัดเจ้าหน้าที่ ตำรวจนำงานไปเสนออธิบดีกรมตำรวจที่สำนักงานโดยตรง
2. การเสนองานนั้นผู้เสนอจะต้องเสนอต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับขั้น หรือตามสายการบังคับบัญชาเท่านั้น จะปฏิบัติอื่นไม่ได้เด็ดขาด
3. หน่วยงานที่มีที่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ได้จัดเจ้าหน้าที่เสนองานนำงานเสนอที่สำนักงานเลขานุการกรมตำรว จเป็นประจำเพื่อนำเสนอกรมตำรวจให้ต่อไปและให้รับงานต่าง ๆ ที่กรมตำรวจสั่งการถึงหน่วยและสำนักเลขานุการกรมตำรวจจัดแยกไปย ังหน่วยของตนกลับไปด้วย
4. การเสนองานของหน่วยไปยังกระทรวงมหาดไทย ให้หน่วยงานนั้น ๆ เสนอตรงไปกระทรวงหมาดไทย โดยไม่ต้องเสนอผ่านกรมตำรวจ
219. หนังสือทุกชนิดที่มีถึงกรมตำรวจโดยหนังสือนั้นจ่าหน้าซองระบุตำ แหน่งอธิบดีกรมตำรวจ รองอธิบดีกรมตำรวจหรือผู้ช่วยอธิบดีกรมตำรวจหรือระบุส่วนราชการ กรมตำรวจ ถ้าท่านเป็นเจ้าหน้าที่งานสารบรรณของสำนักงานเลขานุการกรมตำรวจ ท่านจะปฏิบัติต่อหนังสือนั้นอย่างไร
1. ประทับตรารับหนังสือของกรมตำรวจที่หน้าซองนั้น โดยไม่ต้องเปิดผนึกแล้วนำเสนออธิบดีกรมตำรวจ รองอธิบดีกรมตำรวจ หรือผู้ช่วยอธิบดีกรมตำรวจ เพื่อสั่งการให้หน่วยเกี่ยวข้องปฏิบัติต่อไป
2. จัดแยกหนังสือนั้นไปให้กองบัญชาการหรือหน่วยขึ้นตรงต่อกรมตำรวจ หรือหน่วยเทียบเท่าที่มีหน้าที่ตามระเบียบการตำรวจว่าด้วยการกำ หนดหน้าที่การงานในราชการกรมตำรวจ โดยไม่ต้องนำเสนออธิบดีกรมตำรวจ รองอธิบดีกรมตำรวจหรือผู้ช่วยอธิบดีกรมตำรวจ สั่งการก่อนแต่อย่างใด
3. เปิดผนึกประทับตรารับหนังสือ และลงทะเบียนของกรมตำรวจที่หนังสือนนั้นทางมุมบนด้านขวาแล้วนำเ สนออธิบดีกรมตำรวจ รองอธิบดีกรมตำรวจ หรือผู้ช่วยอธิบดีกรมตำรวจเพื่อสั่งการให้หน่วยปฏิบัติทุกเรื่อ งไป
4. ไม่มีข้อถูก
สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลยในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 
ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
0000000000
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

กรุณาใช้ข้อความที่สุภาพ คุณสามารถบันทึกฉบับร่างได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้