ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : เจ้าพนักงานปกครองปฎิบัติการ (ปลัดอำเภอ) พ.ศ.2555
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

เจ้าพนักงานปกครองปฎิบัติการ (ปลัดอำเภอ) พ.ศ.2555

แชร์กระทู้นี้

1. พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 ให้ไว้เมื่อใด  

 ก. วันที่ 24 กรกฎาคม 2534 ข. วันที่ 24 สิงหาคม 2534

 ค. วันที่ 26  กันยายน 2534 ง. วันที่ 10 ตุลาคม 2534 

 จ. วันที่ 14 พฤศจิกายน 2534 

2. พระราชบัญญัติ การทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534ให้ไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของใคร 

 ก. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ข. สภาผู้แทนราษฏร

 ค. วุฒิสภา  ง. รัฐสภา 

 จ. นายกรัฐมนตรี  

3. พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดกี่วันนับแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา 

 นุเบกษา เป็นต้นไป 

 ก. 60 วัน  ข. 90 วัน

 ค. 120 วัน  ง. 180 วัน 

 จ. 45 วัน 

4. ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 การทะเบียนราษฎร หมายถึงข้อใดถูกต้อง

 ก. งานทะเบียนต่างๆ ตามพระราชบัญญัตินี้ รวมทั้งการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร 

 ข. ข้อมูลตัวบุคคลเกี่ยวกับ ชื่อ ชื่อสกุล เพศ วันเดือนปีเกิดและตาย สัญชาติ ศาสนา ภูมิลำเนา สถานการณ์สมรส 

 ค. เลขประจำตัวประชาชนที่นายทะเบียนออกให้แก่บุคคล 

 ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข 

 จ. ถูกทุกข้อ 

5. ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 ข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร หมายถึงข้อใดถูกต้อง 

 ก. ข้อมูลตัวบุคคลเกี่ยวกับ ชื่อ ชื่อสกุล เพศ ข. วันเดือนปีเกิดและตาย สัญชาติ ศาสนา 

 ค. ภูมิลำเนา สถานะการสมรส วุฒิการศึกษา 

 ง. ชื่อบิดามารดาหรือผู้รับบุตรบุญธรรม ชื่อคู่สมรส และชื่อบุตร และข้อมูลอื่นที่จำเป็นเพื่อการดำเนินงานทะเบียนต่างๆ 

 จ. ถูกทุกข้อ 

6. ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 เลขประจำตัว หมายถึงข้อใดถูกต้อง 

 ก.  เลขประจำตัวประชาชนที่นายทะเบียนออกให้แก่บุคคลแต่ละคน 

 ข. เลขที่ออกให้ในวันเกิดตามสูติบัตร ค. เลขที่ออกให้เพื่อยืนยันตัวบุคคลได้จริง 

 ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ค จ. ถูกทุกข้อ 

7. ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534  บ้าน หมายถึงข้อใดถูกต้อง

 ก. โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างสำหรับใช้เป็นที่อยู่อาศัย ซึ่งมีเจ้าบ้านครอบครอง 

 ข. แพ 

 ค. โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างสำหรับใช้เป็นที่อยู่อาศัย 

 ง. สถานที่ หรือยานพาหนะอื่นซึ่งใช้เป็นที่อยู่อาศัยประจำ 

 จ. ถูกทุกข้อ 

8. ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534  ทะเบียนบ้าน หมายถึงข้อใดถูกต้อง

 ก. ทะเบียนประจำบ้านแต่ละบ้านซึ่งแสดงเลขประจำบ้าน ข. รายการของคนทั้งหมดผู้อยู่ในบ้าน 

 ค. ทะเบียนประวัติบุคคลที่อยู่ในบ้าน ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข 

 จ. ถูกทุกข้อ 

9. ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 ทะเบียนคนเกิด หมายถึงข้อใดถูกต้อง 

 ก. ทะเบียนซึ่งแสดงรายการคนเกิด 

 ข. ทะเบียนซึ่งผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนดให้จัดทำขึ้นสำหรับลงรายการบุคคลที่ไม่อาจมีชื่อในทะเบียนบ้าน 

 ค. รายการของคนทั้งหมดผู้อยู่ในบ้าน 

 ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ค 

 จ. ถูกทุกข้อ 

10. ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 ทะเบียนคนตาย หมายถึงข้อใดถูกต้อง 

 ก. ทะเบียนซึ่งแสดงรายการคนตาย

 ข. ทะเบียนซึ่งผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนดให้จัดทำขึ้นสำหรับลงรายการบุคคลที่ไม่อาจมีชื่อในทะเบียนบ้าน 

 ค. รายการของคนทั้งหมดผู้อยู่ในบ้าน 

 ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ค 

 จ. ถูกทุกข้อ 

11. ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 ทะเบียนบ้านกลาง หมายถึงข้อใดถูกต้อง 

 ก. ทะเบียนซึ่งแสดงรายการคนตาย

 ข. ทะเบียนซึ่งผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนดให้จัดทำขึ้นสำหรับลงรายการบุคคลที่ไม่อาจมีชื่อในทะเบียนบ้าน 

 ค. รายการของคนทั้งหมดผู้อยู่ในบ้าน 

 ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ค 

 จ. ถูกทุกข้อ 

12. ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 เจ้าบ้าน หมายถึงข้อใดถูกต้อง 

 ก. ซึ่งเป็นหัวหน้าครอบครองบ้านในฐานะเป็นเจ้าของ ข. ผู้เช่าบ้าน 

 ค. ในกรณีที่ไม่ปรากฏเจ้าบ้าน หรือเจ้าบ้านไม่อยู่ ผู้มีหน้าที่ดูแลบ้านในขณะนั้นเป็นเจ้าบ้าน 

 ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข 

 จ. ถูกทุกข้อ 

13. ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 นายทะเบียน หมายถึงข้อใดถูกต้อง

 ก. นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนกลาง ข. นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนอำเภอ 

 ค. นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนท้องถิ่น 

 ง. นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนสาขา นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนเฉพาะกิจ และนายทะเบียนผู้รับแจ้ง 

 จ. ถูกทุกข้อ 

14. ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 นายทะเบียนผู้รับแจ้ง หมายถึงข้อใดถูกต้อง

 ก. นายทะเบียนอำเภอ  ข.นายทะเบียนท้องถิ่น 

 ค.ผู้ซึ่งผู้อำนวยการทะเบียนกลางได้กำหนดให้มีหน้าที่เกี่ยวกับการแจ้งการเกิด การตาย การย้ายที่อยู่ การสร้างบ้านใหม่ 

  การรื้อบ้าน และการกำหนดเลขประจำบ้านนายทะเบียนอำเภอ นายทะเบียนท้องถิ่น และผู้ซึ่งผู้อำนวยการทะเบียน 

 กลางได้กำหนดให้มีหน้าที่เกี่ยวกับการแจ้งการเกิด การตาย การย้ายที่อยู่ การสร้างบ้านใหม่ การรื้อบ้าน และ 

 การกำหนดเลขประจำบ้าน 

 ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข 

 จ. ถูกทุกข้อ 

15. ใครมีอำนาจออกกฎกระทรวงกำหนดหรือยกเว้นการปฏิบัติเกี่ยวกับการแจ้งการเกิด การแจ้งการตาย การแจ้งการย้าย 

  ที่อยู่ การสำรวจตรวจสอบหรือปรับปรุงการทะเบียนราษฎร การจัดทำทะเบียนประวัติ การจัดทำบัตรประจำตัวหรือ 

 การอื่นใดอันเกี่ยวกับคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยตามกฎหมายที่เกี่ยวด้วยสัญชาติได้ 

 ก. ผู้ว่าราชการจังหวัด ข. อธิบดีกรมการปกครอง 

 ค. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 

 จ. ไม่มีข้อไดถูก 

16.ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 ใครรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจแต่งตั้งพนักงาน 

 เจ้าหน้าที่กับออกกฎกระทรวงกำหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราท้ายพระราชบัญญัตินี้ 

 ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ 

 ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข 

 จ. ถูกทุกข้อ 

17. ข้อใดเป็นนายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนกลาง 

 ก.ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง ข. รองผู้อำนวยการทะเบียนกลาง 

 ค. ผู้ช่วยผู้อำนวยการทะเบียนกลาง ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข 

 จ. ถูกทุกข้อ 

18. นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนกลางมีหน้าที่ ข้อใดถูกต้อง

 ก. รับผิดชอบและควบคุมการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎรทั่วราชอาณาจักร 

 ข. รับผิดชอบและควบคุมการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎรในเขตกรุงเทพมหานคร 

 ค. รับผิดชอบและควบคุมการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎรทุกจังหวัด 

 ง. รับผิดชอบและควบคุมการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎรทุกอำเภอ 

 จ. ถูกทุกข้อ 

19. ให้ใครเป็นผู้อำนวยการทะเบียนกลาง 

 ก. อธิบดีกรมการปกครอง . ปลัดกระทรวงมหาดไทย 

 ค. ผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัด ง. นายอำเภอทุกอำเภอ 

 จ. ถูกทุกข้อ 

20. ใครเป็นนายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนกรุงเทพมหานคร 

 ก. นายทะเบียนกรุงเทพมหานคร ข. ผู้ช่วยนายทะเบียนกรุงเทพมหานคร

 ค. รองผู้อำนวยการทะเบียนกรุงเทพมหานคร ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข 

 จ. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ค

21. ใครเป็นนายทะเบียนกรุงเทพมหานคร 

 ก. ปลัดกรุงเทพมหานคร ข. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 

 ค. รองปลัดกรุงเทพมหานคร ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข 

 ง. ถูกทุกข้อ 

22. ใครเป็นนายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนจังหวัด มีหน้าที่รับผิดชอบและควบคุมการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎร 

 ในเขตจังหวัด 

 ก. นายทะเบียนจังหวัด ข. ผู้ช่วยนายทะเบียนจังหวัด 

 ค. จ่าจังหวัด ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข 

 จ. ถูกทุกข้อ 

23. ใครเป็นนายทะเบียนจังหวัด 

 ก. ผู้ว่าราชการจังหวัด ข. รองผู้ว่าราชการจังหวัด 

 ค. ปลัดจังหวัด ง. จ่าจังหวัด 

 จ. เสมียนตราจังหวัด 

24. ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นนายทะเบียนจังหวัด และอาจมอบอำนาจให้ใครปฏิบัติราชการแทนนายทะเบียนจังหวัดได้ 

 ก. รองผู้ว่าราชการจังหวัด ข. ปลัดจังหวัด 

 ค. จ่าจังหวัด ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข 

 จ. ถูกทุกข้อ 

25. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับนายทะเบียนจังหวัด 

 ก. ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นนายทะเบียนจังหวัด 

 ข. ผู้ว่าราชการจังหวัดอาจมอบอำนาจให้รองผู้ว่าราชการจังหวัดปฏิบัติราชการแทนนายทะเบียนจังหวัดได้ 

 ค. ผู้ว่าราชการจังหวัดอาจมอบอำนาจให้ปลัดจังหวัดปฏิบัติราชการแทนนายทะเบียนจังหวัดได้ 

 ง. ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำนาจแต่งตั้งผู้ช่วยนายทะเบียนจังหวัด 

 จ. ถูกทุกข้อ

26. ใครเป็นนายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนอำเภอ 

 ก. นายทะเบียนอำเภอ ข. ผู้ช่วยนายทะเบียนอำเภอ 

 ค. ปลัดอำเภอ ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข 

 จ. ถูกทุกข้อ 

27. ใครเป็นนายทะเบียนอำเภอ 

 ก. นายอำเภอ ข. ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ 

 ค. ปลัดหัวหน้ากลุ่มงานบริหารปกครอง ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข 

 จ. ถูกทุกข้อ 

28. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับนายทะเบียนอำเภอ 

 ก. นายอำเภอเป็นนายทะเบียนอำเภอ 

 ข. ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอเป็นนายทะเบียนอำเภอ

 ค. ให้นายอำเภอหรือปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอเป็นนายทะเบียนอำเภอ 

  และอาจมอบอำนาจให้ปลัดอำเภอคนใดคนหนึ่งปฏิบัติราชการแทนนายทะเบียนอำเภอได้ 

 ง. นายอำเภอหรือปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ อำนาจแต่งตั้งผู้ช่วยนายทะเบียนอำเภอ 

 จ. ถูกทุกข้อ 

29. ใครเป็นนายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนท้องถิ่น มีหน้าที่รับผิดชอบและควบคุมการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎร 

 ในเขตปกครองท้องถิ่นนั้นๆ 

 ก. นายทะเบียนท้องถิ่น ข. ผู้ช่วยนายทะเบียนท้องถิ่น 

 ค. เจ้าพนักงานธุรการที่อยู่ในสำนักทะเบียนท้องถิ่น ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข 

 จ. ถูกทุกข้อ 

30. ปลัดเทศบาล ผู้อำนวยการเขต ปลัดเมืองพัทยาหรือหัวหน้าผู้บริหารของหน่วยการปกครองท้องถิ่น เป็นนายทะเบียน 

 ท้องถิ่น และอาจมอบอำนาจให้ใคร ปฏิบัติราชการแทนนายทะเบียนท้องถิ่นได้ 

 ก. รองปลัดเทศบาล ข. ผู้ช่วยผู้อำนวยการเขต 

 ค. รองปลัดเมืองพัทยา ง. ผู้ช่วยหัวหน้าผู้บริหารของหน่วยการปกครองท้องถิ่น

 จ. ถูกทุกข้อ 

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบปลัดอำเภอ  ใหม่ล่าสุด
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ รวมแนวข้อสอบเก่าเด็ดๆๆ  และข้อสอบที่ออกบ่อยมาก 
ชุดที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการปฎิบัตราชการ

- การจัดการความรู้กับการบริหารราชการแนวใหม่
- แนวข้อสอบสภาพแวดล้อมและเหตุการณ์ปัจจุบัน การเมือง สังคม เศรษฐกิจ ของไทยและต่างประเทศ

- แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
- แนวข้อสอบ พรบ. ระเบียบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไข 2550
- แนวข้อสอบ พ.ร.ก ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
- แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550
- แนวข้อสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน  พ.ศ. 2551

ชุดที่ 2 รวมแนวข้อสอบเก่า เตรียมสอบปลัดอำเภอ

- ตัวอย่างคำถาม แนวข้อสอบปลัดอำเภอ

- เตรียมสอบปลัดอำเภอ
- แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมการปกครอง

- แนวข้อสอบปลัดอำเภอ ปี 2551
- แนวทางการเตรียมสอบปลัดอำเภอ

- แนะแนวการสอบปลัดอำเภอ

- รวบรวม ถาม-ตอบ  เกี่ยวกับข้อสอบปลัดอำเภอ

ชุดที่ 3 กฎหมายทั่วไป

- แนวข้อสอบกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
- แนวข้อสอบกฎหมายอาญา 
- แนวข้อสอบวิธีพิจารณาความแพ่ง
- แนวข้อสอบกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

- แนวข้อสอบ พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539

- แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม

- แนวข้อสอบระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544

- แนวข้อสอบความรู้เกี่ยวกับการเงินและการงานคลัง


ชุด 4 ความรู้ความเข้าใจในภารกิจของกรมการปกครอง
 -โครงสร้าง อำนาจหน้าที่และภารกิจของกรมการปกครอง
- หน้าที่และอำนาจของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน
- แนวข้อสอบการปกครองท้องที่
- แนวข้อสอบงานทะเบียนราษฎร
- พระราชบัญญัติ บัตรประจำตัวประชาชน (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2554
- แนวข้อสอบงานบัตรประจำตัวประชาชน

- แนวข้อสอบ พรบ.อาวุธปืน เครื่องกระสุน วัตถุระเบิด

- แนวข้อสอบพระราชบัญญัติ การพนัน

- แนวข้อสอบพระราชบัญญัติ ควบคุมการเรี่ยไร

- แนวข้อสอบพระราชบัญญัติควบคุมการขายทอดตลาดและค้าของเก่า
- แนวข้อสอบพระราชบัญญัติโรงรับจำนำ
- แนวข้อสอบพระราชบัญญัติ สถานบริการ

- แนวข้อสอบพระราชบัญญัติโรงแรม 
- แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมการปกครอง
- แนวข้อสอบบังคับ มท ประนอมข้อพิพาท

สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 
ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

 

 

 

 

 

 

 

 

 

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
1.พระราชบัญญัติ ควบคุมการเรี่ยไร พุทธศักราช 2487ตราไว้ เมื่อใด
    ก. 31 กันยายน 2487    ข. 11 มกราคม 2487
    ค. 16 มิถุนายน 2487    ง. 16 สิงหาคม 2487
    จ. 16 ธันวาคม 2487
2. พระราชบัญญัติ ควบคุมการเรี่ยไร พุทธศักราช 2487 ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้เมื่อใด
    ก. นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
    ข. เมื่อพ้นกำหนด 30 วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
    ค. เมื่อพ้นกำหนด 45 วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
    ง. เมื่อพ้นกำหนด 60 วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
    จ. เมื่อพ้นกำหนด 90 วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
3. เกี่ยวกับการเรี่ยไร หมายถึง ข้อใดถูกต้อง
    ก. การซื้อขาย ซึ่งมีการแสดงโดยตรงหรือโดยปริยาย ว่ามิใช่เป็นการซื้อขาย ธรรมดา แต่เพื่อรวบรวมทรัพย์สิน
       ที่ได้มาทั้งหมดหรือบางส่วนไปใช้ในกิจการอย่างใดอย่างหนึ่งนั้นด้วย
    ข. แลกเปลี่ยน ซึ่งมีการแสดงโดยตรงหรือโดยปริยาย ว่ามิใช่เป็นแลกเปลี่ยนธรรมดา แต่เพื่อรวบรวมทรัพย์สิน
       ที่ได้มาทั้งหมดหรือบางส่วนไปใช้ในกิจการอย่างใดอย่างหนึ่งนั้นด้วย
    ค. ชดใช้ ซึ่งมีการแสดงโดยตรงหรือโดยปริยาย ว่ามิใช่เป็นชดใช้ธรรมดา แต่เพื่อรวบรวมทรัพย์สิน
       ที่ได้มาทั้งหมดหรือบางส่วนไปใช้ในกิจการอย่างใดอย่างหนึ่งนั้นด้วย
    ง. บริการซึ่งมีการแสดงโดยตรงหรือโดยปริยาย ว่ามิใช่เป็นบริการธรรมดา แต่เพื่อรวบรวมทรัพย์สิน
       ที่ได้มาทั้งหมดหรือบางส่วนไปใช้ในกิจการอย่างใดอย่างหนึ่งนั้นด้วย
    จ. ถูกทุกข้อ
4. ข้อห้ามของการเรี่ยไรหรือทำการเรี่ยไร ข้อใดถูกต้อง
    ก. การเรี่ยไรเพื่อรวบรวมทรัพย์สินมาให้หรือชดใช้แก่จำเลย เพื่อใช้เป็นค่าปรับ เว้นแต่จะเป็นการเรี่ยไรในระหว่าง
       วงศ์ญาติของจำเลย หรือการเรี่ยไรโดยกำหนดเก็บเงินหรือทรัพย์สินอย่างอื่นเป็นอัตราโดยคำนวณตามเกณฑ์
       ปริมาณสินค้า ผลประโยชน์ หรือวัตถุอย่างอื่น
    ข. การเรี่ยไรอันอาจเป็นเหตุให้เสื่อมทรามแก่ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
    ค. การเรี่ยไรอันอาจเป็นเหตุกระทบกระเทือนอย่างรุนแรงถึงทางสัมพันธไมตรีกับต่างประเทศ หรือ
    ง. การเรี่ยไรเพื่อจัดหายุทธภัณฑ์ให้แก่ต่างประเทศ
    จ. ถูกทุกข้อ
5. ข้อใดเป็นคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไร
    ก. ปลัดกระทรวงมหาดไทย    
    ข. ผู้แทนกระทรวงกลาโหมหนึ่งคน ผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการหนึ่งคน
    ค. ผู้แทนกระทรวงการสาธารณสุขหนึ่งคน ผู้แทนกระทรวงการคลังหนึ่งคน
    ง. ผู้แทนกรมตำรวจหนึ่งคน และผู้แทนกรมมหาดไทยหนึ่งคน
    จ. ถูกทุกข้อ
6. ประธานโดยตำแหน่งของคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไร คือ
    ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย    ข. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
    ค. อธิบดีกรมการปกครอง    ง. ผู้ว่าราชการจังหวัด
    จ. นายกรัฐมนตรี
7. กรรมการควบคุมการเรี่ยไร ต้องมาประชุมไม่น้อยกว่ากี่คนจึงครบองค์ประชุม
    ก. 3 คน            ข. 4 คน
    ค. 5 คน            ง. 7 คน
    จ. 9 คน
8. การเรี่ยไรข้อใดจะจัดให้มีหรือทำได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่แล้ว
    ก. การเรี่ยไรในถนนหลวงหรือในที่สาธารณะ     ข. การเรี่ยไรโดยโฆษณาด้วยสิ่งพิมพ์
    ค. การเรี่ยไรด้วยวิทยุกระจายเสียง    ง. การเรี่ยไรด้วยเครื่องเปล่งเสียง
    จ. ถูกทุกข้อ
9. การเรี่ยไรข้อใดจะจัดให้มีหรือทำได้โดยไม่ต้องได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่
    ก. การเรี่ยไรเพื่อกุศลสงเคราะห์ในโอกาสที่บุคคลชุมนุมกันประกอบศาสนกิจ
    ข. การเรี่ยไรโดยขายสิ่งของในงานออกร้าน หรือในที่นัดประชุมเฉพาะแห่งอันได้จัดให้ขึ้นโดยชอบด้วยกฎหมาย
       ซึ่งผู้ได้รับอนุญาตให้มีการออกร้าน หรือผู้จัดให้มีการนัดประชุมเป็นผู้จัดให้มีขึ้น
    ค. การเรี่ยไรด้วยวิทยุกระจายเสียง
    ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข
    จ. ถูกทุกข้อ
10. คณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรมีอำนาจสั่งไม่อนุญาต หรือสั่งอนุญาตโดยกำหนดเงื่อนไข ข้อใดถูกต้อง
    ก. จำนวนเงินหรือทรัพย์สินอื่นอย่างสูงที่ให้เรี่ยไรได้     ข. เขตหรือสถานที่และเวลาที่อนุญาตให้ทำการเรี่ยไร
    ค. วิธีการเก็บรักษาและทำบัญชีเงิน หรือทรัพย์สินที่เรี่ยไรได้    ง. วิธีทำการเรี่ยไร
    จ. ถูกทุกข้อ
11. ถ้าสั่งไม่อนุญาตให้ทำการเรี่ยไรให้พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งและแสดงเหตุผลให้ผู้ขออนุญาตทราบภายในกำหนดกี่วัน
    นับแต่วันได้รับคำร้องขอ
    ก. 3 วัน            ข. 4 วัน
    ค. 5 วัน            ง. 7 วัน
    จ. 10 วัน
12. ในกรณีที่สั่งไม่อนุญาตให้ทำการเรี่ยไร ผู้ขออนุญาตมีสิทธิยื่นอุทธรณ์คำสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ภายในกำหนด
     กี่วัน นับแต่วันได้ทราบคำสั่งไม่อนุญาต การยื่นอุทธรณ์ในจังหวัดพระนครและธนบุรีให้ยื่นต่อคณะกรรมการ
    ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งขึ้น ในจังหวัดอื่นให้ยื่นต่อคณะกรมการจังหวัด คำชี้ขาดของคณะกรรมการ หรือคณะกรมการ
    จังหวัดแล้วแต่กรณีให้เป็นที่สุด
    ก. 15 วัน            ข. 4 วัน
    ค. 5 วัน            ง. 7 วัน
    จ. 10 วัน
13. ห้ามมิให้อนุญาตให้บุคคลอายุต่ำกว่ากี่ปี ทำการเรี่ยไร
    ก. 14 ปี            ข. 15 ปี
    ค. 16 ปี            ง. 17 ปี
    จ. ถูกทุกข้อ
14. ห้ามมิให้อนุญาตให้บุคคลใดบ้าง ทำการเรี่ยไร
    ก. บุคคลผู้มีจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ผู้ไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ
    ข. บุคคลเป็นโรคติดต่อที่น่ารังเกียจ
    ค. บุคคลผู้เคยต้องโทษฐาน ลักทรัพย์ วิ่งราวทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ โจรสลัด กรรโชก ฉ้อโกง ยักยอกทรัพย์
        รับของโจรหรือทุจริตต่อหน้าที่ตามกฎหมายลักษณะอาญา และพ้นโทษมาแล้วยังไม่ครบห้าปี
    ง. บุคคลที่พนักงานเจ้าหน้าที่เห็นว่ามีความประพฤติหรือหลักฐานไม่น่าไว้ใจ
    จ. ถูกทุกข้อ
15. บุคคลผู้เคยต้องโทษฐาน ลักทรัพย์ วิ่งราวทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ โจรสลัด กรรโชก ฉ้อโกง ยักยอกทรัพย์
     รับของโจรหรือทุจริตต่อหน้าที่ตามกฎหมายลักษณะอาญา และพ้นโทษมาแล้วยังไม่ครบกี่ปี ห้ามทำการเรี่ยไร
    ก. 2 ปี            ข. 3 ปี
    ค. 5 ปี            ง. 7 ปี
    จ. 10 ปี
16. ข้อใดผิดเกี่ยวกับการเรี่ยไร
    ก. บุคคลผู้ได้รับอนุญาตให้ทำการเรี่ยไรต้องมีใบอนุญาตติดตัวอยู่ในขณะทำการเรี่ยไร และต้องให้เจ้าหน้าที่หรือบุคคล
        ผู้ประสงค์จะเข้าส่วนในการเรี่ยไรตรวจดู เมื่อเจ้าหน้าที่หรือบุคคลนั้นเรียกร้อง
    ข. ในกรณีการเรี่ยไรซึ่งได้รับอนุญาตให้จัดทำประจำที่ ผู้รับอนุญาตต้องแสดงใบอนุญาตไว้ ณ ที่ทำการเรี่ยไรให้เห็นได้
        โดยชัดเจน
    ค. ในการรับเงินหรือทรัพย์สินที่เรี่ยไรได้ ต้องออกใบรับให้แก่ผู้บริจาคกับมีต้นขั้วใบรับไว้เป็นหลักฐาน และให้ผู้จัดให้มี
       การเรี่ยไรประกาศยอดรับและจ่ายเงินและทรัพย์สินให้ประชาชนทราบเป็นครั้งคราวตามสมควร และเมื่อได้จ่ายเงิน
       หรือทรัพย์สินนั้นหมดไปแล้ว ให้ประกาศยอดบัญชีอีกครั้งหนึ่ง
    ง. ห้ามมิให้จ่ายเงินหรือทรัพย์สินที่เรี่ยไรได้มานั้นในกิจการอย่างอื่นนอกวัตถุประสงค์แห่งการเรี่ยไรตามที่ได้แสดงไว้
       เว้นแต่จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายพอสมควรในการเรี่ยไรนั้นเอง
    จ. ไม่มีข้อใดผิด
17. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการเรี่ยไร
    ก. เงินหรือทรัพย์สินที่เรี่ยไรได้มานั้น ถ้าไม่ต้องจ่ายเพราะไม่อาจดำเนินการตามวัตถุประสงค์แห่งการเรี่ยไรตามที่
       ได้แสดงไว้ หรือเหลือจ่ายเพราะเหตุใดๆ ให้ผู้จัดให้มีการเรี่ยไรรายงานให้คณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไร หรือ
       พนักงานเจ้าหน้าที่แล้วแต่กรณีทราบ และให้คณะกรรมการหรือพนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจสั่งให้ส่งเงินหรือทรัพย์สิน
       ดังกล่าวแล้วไปประกอบการกุศลหรือสาธารณประโยชน์อย่างหนึ่งอย่างใดตามแต่เห็นควร
    ข. ในการเรี่ยไรห้ามมิให้วิธีการใดๆ ซึ่งเป็นการบังคับผู้ถูกเรี่ยไรโดยตรงหรือโดยปริยาย หรือซึ่งจะทำให้
       ผู้ถูกเรี่ยไรเกิดความหวาดหวั่นหรือเกรงกลัว
    ค. ในการเรี่ยไรห้ามมิให้ใช้ถ้อยคำใดๆ ซึ่งเป็นการบังคับผู้ถูกเรี่ยไรโดยตรงหรือโดยปริยาย หรือซึ่งจะทำให้
       ผู้ถูกเรี่ยไรเกิดความหวาดหวั่นหรือเกรงกลัว
    ง. ถูกทั้ง ข้อ ก แล ข้อ ข
    จ. ถูกทุกข้อ
18.  ห้ามมิให้จัดให้มีการเรี่ยไรหรือทำการเรี่ยไรการเรี่ยไรเพื่อรวบรวมทรัพย์สินมาให้หรือชดใช้แก่จำเลย หรือ การเรี่ยไร
     อันอาจเป็นเหตุให้เสื่อมทรามแก่ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือ การเรี่ยไรอันอาจเป็นเหตุ
     กระทบกระเทือนอย่างรุนแรงถึงทางสัมพันธไมตรีกับต่างประเทศ หรือการเรี่ยไรเพื่อจัดหายุทธภัณฑ์ให้แก่ต่างประเทศ
      หรือการเรี่ยไรซึ่งอ้างว่าเพื่อประโยชน์แก่ราชการเทศบาลหรือสาธารณะประโยชน์จะจัดให้มีได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาต
     จากคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรแล้ว ผู้ใดฝ่าฝืนต้องระวางโทษเท่าใด
    ก. ปรับไม่เกิน 100 บาท หรือจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือทั้งปรับทั้งจำ
    ข. ปรับไม่เกิน 200 บาท หรือจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือทั้งปรับทั้งจำ
    ค. ปรับไม่เกิน 300 บาท หรือจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือทั้งปรับทั้งจำ
    ง. ปรับไม่เกิน 400 บาท หรือจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือทั้งปรับทั้งจำ
    จ. ปรับไม่เกิน 500 บาท หรือจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือทั้งปรับทั้งจำ
19. บุคคลผู้ได้รับอนุญาตให้ทำการเรี่ยไรต้องมีใบอนุญาตติดตัวอยู่ในขณะทำการเรี่ยไร และต้องให้เจ้าหน้าที่หรือบุคคล
      ผู้ประสงค์จะเข้าส่วนในการเรี่ยไรตรวจดู เมื่อเจ้าหน้าที่หรือบุคคลนั้นเรียกร้อง หากไม่มีต้องระวางโทษปรับเท่าใด
    ก. ปรับไม่เกิน 100 บาท    ข. ปรับไม่เกิน 200 บาท
    ค. ปรับไม่เกิน 300 บาท    ง. ปรับไม่เกิน 400 บาท
    จ. ปรับไม่เกิน 500 บาท
20. ในการรับเงินหรือทรัพย์สินที่เรี่ยไรได้ ต้องออกใบรับให้แก่ผู้บริจาคกับมีต้นขั้วใบรับไว้เป็นหลักฐาน และให้ผู้จัดให้มี
    การเรี่ยไรประกาศยอดรับและจ่ายเงินและทรัพย์สินให้ประชาชนทราบเป็นครั้งคราวตามสมควร และเมื่อได้จ่ายเงินหรือ
   ทรัพย์สินนั้นหมดไปแล้ว ให้ประกาศยอดบัญชีอีกครั้งหนึ่ง หรือ ห้ามมิให้จ่ายเงินหรือทรัพย์สินที่เรี่ยไรได้มานั้นในกิจการ
   อย่างอื่นนอกวัตถุประสงค์แห่งการเรี่ยไรตามที่ได้แสดงไว้ เว้นแต่จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายพอสมควรในการเรี่ยไรนั้นเอง หรือ
   เงินหรือทรัพย์สินที่เรี่ยไรได้มานั้น ถ้าไม่ต้องจ่ายเพราะไม่อาจดำเนินการตามวัตถุประสงค์แห่งการเรี่ยไรตามที่ได้แสดงไว้
   หรือเหลือจ่ายเพราะเหตุใดๆ ให้ผู้จัดให้มีการเรี่ยไรรายงานให้คณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไร หรือพนักงานเจ้าหน้าที่
   แล้วแต่กรณีทราบ และให้คณะกรรมการหรือพนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจสั่งให้ส่งเงินหรือทรัพย์สินดังกล่าวแล้วไป
   ประกอบการกุศลหรือสาธารณประโยชน์อย่างหนึ่งอย่างใดตามแต่เห็นควร  หากฝ่าฝืนตรวจพบต้องระวางโทษ.
    ก. ปรับไม่เกิน 100 บาท จำคุกไม่เกิน  3 เดือน หรือทั้งปรับทั้งจำ
    ข. ปรับไม่เกิน 200 บาท จำคุกไม่เกิน  6 เดือน หรือทั้งปรับทั้งจำ
    ค. ปรับไม่เกิน 300 บาท จำคุกไม่เกิน  3  เดือน หรือทั้งปรับทั้งจำ
    ง. ปรับไม่เกิน 400 บาท จำคุกไม่เกิน  6 เดือน หรือทั้งปรับทั้งจำ
    จ. ปรับไม่เกิน 500 บาท จำคุกไม่เกิน  6 เดือน หรือทั้งปรับทั้งจำ
21. กรณีการเรี่ยไรหากใช้ถ้อยคำหรือวิธีการใดๆ ซึ่งเป็นการบังคับผู้ถูกเรี่ยไรโดยตรงหรือโดยปริยาย หรือซึ่งจะทำให้
    ผู้ถูกเรี่ยไรเกิดความหวาดหวั่นหรือเกรงกลัว ต้องระวางโทษเท่าใด
ก. ปรับไม่เกิน 500 บาท จำคุกไม่เกิน  6 เดือน หรือทั้งปรับทั้งจำ
ข. ปรับไม่เกิน 500 บาท หรือไม่เกิน 1 ปี หรือทั้งปรับทั้งจำ
ค. ปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือทั้งปรับทั้งจำ
ง. ปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือทั้งปรับทั้งจำ
จ. ไม่มีข้อใดถูก
22. ให้ใครรักษาการตามพระราชบัญญัติควบคุมการเรี่ยไร พุทธศักราช 2487
    ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย    ข. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
    ค. อธิบดีกรมการปกครอง    ง. ผู้ว่าราชการจังหวัด
    จ. นายกรัฐมนตรี
23. ใครเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการพระราชบัญญัติควบคุมการเรี่ยไร พุทธศักราช 2487
    ก. นายมีชัย ฤชุพันธ์    ข. พล.อ. สุรยุทธ์ จุลานนท์
    ค. นายอนันท์ ปัญญารชุน    ง. พล.อ. สนธิ บุญยรัตนกสิน
    จ. จอมพล ป. พิบูลสงคราม
สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

[font=arial                              ]ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 

ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

สามารถอัพโหลดไฟล์แนบ สำหรับโพสได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้