ข้อสอบนักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ ป.ป.ส. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
1.Roman\""> พระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป เว้นแต่บัญญัติหมวด 3 จะใช้บังคับเมื่อใด ในท้องที่ใด ให้รัฐมนตรีตามข้อใดประกาศในกิจจานุเบกษา
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษษธิการ ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
2. คำว่า “ติดยาเสพติด” หมายความตามข้อใด
ก. หมายความว่า เสพคิดเป็รประจำเป็นประจำติดต่อกัน
ข. หมายความว่า ตกอยู่ในสภาพที่จำเป็นต้องพึ่งยาเสพติดนั้น
ค. หมายความว่า สามารถตรวจพบสภาพติดยาได้ตามหลักวิชาการ
ง. ข้อ ก, ข และข้อ ค เป็นความหมายของคำว่าติดยาเสพติด
3. บุคคลในข้อใดเป็นประธานกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
ก. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ข. ปลัดกระทรวงยุติธรรม
ค. ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ง. ผู้บัญชาการทหารสูงสุด
4. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง มีจำนวนไม่เกินกี่คน
ก. ไม่เกิน 2 คน ข. ไม่เกิน 3 คน
ค. ไม่เกิน 4 คน ง. ไม่เกิน 5 คน
5. คณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดมีอำนาจหน้าที่ตามข้อใด
ก. เสนอแนะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการออกกฎกระทรวงตามพระราชบัญญัตินี้
ข. แต่งตั้งและถอดถอนอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
ค. เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีในการกำหนดสถานที่เพื่อตรวจพิสูจน์การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดหรือการควบคุมตัว
ง. ข้อ ก, ข และข้อ ค เป็นอำนาจหน้าที่จองคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
6. กรรมการในคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละกี่ปี
ก. มีวาระการตำแหน่งตำแหน่ง 2 ปี ข. มีวาระการตำแหน่งตำแหน่ง 3 ปี
ค. มีวาระการตำแหน่งตำแหน่ง 4 ปี ง. มีวาระการตำแหน่งตำแหน่ง 5 ปี
7. บุคคลตามข้อใดเป็นประธานคณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
ก. นักจิตวิทยา ข. นักสังคมสงเคราะห์
ค. ผู้แทนกระทรวงยุติธรรม ง. ผู้แทนจากกรมคุมประพฤติ
8. ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
ก. พิจารณาอนุญาตให้ผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์หรือผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดได้รับการปล่อยชั่วคราว
ข. เสนอแนะต่อคณะกรรมการเกี่ยวกับวิธีการตรวจพิสูจน์ และวิธีการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
ค. พิจารณาวินิจฉัยว่าผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์เป็นผู้เสพหรือติดยาเสพติดหรือไม่
ง. วางระเบียบอื่นเพื่อปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ
9. บุคคลในข้อใดเป็นผู้บังคับบัญชา รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
ก. ผู้อำนวยการศูนย์ ข. คณะกรรมการศูนย์
ค. อธิบดีกรมคุมประพฤติ ง. ประธานคณะกรรมการศูนย์
10. ผู้ต้องหาว่ากระทำความผิดฐานเสพติด เสพและมีไว้ครอบครองและมีไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่ายซึ่งเป็นความผิดที่มีโทษจำคุกหรืออยู่ในระหว่างรับโทษจำคุกคำพิพากษาของศาล ให้พนักงานสอบสวนนำตัวผู้ต้องหาไปศาล ภายในเวลาตามข้อใด นับแต่เวลาที่ผู้ต้องหานั้นมาถึงที่ทำการของพนักงานสอบสวน
ก. ภายใน 7 วัน ข. ภายใน 15 วัน
ค. ภายใน 48 ชั่วโมง ง. ภายใน 24 ชั่วโมง
11. จากข้อ 10 ถ้าผู้ต้องหามีอายุไม่ถึงเท่าใด ให้พนักงานสอบสวนนำตัวส่งศาลเพื่อมีคำสั่งให้ตรวจพิสูจน์ภายใน 24 ชั่วโมง นับแต่เวลาที่ผู้ต้องหานั้นมาถึงที่ทำการของพนักงานสอบสวน
ก. มีอายุไม่ถึง 7 ปีบริบูรณ์ ข. มีอายุไม่ถึง 15 ปีบริบูรณ์
ค. มีอายุไม่ถึง 18 ปีบริบูรณ์ ง. มีอายุไม่ถึง 20 ปีบริบูรณ์
12. ถ้าปรากฏว่าผู้ต้องหาผู้ใดเสพติดมาก่อน ขณะ หรือภายหลังที่ถูกจับกุม เพื่อให้ตนเองได้รับการส่งตัวไปฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด และไม่ต้องถูกดำเนินคดีในฐานการเสพและมีไว้ครอบครองหรือเสพและมีไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่าย ผลที่ตามมาคืออะไร
ก. ได้รับการส่งตัวไปฟื้นฟูตามสิทธิ
ข. ไม่ได้รับการส่งตัวไปฟื้นฟูเพราะเสียสิทธิ
ค. จะต้องมีคดีและจะได้รับโทษเพิ่มขึ้น
ง. ผู้นั้นไม่มีสิทธิได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามพระราชบัญญัตินี้
13. ในระหว่างการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดอาจกำหนดให้ผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดทำกิจกรรมใด เพื่อให้มีความมั่นคงในการดำรงชีวิตโดยห่างไกลจากยาเสพติด
ก. อาจกำหนดให้ฝึกอาชีพ
ข. อาจกำหนดให้ทำงานบริการสังคม
ค. อาจกำหนดให้ดำเนินการอื่นใดตามความเหมาะสม
ง. อาจกำหนดให้ทำกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง ในข้อ ก, ข หรือ ข้อ ค
14. ผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดต้องอยู่รับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามแผนการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดเป็นเวลานานเท่าไร นับแต่วันถูกส่งตัวเข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
ก. เป็นเวลาไม่เกิน 6 เดือน ข. เป็นเวลาไม่เกิน 9 เดือน
ค. เป็นเวลาไม่เกิน 1 ปี ง. เป็นเวลาไม่เกิน 1 ปีครึ่ง
15. การขยายและการลดระยะเวลาการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดจะกระทำได้กี่ครั้ง
ก. กระทำได้กี่ครั้งก็ได้ ข. กระทำได้ 2 ครั้ง
ค. กระทำได้ 3 ครั้ง ง. กระทำได้ 4 ครั้ง
16. ในกรณีที่มีการหลบหนีจากการควบคุมของศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด สถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด หรือการควบคุมตัวผู้ติดยาเสพติด ให้นับหรือไม่นับระยะเวลาที่ผู้ติดยาเสพติดเข้ารับการตรวจพิสูจน์หรือเข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดอย่างไร
ก. ให้นับ ข. มิให้นับ
ค. ไม่มีระเบียบกล่าวไว้ ง. ถูกทั้งข้อ ก, ข แล้วแต่กรณี
17. “ในระหว่างการตรวจพิสูจน์หรือการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ถ้าผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์หรือผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดผู้ใดหลบหนีจากการควบคุมหรือหลบหนีออกนอกเขตศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด สถานที่เพื่อตรวจพิสูจน์การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด หรือการควบคุมตัวผู้เสพยาเสพติด ให้ถือว่าผู้ติดยาเสพติดหนีการคุมขัง ตามมาตรา 190 แห่งประมวลกฎหมายอาญา” ในส่วนที่เกี่ยวกับความผิดแบะโทษตามมาตรา 190 แห่งประมวลกฎหมายอาณานั้น มิให้นำมาใช้บังคับกับผู้ที่มีอายุถึงเท่าไร
ก. มีอายุไม่ถึง 25 ปีบริบูรณ์ ข. มีอายุไม่ถึง 20 ปีบริบูรณ์
ค. มีอายุไม่ถึง 18 ปีบริบูรณ์ ง. มีอายุไม่ถึง 15 ปีบริบูรณ์
18. ในกรณีที่ผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์หรือผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดซึ่งได้รับการปล่อยชั่วคราวไม่ปฏิบัติตามหรือฝ่าฝืนระเบียบ เงื่อนไข หรือข้อบังคับที่กำหนด ให้พนักงานเจ้าหน้าที่จับตัวผู้นั้นกลับเข้าไว้ในศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดตามยาเสพติด สถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์ การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดหรือการควบคุมตัวได้โดยวิธีใด
ก. โดยวิธีมีหมาย ข. โดยมิต้องมีหมาย
ค. โดยคำสั่งของผู้ควบคุมสถานที่ ง. โดยคำสั่งของผู้อำนวยการศูนย์
19. ผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์หรือผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดผู้ใดฝ่าฝืน ให้ผู้อำนวยการศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด หรือผู้ควบคุมสถานที่ที่รับตัวผู้นั้นไว้ มีอำนาจลงโทษสถานใด
ก. ภาคทัณฑ์
ข. จัดให้อยู่เดี่ยวครั้งละไม่เกิน 10 วัน
ค. ตัดการอนุญาตให้รับการเยี่ยมหรือการติดต่อไม่เกิน 3 เดือน
ง. มีอำนาจลงโทษสถานหนึ่งหรือหลายสถานตามข้อ ก, ข และข้อ ค
20. เมื่อคณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดวินิจฉัยว่าผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดผู้ใดรับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดจนครบถ้วนตามที่กำหนดในแผนการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด และผลการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดเป็นที่น่าพอใจแล้ว ให้ดำเนินการอย่างไร
ก. ให้ปล่อยตัวผู้นั้นไป ข. ให้ผู้นั้นฝึกอาชีพ
ค. ให้ผู้นั้นทำวานบริการสังคม ง. ให้ผู้นั้นปฏิบัติทุกข้อในข้อ ก,ข และข้อ ค
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบนักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ ป.ป.ส. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ใหม่ล่าสุด
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ รวมแนวข้อสอบเก่าเด็ดๆๆ และข้อสอบที่ออกบ่อยมาก
size="4">เลือกตามตำแหน่งที่สอบ
แนวสอบเรื่องยาเสพติด
ประวัติความเป็นมาของยาเสพติด (Historical Background)
ประวัติย่อ การจัดตั้งสำนักงาน ป.ป.ส.
ข้อสอบ พ.ร.บ.ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ.2545
ข้อสอบ พระราชบัญญัติ ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
ความปลอดภัยในห้องปฎิบัติการ
แนวข้อสอบ เคมีประยุกต์
แนวข้อสอบวิชาเคมีพื้นฐาน
ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงชุดละ 399 บาท
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 ธ.กสิกรไทย
สาคขาบิ๊กซีขอนแก่น ชื่อบัญชี เดโช พระกาย ออมทรัพย์
โอนเงินแล้วแจ้งที่ decho.by@hotmail.com