ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : แนวข้อสอบนิติกร อปท. อบต. อบจ. เทศบาล
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบนิติกร อปท. อบต. อบจ. เทศบาล

แชร์กระทู้นี้

                              ความลับการเป็นข้าราชการมาถึงมือท่านแล้ว                        

ไฟล์ราคา 389 เพิ่ม 100 บาท แถมฟรี ชุดติวสอบ ภาค ก แบบเข้าใจง่าย
หนังสือราคา 789 บวก แถมฟรี MP3บรรยาย และโปรแกรมฝึกทำข้อสอบ ภาค ก 
>รวบรวมจาก
ผู้สอบติดอันดับต้นๆ เจาะข้อสอบเข้างานราชการ <<
 
>> (Book) สรุปสาระสำคัญ อ่านกระชับเวลา ไม่สับสน เข้าใจง่าย ออกชัวร์ๆ แม่นยำ <<
>> (New) รวบรวมจากรุ่นพี่ที่สอบได้อันดับต้นๆ+เจาะลึกตรงประเด็น เก็งข้อสอบ <<
>> (Pdf) แนวข้อสอบพร้อมเฉลย+เนื้อหาสรุปเรียบร้อย ประหยัดเวลาในการอ่าน
 <<



จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
narathip ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ใช้ระดับ I
รายละเอียดผู้ใช้ 

1. ในกรณีที่มูลคดีเกิดขึ้นในเรือไทยหรือท่าอากาศยานไทยที่อยู่นอกราชอาณาจักรให้ศาลใดเป็นศาลที่มีเขตอำนาจ

                ก. ศาลที่เป็นภูมิลำเนาของผู้เสียหายในกรณีที่ผู้เสียหายมีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาราจักร

                ข. ศาลทหาร

                ค. ศาลแพ่ง

                ง. ศาลที่เป็นภูมิลำเนาของผู้ต้องหาในกรณีที่ผู้ต้องหามีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาณาจักร

คำตอบ :  ข้อ ค.  ป.วิ.พ.  มาตรา 3 (1) กำหนดให้ “เพื่อประโยชน์ในการเสนอคำฟ้อง

1. กรณีที่มีมูลคดีเกิดขึ้นในเรือไทยหรืออากาศยานไทยที่อยู่ในราชอาราจักรให้ศาลแพ่งเป็นศาลที่มีเขตอำนาจ ......”

2. ข้อใดไม่ใช่คำฟ้องเกี่ยวด้วยอสังหาริมทรัพย์ หรือสิทธิหรือประโยชน์อันเกี่ยวด้วยอสังหาริมทรัพย์

                ก. ฟ้องบังคับให้โอนที่ดิน

                ข. ฟ้องเกี่ยวกับสิทธิเก็บกิน

                ค. คำฟ้องเกี่ยวกับสิทธิยึดหน่วงโฉนด

                ง. ฟ้องขับไล่ออกจากบ้านพิพาท

คำตอบ :  ข้อ ค. เพราะคำฟ้องเกี่ยวกับสิทธิยึดหน่วงโฉนด ไม่ใช่คำฟ้องเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ (คำพิพากษาฎีกาที่  1428-1429/2514)

3. คำฟ้องในคดีซึ่งจำเลยมิได้มีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาราจักรและมูลคดีมิได้เกิดขึ้นในราชอาณาจักร ถ้าโจทก์เป็นผู้มีสัญชาติไทยหรือมีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาณาจักร ให้ฟ้องคดีต่อศาลต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด

                ก. ศาลแพ่ง

                ข. ศาลที่โจทก์มีภูมิลำเนา

                ค. ศาลที่จำเลยมีทรัพย์สินที่อาจถูกบังคับได้ในราชอาณาจักรอยู่ในเขต

                ง.  ศาลที่โจทก์มีทรัพย์สินอยู่ในภูมิลำเนาอยู่ในเขต

คำตอบ :  ข้อ ง. เพราะ ป.วิ.พ. มาตรา 4 ตรี  กำหนดว่า “ คำฟ้องอื่นนอกจากที่บัญญัติไว้ในมาตรา 4 ทวิ ซึ่งจำเลยมิได้ภูมิลำเนาอยู่ในราชอาณาจักรและมูลคดีมิได้เกิดขึ้นในราชอาราจักร ถ้าโจทก์เป็นผู้มีสัญชาติไทยหรือมีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาราจักร ให้เสนอต่อศาลแพ่งหรือศาลที่โจทก์มีภูมิลำเนาอยู่ในเขตศาล

                คำฟ้องตามวรรคหนึ่ง ถ้าจำเลยมีทรัพย์สินที่อาจถูกบังคับคดีได้อยู่ในราชอาณาจักร ไม่ว่าจะเป็นการชั่วคราวหรือถาวร โจทก์จะเสนอคำฟ้องต่อศาลที่ทรัพย์สินนั้นอยู่ในเขตศาลก็ได้ ”

4. ในคดีร้องขอตั้งผู้จัดการมรดกเรื่องหนึ่ง ข้อเท็จจริงมีว่าผู้ตายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านและถึงแก่ความตายที่จังหวัดพิจิตร แต่ผู้ตายอยู่กินเป็นสามีภริยากับผู้ร้องนานถึง  20 ปี ที่จังหวัดสมุทรปราการและได้ซื้อที่ดินไว้ที่จังหวัดสมุทรปราการด้วย ดังนี้ถ้าผู้ร้องจะร้องของจัดการมรดก ต้องร้องต่อศาลใดจึงจะเป็นศาลที่มีเขตอำนาจ

                ก. ศาลจังหวัดพิจิตร

                ข. ศาลจังหวัดสมุทรปราการ

                ค. ศาลแพ่ง

                ง. ข้อ ก และ ข ถูก

คำตอบ :  ข้อ  ง. เพราะแม้ผู้ตายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านและถึงแก่ความตายที่จังหวัดพิจิตร แต่ผู้ตายอยู่กินเป็นสามีภริยากับผู้ร้องนานถึง 20 ปี ที่จังหวัดสมุทรปราการและได้ซื้อที่ดินไว้ที่จังหวัดสมุทรปราการด้วย แสดงว่าผู้ตายมีบ้านอยู่ที่จังหวัดสมุทรปราการเป็นสถานที่อยู่อันเป็นแหล่งสำคัญอีกแหล่งหนึ่งด้วย ดังนั้น นอกจากบ้านที่จังหวัดพิจิตรแล้วก็ยังถือได้ว่าบ้านที่จังหวัดสุมทรปราการเป็นภูมิลำเนาเป็นภูมิลำเนาของผู้ตายอีกแห่งหนึ่งด้วย เพราะในคดีร้องขอจัดการมรดกนั้นอาจจะมีศาลที่จะยื่นคำร้องขอได้หลายศาล ( คำพิพากษาฎีกาที่  5912/2539)

5. ต่อไปนี้ข้อใด ไม่ใช่ลักษณะคดีที่เป็นคดีเดียวแต่อยู่ในเขตอำนาจศาลหลายศาลได้

                ก. คดีที่มีมูลคดีเกิดขึ้นหลายท้องที่ที่อยุ่ในเขตศาลต่างกัน

                ข. คดีที่มีหลายข้อหา

                ค. คดีตั้งอยู่ในเขตศาลหลายศาล

                ง. ไม่มีข้อถูก

คำตอบ :  ข้อ  ง. เพราะคดีที่อยู่ในเขตอำนาจศาลหลายศาล ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 5 ได้แก่

1. คดีฟ้องจำเลยร่วมกันหลายคนที่มูลความแห่งคดีเกี่ยวข้องกัน แต่ละคนมีภูมิลำเต่างกัน

2. คดีที่มีมูลคดีเกิดขึ้นหลายท้องที่ที่อยู่ในเขตศาลต่างกัน

3. คดีที่มีหลายข้อหา

4. คดีตั้งอยู่ในเขตศาลหลายศาล

ในคดีที่มีหลายศาลมีอำนาจเหนือคดีนั้น  โจทก์จะยื่นฟ้องจำเลยทุกคนต่อศาลหนึ่งศาลใดก็ได้หรือฟ้องจำเลยแต่ละคนในแต่ละเขตศาลก็ได้ แต่ในทางปฏิบัติไม่มี เพราะเป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดีโดยใช่เหตุ การยื่นฟ้องต่อศาลใดที่มีเขตอำนาจนั้นเป็นสิทธิ์ของโจทก์ จึงไม่ต้องขออนุญาตศาล และศาลที่โจทก์เสนอคำฟ้องนั้นจะเกี่ยงไปให้ฟ้องยังอีกศาลหนึ่งไม่ได้เพราะเป็นหน้าที่

6. ข้อใดไม่ใช่หลักในเรื่องการขอโอนคดี

                ก. ต้องมีศาลที่มีเขตอำนาจเหนือคดีนั้นตั้งแต่สองศาลขึ้นไป

                ข. จำเลยเท่านั้นมีสิทธิขอโอนคดี

                ค. การพิจารณาคำร้องขอโอนคดีจะต้องฟังโจทก์และคู่ความอื่น ถ้ามี ก่อนว่าจะคัดค้านอย่างไร          หรือไม่

                ง. ถ้าศาลที่รับโอนคดีไม่ยินยอม ศาลเดิมจะต้องส่งเรื่องให้ประธานศาลฎีกาชี้ขาด และคำสั่งสอน      ของประธานศาลฎีกาเป็นที่สุด

คำตอบ :  ข้อ  ง. เพราะ ถ้าศาลที่รับโอนคดีไม่ยินยอม ศาลเดิมจะต้องส่งเรื่องให้อธิบดีผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ชี้ขาด และคำสั่งของอธิบดีผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์เป็นที่สุด ตาม ป.วิพ. มาตรา 8

7. ข้อใดไม่ใช่หลักเกณฑ์ของการรวมคดีที่มีเขตอำนาจศาลต่างกัน

                ก. ศาลที่รับโอนคดีจะต้องมีอำนาจเหนือคดีที่รับโอน

                ข. คดีมีประเด็นอย่างเดียวกันหรือเกี่ยวเนื่องกันอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลชั้นต้นต่างศาล    กัน แม้กฎหมายจะใช้คำว่าคดีสองเรื่องแต่ก็ไม่จำเป็นจะต้องเป็นเรื่องสองเรื่องเสมอไปอาจจะมี            มากกว่าสองเรื่องก็ได้ สองศาลก็ได้

                ค.  คู่ความในคดีที่ค้างพิจารณาอยู่นั้นมีสิทธิที่จะรวมคดีได้ ก่อนศาลชั้นต้นมีคำพิพากษาคู่ความใน    คดีหนึ่งคดีใดก็ได้

                ง. คู่ความขอดอนคดีไปรวมที่ศาลใดก็ได้และศาลที่จะโอนไปรวมนั้นต้องถามศาลที่รับโอนก่อนว่า    ยินยอมที่จะรับโอนหรือไม่

คำตอบ :  ข้อ ก. เพราะศาลที่รับดอนคดีจะมีอำนาจเหนือคดีที่รับโอนหรือไม่ ไม่ใช่ข้อสำคัญ เพราะเป็นเรื่องการรวมคดีจากศาลหนึ่งไปรวมกับอีกศาลหนึ่ง แม้จะเรียกว่าเป็นการโอนก็ตาม แต่ก็ไม่ใช่เรื่องการโอน ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 6 เป็นการโอนไปรวมพิจารณากับอีกศาลหนึ่ง ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 8

8. ข้อใดต่อไปนี้เป็นสาระสำคัญในเรื่องการขอรวมคดีที่มีเขตอำนาจศาลซ้อนกันหรือการขอรวมคดีที่อยู่ในเขตอำนาจศาลหลายศาล

                ก. มีคดีหลายเรื่องค้างพิจารณาในศาลชั้นต้นเดียวกันหรือต่างศาลกัน

                ข. การขอรวมของคู่ความ อาจจะขอมาในชั้นที่ยื่นคำให้การหรือยื่นคำร้องต่อศาลที่พิจารณาคดีนั้นๆ ก่อนศาลมีคำพิพากษาซึ่งศาลที่รับคำร้องจะต้องสอบถามคู่ความฝ่ายอื่นเสียก่อน

                ค. ศาลที่จะรับดอนคดีไปรวมต้องเป็นศาลที่มีเขตอำนาจเหนือคดีที่โอนมาด้วย ถ้าไม่มีเขตอำนาจ     เหนือคดีนั้นจะรับโอนมาไม่ได้

                ง. ถูกทุกข้อ

คำตอบ :  ข้อ ง. เพราะตามบทบัญญัติของ ป.วิ .พ. มาตรา 28 มีสาระสำคัญในเรื่องการขอรวมคดีที่มีเขตอำนาจศาลซ้อนกันดังนี้

1. มีคดีหลายเรื่องค้างพิจารณาในศาลชั้นต้นเดียวกันหรือต่างศาลกัน

2. คดีที่ค้างพิจารณานั้นคู่ความทั้งหมดหรือแต่บางฝ่ายเป็นคู่ความรายเดียวกัน คือ อาจจะเป็นโจทก์คนเดียวกันหรือจำเลยคนเดียวกันหรือทั้งโจทก์ทั้งจำเลยเป็นคนเดียวกันก็ได้หรือถ้ามีผู้ร้องสอดก้อาจจะมีผู้ร้องสอดคนเดียวกันก็ได้

3. คดีที่ค้างพิจารณานั้นมีความเกี่ยวเนื่องกัน

4. การนำคดีมารวมกันนั้นจะทำให้เกิดความสะดวกในการพิจารณา

5. คู่ความฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดจะขอให้มีการรวมพิจารณาหรือศาลเห็นจะให้มีการรวมพิจารณาก็ได้

6. การขอรวมของคู่ความ อาจจะขอมาในชั้นที่ยืนคำให้การหรือยื่นคำร้องต่อศาลที่พิจารณาคดีนั้นๆก่อนศาลมีคำพิพากษา ซึ่งศาลที่รับคำร้องจะต้องสอบถามคู่ความฝ่ายอื่นเสียก่อน

7. เมื่อศาลที่รับคำร้องรวมเห็นสมควรให้รวม ถ้าเป็นคดีศาลเดียวกันก็สั่งรวมพิจารณาได้เลย แต่ถ้าเป้นเรื่องต่างศาลกันแล้ว ศาลที่โอนไปรวมต้องสอบถามศาลที่จะรับโอนไปรวมเสียก่อนถ้าศาลที่รับโอนไปรวมไม่ขัดข้องก็สั่งให้โอนไปรวมได้

8. ศาลที่จะรับโอนคดีไปรวมต้องเป็นศาลที่มีเขตอำนาจเหนือคดีที่โอนมาด้วยถ้าไม่มีเขตอำนาจเหนือคดีนั้นจะรับโอนมาไม่ได้ ไม่เหมือนกับการโอนมารวม ตามมาตรา 8 เพราะว่าการโอนมารวมตามมาตรา 8 เป็นเรื่องต่างเขตอำนาจกัน

9. ถ้าศาลที่รับดอนไปรวมไม่ยินยอมศาลที่จะโอนไปรวมก็ต้องส่งเรื่องให้อธิบดีผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ชี้ขาดว่าจะให้โอนไปรวมหรือไม่ ไม่ว่าศาลชั้นต้นที่มีคดีค้างพิจารณาอยู่ในเขตอำนาจของศาลอุทธรณ์ภาคใดก็ต้องส่งเรื่องให้อธิบดีผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ คำสั่งของอธิบดีผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ถือเป็นที่สุด

9. ข้อใดไม่ใช่หลักเกณฑ์การขอบังคับคดีนอกเขตศาล

                ก. มีการออกหมายบังคับคดี ตามขั้นตอนที่บัญญัติไว้ใน ป.วิ.พ. มาตรา  275 แล้ว

                ข. ต้องเป็นกรณีที่ปรากฏว่าทรัพย์หรือบุคคลที่จะต้องบังคับหรือจะต้องถูกบังคับอยู่นอกเขตศาลที่     ออกหมายบังคับคดี

                ค. เจ้าหน้าที่ตามคำพิพากษา ยื่นคำแถลงต่อศาลที่มีเขตอำนาจเหนือทรัพย์และบุคคลที่จะต้องถูก       บังคับ หรือเจ้าหน้าที่บังคับคดีรายงานให้ศาลมีเขตอำนาจทราบว่าจะต้องมีการบังคับคดีต่อทรัพย์              หรือบุคคลที่อยู่ในเขตศาลนั้น

                ง. เจ้าหน้าที่ตามคำพิพากษา ยื่นคำร้องต่อศาลที่มีเขตอำนาจเหนือทรัพย์และบุคคลที่จะต้องถูก          บังคับ หรือเจ้าหน้าที่บังคับคดีรายงานให้ศาลมีเขตอำนาจทราบว่าจะต้องมีการบังคับคดีต่อทรัพย์              หรือบุคคลที่อยู่ในเขตศาลนั้น

คำตอบ :  ข้อ ง. เพราะเจ้าหนี้ตามคำพิพากษา  ยื่นคำแถลงต่อศาลที่มีเขตอำนาจเหนือทรัพย์และบุคคลที่จะต้องถูกบังคับ หรือเจ้าหน้าที่บังคับคดีรายงานให้ศาลมีเขตอำนาจทราบว่าจะต้องมีการบังคับคดีต่อทรัพย์หรือบุคคลที่อยู่ในเขตศาลนั้น

10. ในเรื่องอำนาจในการพิจารณาเนื้อหาของคำคู่ความ ในการพิจารณาเนื้อหาศาลมีทางที่จะสั่งได้ 3 ทาง ต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด

                ก. สั่งให้แก้ไข เอเนื้อหาไม่ถูกต้อง

                ข. สั่งรับคำคู่ความนั้นไว้พิจารณา เมื่อเห็นว่าชอบด้วยกฎหมาย

                ค. สั่งไม่รับคำคู่ความนั้นถ้าเห็นว่าไม่ชอบด้วยกฎหมาย

                ง. สั่งให้คืนไป เพื่อยื่นต่อศาลที่มีเขตอำนาจ เมื่อยื่นผิดศาล

คำตอบ :  ข้อ  ก. เพราะในกรณีที่เนื้อหาของคำคู่ความไม่ถูกต้อง ศาลไม่มีอำนาจไปสั่งแก้ไขให้ถูกต้อง เนื่องจากการไปสั่งอย่างนั้นเป็นการทำให้อีกฝ่ายหนึ่งเสียเปรียบในทางคดีซึ่งไม่ใช่หน้าที่ของศาล

11. ข้อใดผิด

                ก. คำฟ้องที่ไม่ระบุตัวทรัพย์สินที่พิพาทให้ชัดเจน ศาลสั่งไม่รับฟ้องไว้พิจารณา

                ข. คำฟ้องที่ไม่แสดงชัดแจ้งซึ่งสภาพแห่งข้อหา ศาลสั่งไม่รับฟ้อง

                ค. คำร้องขอคุ้มครองประโยชน์ของผู้ขอในระหว่างพิจารณา ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 264  นั้น เมื่อไม่มีเหตุผลเพียงพอ ศาลต้องมีคำสั่งให้คืนไปเพื่อแสดงเหตุผลที่เพียงพอกว่านี้ แล้วให้นำมายื่นใหม่

                ง. คำฟ้องของโจทก์ไม่มีมูลที่จะฟ้องร้องให้จำเลยรับผิดตามฟ้องได้ ศาลมีคำสั่งยกฟ้อง

คำตอบ :  ข้อ  ง. คำร้องขอคุ้มครองประโยชน์ของผู้ขอในระหว่างพิจารณา ตาม ป.วิ.พ. มาตรา  264 นั้น เมื่อไม่มีเหตุผลเพียงพอ ศาลต้องสั่งยกคำร้องโดยไม่จำเป็นต้องไต่สวน (คำพิพากษาฎีกาที่ 4017/2530)

12. คู่ความหมายความถึงบุคคลดังต่อไปนี้ยกเว้นข้อใด

                ก. โจทก์

                ข. จำเลย

                ค.ผู้ร้องสอด

                ง. ผู้พิพากษา

คำตอบ :  ข้อ  ง. เพราะ ป.วิ.พ. มาตรา 1 “ในประมวลกฎหมายนี้ ถ้าข้อความมิได้แสดงให้เห็นเป็นอย่างอื่น”

11 “คู่ความ ” หมายความว่า บุคคลผู้ยื่นคำฟ้อง หรือถูกฟ้องต่อศาล และเพื่อประโยชน์แห่งการดำเนินกระบวนพิจารณาให้รวมถึงบุคคลผู้มีสิทธิกระทำการแทนบุคคลนั้นๆตามกำหมายหรือในฐานะทนายความ... “ เช่น โจทก์  จำเลย  ผู้ร้องสอด  ผู้คัดค้าน  ผู้ร้องขอ  ผู้แทนนิติบุคคล ผู้แทนโดยชอบธรรม ผู้จัดการมรดก ทนายความของแต่ละฝ่ายที่เป็นคู่ความ ผู้รับมอบอำนาจจากตัวความให้ดำเนินคดีแทน

13. บุคคลภายนอกซึ่งไม่ใช่คู่ความสามารถเข้ามาเป็นคู่ความได้โดยวิธีใด

                ก. ร้องสอดด้วยความสมัครใจเอง เพราะเห็นว่าเป็นการจำเป็นเพื่อยังให้ได้รับความรับรอง คุ้มครอง หรือบังคับตามสิทธิของตนที่มีอยู่

                ข. ร้องสอด ด้วยความสมัครใจเอง เพราะตนมีส่วนได้เสียตามกฎหมายในผลแห่งคดีนั้น

                ค. โดยถูกหมายเรียกให้เข้ามาในคดี

                ง. ร้องสอด โดยคำสั่งของพนักงานสอบสวน

คำตอบ :  ข้อ  ง. เพราะกรณีที่บุคคลภายนอกซึ่งมิใช่คู่ความอาจเข้ามาเป็นคู่ความได้ด้วยการร้องสอด มีดังนี้

1. ด้วยความสมัครใจเอง เพราะ เห็นว่าเป็นการจำเป็นเพื่อยังให้ได้รับความรับรอง คุ้มครอง หรือบังคับตามสิทธิของตนที่มีอยู่ โดยยื่นคำร้องขอต่อศาลที่คดีนั้นอยู่ในระหว่างพิจารณาหรือเมื่อตนมีสิทธิเรียกร้องเกี่ยวเนื่องด้วยการบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง โดยยื่นคำร้องขอต่อศาลที่ออกหมายบังคับคดีนั้น

2. ด้วยความสมัครใจเอง เพราะตนมีส่วนได้เสียตามกำหมายในผลแห่งคดีนั้นโดยยื่นคำร้องต่อศาลไม่ว่าเวลาใดๆ ก่อนมีคำพิพากษา ขออนุญาตเข้าเป็นโจทก์ร่วมหรือจำเลยร่วมหรือเข้าแทนที่คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเสียทีเดียวโดยได้รับความยินยอมของคู่ความฝ่ายนั้นแต่ว่าแม้ศาลจะได้อนุญาตให้เข้าแทนที่กันได้ก็ตาม คู่ความฝ่ายนั้นจำต้องผูกพันตนโดยคำพิพากษาของศาลทุกประการเสมือนหนึ่งว่ามิได้มีการเข้าแทนที่กันเลย

3. เมื่อถูกหมายเรียกให้เข้ามาในคดี

                ตามคำขอของคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งทำเป็นคำร้องแสดงเหตุว่าตนอาจฟ้องหรือถูกคู่ความเช่นว่านั้นฟ้องตนได้ เพื่อการใช้สิทธิไล่เบี้ยหรือเพื่อใช้ค่าทดแทน ถ้าหากศาลพิจารณาให้คู่ความเช่นว่านั้นแพ้คดี หรือโดยคำสั่งของศาลเมื่อศาลนั้นเห็นสมควร หรือเมื่อคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีคำขอ

14. ข้อใดไม่ใช่หลักเกณฑ์ของการฟ้องซ้ำ

                ก. คำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นถึงที่สุดแล้ว

                ข. คู่ความทั้งสองฝ่ายเป็นรายเดียวกัน

                ค. ประเด็นที่วินิจฉัยอาศัยเหตุอย่างเดียวกัน

                ง. คดีก่อนอยู่ระหว่างพิจารณา

คำตอบ :  ข้อ  ง. เพราะคดีที่มีคำพิพากษาหรือคำสั่งถึงที่สุดแล้วห้ามมิให้คู่ความเดียวกันรื้อร้องฟ้องกันอีกในประเด็นที่ได้วินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอย่างเดียวกัน ตาม ป.วิ.พ. มาตรา  148  วึ่งสรุปหลักเกณฑ์สำคัญได้สามประการคือ

1. คำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นถึงที่สุดแล้ว

2. คู่ความทั้งสองฝ่ายเป็นรายเดียวกัน

3.  ประเด็นที่วินิจฉัยอาศัยเหตุอย่างเดียวกัน

15. เรื่องฟ้องซ้ำ ข้อใดต่อไปนี้เป็นข้อยกเว้นที่ทำให้ไม่เป็นฟ้องซ้ำ

                ก. เมื่อเป็นกระบวนพิจารณาชั้นบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาล

                ข. เมื่อคำพิพากษาหรือคำสั่งได้กำหนดวิธีการชั่วคราวให้อยู่ภายในบังคับที่จะแก้ไขเปลี่ยนแปลง      หรือยกเลิกเสียได้ตามพฤติการณ์

                ค.เมื่อคำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นให้ยกฟ้องเสียโดยไม่ตัดสิทธิโจทก์ที่จะนำฟ้องมายื่นใหม่ ในศาล    เดียวกันหรือในศาลอื่น ภายใต้บังคับแห่งบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยอายุความ

                ง. ถูกทุกข้อ

คำตอบ :  ข้อ ง. ข้อยกเว้นที่ทำให้ไม่เป็นฟ้องซ้ำ มีดังต่อไปนี้ คือ

                1. เมื่อเป็นกระบวนพิจารณาชั้นบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาล

                2. เมื่อคำพิพากษาหรือคำสั่งได้กำหนดวิธีการชั่วคราวให้อยู่ภายในบังคับที่จะแก้ไขเปลี่ยนแปลง       หรือยกเลิกเสียได้ตามพฤติการณ์

                3.เมื่อคำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นให้ยกฟ้องเสียโดยไม่ตัดสิทธิโจทก์ที่จะนำฟ้องมายื่นใหม่ ในศาล     เดียวกันหรือในศาลอื่น ภายใต้บังคับแห่งบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยอายุความ

admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดนครพนม 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดสกลนคร 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดมุกดาหาร 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดอุบลราชธานี 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดหนองคาย 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดอำนาจเจริญ 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดหนองบัวลำภู 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดศรีสะเกษ 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดอุดรธานี 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดยโสธร 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดเลย 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดกาฬสินธุ์ 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดร้อยเอ็ด 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดมหาสารคาม 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดสุรินทร์ 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดขอนแก่น 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดบุรีรัมย์ 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดเพชรบูรณ์ 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดชัยภูมิ 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดนครราชสีมา 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดเชียงใหม่ 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัด-เชียงราย 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดแม่ฮ่องสอน 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดพะเยา 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดลำพูน 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดน่าน 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดลำปาง 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดแพร่ 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดอุตรดิตถ์ 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดตาก 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดพิษณุโลก 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดกำแพงเพชร 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดพิจิตร 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดนครสวรรค์ 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดอุทัยธานี 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดชัยนาท 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดลพบุรี 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดสิงห์บุรี 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดปราจีนบุรี 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดสระบุรี 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดนครนายก 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดอ่างทอง 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดราชบุรี 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดสุพรรณบุรี 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดอยุธยา 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดสมุทรสงคราม 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดสมุทรสาคร 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดสระแก้ว 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดตราด 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดจันทบุรี 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดระยอง 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดชลบุรี 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดฉะเชิงเทรา 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดเพชรบุรี 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดชุมพร 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดระนอง 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดสุราษฎร์ธานี 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดนครศรีธรรมราช 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดพังงา 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดกระบี่ 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดตรัง 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดพัทลุง 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดภูเก็ต 
ข้อสอบนิติกร อบต. อบจ.เทศบาลจังหวัดสงขลา

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

สามารถอัพโหลดไฟล์แนบ สำหรับโพสได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้