1. กำหนดให้ A, B, C เป็นเซตใด ๆ และ n[(AÇB¢) Ç (B¢ÈC¢)]
= 4, n(B) = 5, n(AÇB) = 2, n(C) = 7
จงหาว่า n(P(A)) – n(P(B)) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
ก. 1 ค. 16
ข. 4 ง. 32
ตอบ ง. 32
แนวคิด
= AÇB¢Ç(B¢ÈC¢)
= AÇB¢
= A – B
สรุปว่าโจทย์ให้ n[(AÇB¢)Ç(B¢ÈC¢)] = 4
ซึ่งคือ n(A – B) = 4
และ n(B) = 5
n(AÇB) = 2
จากสูตร n(A – B) = n(A) – n(AÇB)
n(A) = n(A – B) + n(AÇB)
= 4 + 2
= 6
n(P(A)) – n(P(B)) = = = 32 ตอบ
2. ให้ p(x) = เมื่อหาร p(x) ด้วย x – p หรือ x + q จะได้คำตอบเท่ากัน
โดยที่ p ¹ – q แล้ว p – q เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 ค. -5
2. -7 ง. -9
ตอบ ข. -7
>>ขอบอก<< เรื่องทฤษฎีบทเศษเหลือ ปัจจุบันออกสอบทุกปี (ปีละ 1 ข้อ) อย่าลืมอ่านไปนะครับ!
แนวคิด x – p หาร P(x) = เศษคือ
x + q หาร P(x) = เศษคือ
โจทย์บอกว่า เศษเท่ากัน
=
= 0 สูตรที่ใช้ x – c หาร p(x) จะเหลือเศษ p(c)
= 0
= 0
แต่โจทย์ว่า p ¹ -q \ p – q + 7 = 0
p – q = –7 ตอบ
3. กำหนดให้ U = {1, 2, 3, …, 100} และ
X = {xÎU | หรม. (x, 100) = 1}
ผลบวกของสมาชิกในเซต x เท่ากับข้อใด
1. 1000 ค. 3000
2. 2000 ง. 5050
ตอบ ข. 2000
ข้อนี้จัดว่ายากสำหรับคนที่ไม่เคยเจอโจทย์แบบนี้มาก่อน แต่ถ้าน้อง ๆ สังเกตข้อสอบ Ent
ในช่วงหลัง ๆ จะออกลักษณะแบบนี้มาหลายครั้งแล้ว จึงควรทำความคุ้นเคยเอาไว้ครับ
แนวคิด หรม. ของ x กับ 100 = 1 และ 100 =
สรุปว่า x คือจำนวนที่ 2 หารไม่ลงตัว และ 5 หารไม่ลงตัว
ใช้แผนภาพช่วย
บริเวณแรเงา = A¢ÇB¢
= U – (AÈB)
A = {xÎU|2 หาร x ลงตัว} = {2, 4, 6, …, 100} ผลบวกสมาชิกเซต A = 2 + 4 + 6 + … + 100 = [2 + 100] = 2550 | B = {xÎU|5 หาร x ลงตัว} = {5, 10, 15, …, 100} ผลบวกสมาชิกเซต B = 5 + 10 + 15 + … + 100 = [5 + 100] = 1050 |
AÇB = {xÎU|2 และ 5 หาร x ลงตัว} = {xÎU|10 หาร x ลงตัว}
= {10, 20, 30, …, 100}
ผลบวกสมาชิกเซต AÇB U = {1, 2, 3, …, 100}
= [1 + 100] = 550 ผลบวกใน U = 1 + 2 + … + 100
n(U) = [1 + 100] = 550
n(A¢ÇB¢) = n(U) – n(AÈB)
= n(U) – [n(A) + n(B) – n(AÇB)]
ผลบวกก็เช่นกัน
= 5050 – [2550 + 1050 – 550]
= 2,000 ตอบ
สูตรที่ใช้ (1) เรื่องเซต n(AÈB) = n(A) + n(B) – n(AÇB)
(2) ผลบวก = [ ]
4. กำหนดให้ p, q และ r เป็นประพจน์ ถ้าประพจน์ (p®q) ® (p«q) มีค่าความจริงเป็น เท็จ แล้วประพจน์ ใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็น จริง
1. (pÙq) ® r ค. PÙ~q
2. q ® (pÙr) ง. pÚ~q
ตอบ 1 . (pÙq) ® r
ข้อนี้คล้ายกับข้อสอบ En มีนา 47 ที่พึ่งผ่านมา แบบการหาค่าความจริงแนวใหม่
(p ® q) ® (p « q)
F
T F (ทำต่อไม่ได้ล่ะสิ)
เนื่องจาก p « q เป็นเท็จ
สรุปได้ว่า p, q มีค่าความจริงตรงข้ามกันซึ่งอาจเป็น
แต่ p ® q เป็นจริง (1) จึงเป็นไม่ได้
P เป็นเท็จ, q เป็นจริง เท่านั้น
พิจารณาตัวเลือก 1] (F Ù T) ® r º F ® r º T ตอบเลยเหอะ
2] T ® (FÙr) º T ® F º F
3] FÙ~T º F
4] FÚ~T º F
5. เอกภพสัมพัทธ์ในข้อใดทำให้
มีค่าความจริงเป็นจริง
ก. (–¥, 3) ค. (0, 10)
ข. (–2, –1) ง. (1, ¥)
ตอบ ข. (–2, –1)
ข้อนี้เป็นโจทย์ย้อนกลับของเรื่องตัวบ่งปริมาณ
การที่ จะเป็นจริง x ทุกตัวใน U จะต้องแทนแล้วจริง
นั่นก็คือ U Ì เซตคำตอบอสมการ
เซตคำตอบอสมการ
U ในตัวเลือก 2 เป็นสับเซตของเซตคำตอบ
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป วิทยุการบินแห่งประเทศไทย
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ
ความรู้เกี่ยวกับวิทยุการบินแห่งประเทศไทย
แนวข้อสอบวัดความถนัดทางเชาวน์ปัญญา _Aptitude Test
แนวข้อสอบภาษาอังกฤษ
แนวข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำนักงาน
สรุป ข่าวเด่น สถานการปัจจุบัน ข่าวไทย และทั่วโลก
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์
สั่งซื้อที่
ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724 Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3 ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2
ธ.กสิกรไทย ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay
ผลงานการสอบได้ของลูกค้า
ติดตามข่าวการสอบราชการที่ https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่ www.ข้อสอบงานราชการไทย.com