1. พฤติกรรมที่เป็นปัญหาของนักเรียนเกิดจากสาเหตุใด?
ก.ไม่ได้เรียนในโรงเรียนที่มีชื่อเสียง ข.มีพ่อแม่คอยเคี่ยวเข็ญ
ค.สิ่งแวดล้อมชักจูง ง.มีจริยธรรมต่ำ
ตอบ ง. มีจริยธรรมต่ำ
2. คุณธรรมสำหรับครูคือข้อใด?
ก. คุณงามความดีของคนที่เป็นครู ข. มีพฤติกรรมที่ดีเป็นที่ยอมรับของสังคม
ค. มีความเสียสละมีความยุติธรรม ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
3. จริยธรรม ตามพจนานุกรมราชบัญฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายถึงข้อใด?
ก. ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ ข. คำสั่งสอน
ค. หลักปฏิบัติในทางศาสนา ง. ไม่มีข้อถูก
ตอบ ก. ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ
4. ความรู้จริยธรรม หมายถึงข้อใด?
ก. การมีความรู้สึกต่อพฤติกรรมต่างๆ
ข. การแสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ต่อสังคม
ค. ความรู้เกี่ยวกับสังคมสามรถบอกได้ว่า การกระทำใดดี การกระทำใดไม่ดีเหมาะสมมากน้อยเพียงใด
ง. เหตุผลที่ใช้เป็นเกณฑ์ใสการเลือกหรือไม่เลือกกระทำ
ตอบ ค. ความรู้เกี่ยวกับสังคมสามรถบอกได้ว่า การกระทำใดดี การกระทำใดไม่ดีเหมาะสม
มากน้อย เพียงใด
5. พฤติกรรมเชิงจริยธรรม หมายถึงข้อใด?
ก. การแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของสังคมและปฏิเสธการแสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของสังคม
ข. เบื้องหลังการกระทำของบุคคลใช้เป็นเกณฑ์ในการเลือกกระทำ
ค. ความรู้สึกต่อพฤติกรรมต่างๆ ในทางที่ชอบหรือไม่ชอบ
ง. ไม่มีข้อถูก
ตอบ ก. การแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของสังคมและปฏิเสธการแสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
ของสังคม
6. ความสัมพันธ์ของคุณธรรมและจริยธรรมหมายถึงข้อใด?
ก. เป็นเรื่องเดียวกัน ข. เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกัน
ค. เป็นเรื่องการกระทำของบุคคล ง. เป็นเรื่องที่อยู่ในจิตใจของบุคคล
ตอบ ข. เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกัน
7. พัฒนาการทางจริยธรรม หมายถึงข้อใด?
ก. 2 ขั้น ข. 3 ขั้น ค. 4 ขั้น ง. 5 ขั้น
ตอบ ข. 3 ขั้น
8. ขั้นก่อนจริยธรรมของPaigaetหมายถึงข้อใด? อ.วันนรัตน์ เเอ๊คกรุ๊ป
ก. ระดับจริยธรรมของเด็กอายุ 0-2 ปี
ข.ระดับจริยธรรมของเด็กอายุ 2-6 ปี
ค.ระดับจริยธรรมของเด็กอายุ 6-10 ปี
ง.ระดับจริยธรรมของเด็กอายุ 10-15 ปี
ตอบ ก. ระดับจริยธรรมของเด็กอายุ 0-2 ปี
9. ขั้นการให้เหตุผลเชิงพฤติกรรมของ Kohlberg ระดับตามเกณฑ์สังคม อายุ 10-13 ปีตรงกับข้อใด?
ก. การหลบหลีกการลงโทษ ข. การแสวงหารางวัล
ค. การทำตามสิ่งที่ผู้อื่นเห็นชอบ ง. การทำตามคำมั่นสัญญา
ตอบ ค. การทำตามสิ่งที่ผู้อื่นเห็นชอบ
10. ขั้นการให้เหตุผลเชิงจริยธรรมของ Kohlbergขั้นที่ 6 หมายถึงข้อใด?
ก. การยึดถืออุดมคติสากลหรือจริยธรรมสากล(วัยผู้ใหญ่)
ข. การทำหน้าที่ทางสังคมหรือระบบสังคมและมโนธรรม
ค. การทำตามคำสัญญาและสิทธิ
ง. การแสวงหารางวัลหรือการตอบสนองตามความต้องการ
ตอบ ก.การยึดถืออุดมคติสากลหรือจริยธรรมสากล(วัยผู้ใหญ่)
11. คุณธรรมข้อใดไม่จัดอยู่ตามแนวคิด อริสโตเติล?
ก. ความรอบคอบ ข. การรู้จักประมาณ
ค. การอดทน ง. ความยุติธรรม
ตอบ ค. การอดทน
12. พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำรัส”การรู้จักข่มใจ”หมายถึงข้อใด?
ก. ความจริงใจต่อตนเอง ข. การรู้จักฝึกใจตนเอง
ค. การประพฤติปฏิบัติต่อสิ่งที่เป็นประโยชน์ ง. รู้จักเสียสละประโยชน์ส่วนตัวเพื่อส่วนร่วม
ตอบ ข. การรู้จักฝึกใจตนเอง
13. สังคหวัตถุ 4 คือ คุณธรรมในข้อใด?
ก. เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจคน ข. เป็นเครื่องทำให้ประสบความสำเร็จ
ค. เป็นคุณธรรมของผู้ครองเรือน ง. เป็นคุณธรรมของผู้เป็นผู้ใหญ่
ตอบ ก. เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจคน
7. พัฒนาการทางจริยธรรม หมายถึงข้อใด?
ก. 2 ขั้น ข. 3 ขั้น ค. 4 ขั้น ง. 5 ขั้น
ตอบ ข. 3 ขั้น
8. ขั้นก่อนจริยธรรมของPaigaetหมายถึงข้อใด?
ก. ระดับจริยธรรมของเด็กอายุ 0-2 ปี
ข.ระดับจริยธรรมของเด็กอายุ 2-6 ปี
ค.ระดับจริยธรรมของเด็กอายุ 6-10 ปี
ง.ระดับจริยธรรมของเด็กอายุ 10-15 ปี
ตอบ ก. ระดับจริยธรรมของเด็กอายุ 0-2 ปี
9. ขั้นการให้เหตุผลเชิงพฤติกรรมของ Kohlberg ระดับตามเกณฑ์สังคม อายุ 10-13 ปีตรงกับข้อใด?
ก. การหลบหลีกการลงโทษ ข. การแสวงหารางวัล
ค. การทำตามสิ่งที่ผู้อื่นเห็นชอบ ง. การทำตามคำมั่นสัญญา
ตอบ ค. การทำตามสิ่งที่ผู้อื่นเห็นชอบ
10. ขั้นการให้เหตุผลเชิงจริยธรรมของ Kohlbergขั้นที่ 6 หมายถึงข้อใด?
ก. การยึดถืออุดมคติสากลหรือจริยธรรมสากล(วัยผู้ใหญ่)
ข. การทำหน้าที่ทางสังคมหรือระบบสังคมและมโนธรรม
ค. การทำตามคำสัญญาและสิทธิ
ง. การแสวงหารางวัลหรือการตอบสนองตามความต้องการ
ตอบ ก.การยึดถืออุดมคติสากลหรือจริยธรรมสากล(วัยผู้ใหญ่)
11. คุณธรรมข้อใดไม่จัดอยู่ตามแนวคิด อริสโตเติล?
ก. ความรอบคอบ ข. การรู้จักประมาณ
ค. การอดทน ง. ความยุติธรรม
ตอบ ค. การอดทน
12. พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำรัส”การรู้จักข่มใจ”หมายถึงข้อใด?
ก. ความจริงใจต่อตนเอง ข. การรู้จักฝึกใจตนเอง
ค. การประพฤติปฏิบัติต่อสิ่งที่เป็นประโยชน์ ง. รู้จักเสียสละประโยชน์ส่วนตัวเพื่อส่วนร่วม
ตอบ ข. การรู้จักฝึกใจตนเอง
13. สังคหวัตถุ 4 คือ คุณธรรมในข้อใด?
ก. เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจคน ข. เป็นเครื่องทำให้ประสบความสำเร็จ
ค. เป็นคุณธรรมของผู้ครองเรือน ง. เป็นคุณธรรมของผู้เป็นผู้ใหญ่
ตอบ ก. เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจคน
14. คุณธรรมที่ทำให้ประสบความสำเร็จ หมายถึง ข้อใด?
ก. พรหมวิหาร 4 ข. สังคหวัตถุ 4
ค. ธรรมของฆราวาส 4 ง. อิทธิบาท 4
ตอบ ง. อิทธิบาท 4
15. การที่คนเรารู้จักแยกแยะว่าสิ่งนี้เป็นเหตุแห่งสุขสิ่งนี้เป็นแห่งเหตุตรงกับสัปปุริธรรม 7 ข้อใด?
ก. อัตตญญุตา ข. ธัมมัญญุตา
ค. อัตถัญญตา ง. มัตตัญญุตา
ตอบ ข. ธัมมัญญุตา
16. ธรรมใดเป็นเครื่องคุ้มครองโลก?
ก. ขันติ ข. โสรัจจะ
ค. หิริโอตัปปะ ง. สัจจะ
ตอบ ค. หิริโอปตัปปะ
17.อคติ 4 คือ คุณธรรมข้อใด?
ก. ธรรมที่ควรรักษาไว้เป็นนิจ ข. ธรรมของผู้ครองเรือน
ค. ธรรมที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจคน ง. ธรรมที่ไม่ควรประพฤติ
ตอบ ง. ธรรมที่ไม่ควรประพฤติ
18. โทสาคติ หมายถึงข้อใด?
ก. ลำเอียงเพราะรักใคร่ ข. ลำเอียงเพราะไม่ชอบกัน
ค. ลำเอียงเพราะเขลา ง. ลำเอียงเพราะกลัว
ตอบ ข. ลำเอียงเพราะไม่ชอบกัน
19. สิ่งใดสามารถยับยั้งความโกรธได้?
ก. เมตตา กรุณา ข. มุทิตา อุเบกขา
ค. สติ สัมปัญชัญญะ ง. ฉันทะ วิริยะ
ตอบ ค. สติ สัมปัญชัญญะ
20. ผลดีของการมีสติหมายถึง ข้อใด?
ก. รู้ว่าใครจะทำอะไร ข. รู้เหตุการณ์ล่วงหน้า
ค. รู้ว่าตนเองกำลังทำอะไร ง. รู้อดีตชาติของตนเอง
ตอบ ค. รู้ว่าตนเองกำลังทำอะไร