แนวเทคนิคข้อสอบปลัดอำเภอ
ระเบียบข้าราชการพลเรือน 1.เมษา 2535 (นายกรักษาการ)
กรณีการตอบคำตอบที่มีข้อถูกที่สุดให้เลือกตอบข้อที่ถูกที่สุดตามกฏหมายหลัก เช่นตามรัฐธรรมนูญ ระบุไว้ก่อนแล้วรองลงมาเป็น พรบ.
ก.พ. = คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน = 15-17 คน < 5 + 5+5-7 > ( โดยการโปรดเกล้าฯ )
ตำแหน่ง = 5 คน ข้าราชการ = 5 คน = 2 ปี ผู้ทรงคุณวุฒิ = 5 - 7 คน = 2 ปี
- นายก ประธาน - ปลัด, รองปลัด - อธิบดี,เทียบเท่า C.10
- ปลัด คลัง - หัวหน้า , รองหัวหน้าไม่สังกัด - ผู้ชำนาญการระบบราช,จัด
- ผอ. งบ - หัวหน้า , รองหัวหน้าขึ้นตรงนายก ส่วน,พัฒนาองค์บริหาร
- เลขาเศรษฐกิจสังคม - อธิบดี,ผู้ว่า กฎหมาย (ได้แค่ 3 คน)
- เลขา กพ. C.10 นั้นยกเว้นขึ้นตรงและไม่สังกัด
อกพ.กระทรวง = 11 คน * อกพ. ตามกฎหมายมี 4 ระดับ
1. กระทรวง
2. ทบวง
ตำแหน่ง = 3 ประธานแต่งตั้ง = 8 3. กรม
4 จังหวัด.
- รมว. ประธาน 1คน - คุณวุฒิ ไม่ต่ำกว่าอธิบดี 3 คน 3 = C.10
- ปลัด รองประธาน 1คน - เลือกจากข้าราชการ C.10 ขึ้นไป 5 คน 5
- ผู้แทน กพ. 1 คน
อกพ. กรม = 11 คน กพ. = 15-17
อกพ.กระทรวง = 11
อกพ.กรม = 11
ตำแหน่ง = 2 ประธานแต่งตั้ง = 9 อกพ.จังหวัด = 11
ภพร = 13
- อธิบดี ประธาน - คุณวุฒิ ไม่ต่ำกว่าผอ. รอง 3 คน = C8
- รองอธิบดีมอบหมาย 1 คน - เลือกจาก ผอ.รองขึ้นไป 6 คน = C8
อกพ.จังหวัด = 11 คน
ตำแหน่ง = 2 ประธานแต่งตั้ง = 9
- ผู้ว่า ประธาน - คุณวุฒิไมต่ำกว่า 3 คน = C8
- รองผู้ว่ามอบหมาย 1 คน - เลือก จากหัวหน้าส่วนจังหวั ด 6 คน
กพร.กรรมการพัฒนาระบบราชการ = 13 คน
ตำแหน่ง = 3 ครม.แต่งตั้ง = 10
- นายก / รองมอบหมาย ประธาน - คุณวุฒิ 10 คน = วาระ 4 ปี
- รมต 1 คน * - คุณวุฒิ 3 คน ด้วยการทำงานเต็มเวลา
* - กก.กล. 1 คน
* กพร. ไม่มีฐานะเป็นกรม ขึ้นตรงนายก
มีเลขา กพร. เทียบเท่า อธิบดี
ข้าราชการพลเรือน คือ บุคคล บรรจุ ตามพรบ. รับเงินเดือน กระทรวง ทบวงกรมฝ่ายพลเรือน
ข้าราชการพลเรือน มี 3 ประเภท 1. พลเรือนสามัญ รับเงินเดือนในอัตราสามัญ
2. พลเรือนในพระองค์ ตามกำหนด กรฎ.
3. พลเรือนประจำต่างประเทศ กรณีพิเศษ
ข้าราชการพลเรือน มี 3 ตำแหน่ง 1. ทั่วไป
2. วิชาชีพเฉพาะ , เชี่ยวชาญเฉพาะ ตามกำหนด กรฎ.
3. บริหารระดับสูง , กลาง ตามกำหนด กรฎ.
ข้าราชการพลเรือน มี 11 ระดับ
กพ. จัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
การบรรจุ
- C.11 = รมต ครม. นายกทูลแต่งตั้ง รมต.บรรจุ
- C.10 = ปลัด ครม. นายกทูลแต่งตั้ง ปลัดบรรจุ
- C.9 = ปลัดบรรจุแต่งตั้ง
- C.8 = อธิบดีบรรจุโดยขอปลัด
- C.7 = อธิบดีบรรจุแต่งตั้ง (ส่วนกลาง)
- C.7 = ผู้ว่าบรรจุแต่งตั้ง (ยกเว้นหัวหน้าส่วนประจำจังหวัด)
- โรคที่ห้าม ตาม กฎ กพ. 5 อย่าง = โรคเรื้อน , วัณโรค , โรคเท้าช้าง , ติดยาเสพติด , พิษสุรา
- ออกไปรับราชการ ทหาร ขอกลับ ภายใน 180 วัน นับแต่วันพ้น (ปลด)
- กรณีตำแหน่ง ว่าง หรือ ปฏิบัติหน้าที่ไม่ได้ และมิได้บัญญัติไว้ในพรบ. แผ่นดินให้กำหนด การรักษาการในตำแหน่ง = พลเรือน
วินัย คือ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือแบบแผนความประพฤติที่กำหนดให้ข้าราชการพึงควบคุมตนเอง และผู้ใต้บังคับ
โทษ 5 สถาน = 1. ภาคทัณฑ์
2. ตัดเงินเดือน ไม่ร้ายแรงโทษตามความเห็นผู้บังคับบัญชา
3. ลดขั้นเงิน * ทัณฑ์บน , ว่ากล่าว
4. ปลดออก ร้ายแรง ตั้งกรรมการสอบ ไม่ใช้โทษทางวินัย
5. ไล่ออก
การตัดเงินเดือน – ลดขั้น
ระดับ - กอง = 5% - 1 เดือน
- สำนัก = 5% - 2 เดือน
- ผู้ว่า , กรม = 5% - 3 เดือน ลด 1 ขั้น
การอุทธรณ์
คำสั่งต่ำกว่า
- ผู้ว่า อุทธรณ์ อกพ.จังหวัด
- อธิบดี กรม
คำสั่งของ - ผู้ว่า , อธิบดี อกพ. กระทรวง
คำสั่งของ - ปลัด นายก กพ.
* คำสั่งลงโทษ ตัด – ลดเงินเดือน อุทธรณ์ ภายใน 30 วัน นับแต่วันทราบคำสั่ง
* คำสั่งลงโทษ ปลด – ไล่ อุทธรณ์ต่อ กพ. ใน 30 วัน นับแต่วันทราบคำสั่ง
* การร้องทุกข์ กรณีถูกสั่งให้ออกไม่ว่ากรณีใดให้ ร้องทุกข์ ภายใน 30 วัน
* สนง.เลขา รมต ว่าการกระทรวง / ทบวงและสนง.ปลัดกระทรวง / ทบวง ทำหน้าที่ อกพ. กรม.
* C.10 , 11 แต่งตั้ง - ถอดถอนต้องนายกทูลเกล้า
- ตำแหน่งผู้บริหารระดับสูงกำหนดไว้ = พระราชกฤษฏิกา
- กรณีหน่วยงานเห็นว่า กพ. กำหนดแต่งตั้งไม่เหมาะสม ให้เสนอเรื่องต่อ ครม.
- ผอ.สำนักงบประมาณ C11. เป็นผู้บังคับบัญาหน่วยงานระดับกรม แต่ C11.
- ม. 68 = กำหนดการรักษาการในตำแหน่งไว้
- การโอน ผู้ว่า C10. มาดำรงตำแหน่ง รองอธิบดี C9. = ต้องได้รับอมุมัติจาก ครม.
- กรณีมี มลทิน หรือ มัวหมอง ผู้บังคับบัญชาอาจสั่งให้ออกเพื่อรับบำเหน็จ ฯ
- จรรยาบรรณข้าฯ ระบุไว้แผวพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับที่ 8
วุฒิ 200 6 < อายุ 40 > รัฐธรรมนูญ - 2840
คน รวม
ตรวจแผ่นดิน = 3 6
ตรวจเงิน = 10 6 วุฒิสนอง - วาระเดียว
กก. สิทธิ = 11 6
40 ปี กกต. = 5 7 วุฒิสนอง = วาระเดียว
45 ปี ปปช = 9 9
ศาลรัฐธรรมนูญ = 15 9 วุฒิสนอง = วาระเดียว
- กก. ศาล ยุติธรรม = 18
- ศาลปกครอง = 13 คน นายกสนอง
- กพ. = 15-17 คน
- กพร. = 13 คน
- อกพ. = 11 คน
- องค์มนตรี = 19 คน
- แผนกคดีเมือง = 9 คน
- กก. ปฏิบัติปกครอง = 11-15 คน
- กก. ข้อมูลข่าว = 24 คน
- กก. วินิจฉัย = 3 คน
- กก. ศาลยุติธรรม = 15 คน
ไม่ไว้วางใจ รมต. เสียง = 1/5
ไม่ไว้วางใจ นายก เสียง = 2/5
ไม่ไว้วางใจ ครม เสียง = 3/5
- เสอนชื่อ นายก สส. ไม่น้อย = 1/5 /ผู้นำฝ่ายค้านมีเสียง = 1/5
- เห็นชอบตั้งนายก ไม่น้อย = 1/2
- ครม. แถลงนโยบาย = 15 วัน แล้วเลขาครม ,เลขานายก,เศรษฐกิจสังคม,งบประมาณจัดทำแผน เสนอ ครม = 90 วัน 4 ปี
- ประชุมลับ = 1/4
- สภา ครบวาระ เลือกใหม่ = 45 วัน /กรณีว่างเลือกใหม่ 60 วัน สภาผู้แทนครบวาระ = 45
สภา ฯ - วุฒิครบวาระเลือกใหม่ =30 วัน /กรณีว่างเลือกใหม่ 45 วัน ยุบสภา = 60
- ยุบสภาครบวาระเลือกใหม่ =60 วัน วุฒิสภาครบ = 30
ว่าง = 45
รัฐธรรมนูญ = 11 ตุลา 2540 ปีที่ 52 ฉบับที่ 16 มี 12 หมวด 336 ม.
- * พรบ. ที่รัฐสภาเห็นชอบแล้ว นายกทูลฯ ภายใน 20 วัน
ผู้สำเร็จราชการ ฯ = ลงนามรับสนอง = ประธานรัฐสภา
= ยุบสภา = วุฒิสภา
- เปิดประชุม ปิด = พรฎ
- เลือก สส. ตราเป็น = พรบ.
- ผู้นำฝ่ายค้านมีเสียง = 1/5
- วุฒิพิจารณาร่าง ฯ ที่สภา สส. เสนอมา = 60 วัน เกิน 30 วัน/กรณีผ่านสภามาแล้วเห็นชอบ = 20 วัน
ยกร่างผ่าน 180 วัน ได้ทันที
- วุฒิ ฯ มีอำนาจถอดถอน ผู้ดำรงตำแหน่งสูง
- กกต. ครบตามวาระเลือกใหม่ = 45 วัน(อายุ 40 ปี )
- แผนนิติบัญญัติ สน. เลขา นายก + สน. กฤษฎิกา
การรักษาราชการ , การมอบอำนาจ
* ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดินระบุไว้ เรื่องการดำเนินการแทนคือ
1. การรักษาราชการแทน
2. การปฏิบัติราชการแทน
* แต่ถ้าตำแหน่งใดไม่มีบัญญัติไว้ใน พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 2534 ให้ ใช้คำว่า รักษาการ เช่น
- รักษาการในตำแหน่ง
- หมายเหตุ กรณี ปลัดจังหวัดไม่ได้บัญญัติไว้แต่คณะกรรมการกฤษฎีกาตีความไว้ให้นายอำเภอรักษาราชการแทน
- การปฏิบัติราชการแทน = การมอบอำนาจในการสั่งการให้ผู้อื่นทำแทนตนโดยทำเป็นหนังสือ
หมายเหตุ การมอบอำนาจให้แล้ว ผู้ที่ได้รับมอบ จะมอบให้คนอื่นโดยพละการไม่ได้ แต่มีข้อกรณียกเว้น ถ้าเจ้าของอำนาจที่แท้จริง เขียนบัญญัติไว้ว่า ให้ผู้ที่ได้รับมอบอำนาจไป อาจมอบอำนาจต่อให้ใคร…………ก็ได้ตามที่เจ้าของอำนาจเขียนไว้
* - กรณี ผู้ว่าได้รับมอบอำนาจมาจากผู้ที่ให้อำนาจ และผู้ว่าต้องการมอบอำนาจนั้นให้รองผู้ว่า กรณีเช่นนี้ ผู้ว่าสามารถมอบให้รองผู้ว่าได้เลย เพียงแต่แจ้งให้ผู้มีอำนาจ(เจ้าของ)ทราบเท่านั้น
- แต่ถ้าผู้ว่าจะมอบให้ปลัดจังหวัด ลงมา ผู้ว่าต้องขออนุมัติจากเจ้าของอำนาจเสียก่อนจึงจะมอบได้
* ผู้ว่าฯ สามารถมอบอำนาจให้ตั้งแต่รองผู้ว่าฯลงมา ปลัดจังหวัด หัวหน้าส่วนจังหวัด นายอำเภอ ปลัดอำเภอหัวหน้ากิ่ง หัวหน้าส่วนอำเภอ ได้ แต่ไม่สามารถให้หัวหน้าส่วนกิ่งได้
- การรักษาราชการแทน กรณี
- ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่ง นายอำเภอ ให้ผู้ว่าแต่งตั้งปลัดอำเภอ หรือหัวหน้าส่วนประจำอำเภอ รักษาราชการแทน
- มีผู้ดำรงตำแหน่งนายอำเภอ แต่ไม่อาจปฏิบัติการได้ ให้นายอำเภอแต่งตั้งปลัดอำเภอ หรือหัวหน้าส่วนประจำอำเภอ
- มิได้แต่งตั้งไว้(ผู้ว่าหรือนายอำเภอที่ได้แต่งตั้งไว้) ผู้รักษาราชการแทนไว้ให้ปลัดอำเภอรักษาราชการแทนไว้
สาระสำคัญ
อุดมการณ์ แผ่นดินธรรมแผ่นดินทอง = - พัฒนาคน
= - พัฒนาชุมชน
= - พัฒนาสังคม
= - พัฒนาหมู่บ้านชนบท
พัฒนาอย่างมีดุลยภาพ = - พัฒนาเศรษฐกิจ (1)
3 ด้าน = - พัฒนาสังคม (2)
= - พัฒนาจิตใจ (3)
- เกษตร ทษฎีใหม่ แบ่งพื้นที่สัดส่วน =30-30-20-20
- S = if Sufficient Economy = เศรษฐกิจพอเพียง (SSE)
- การแจ้งคำสั่งทางปกครอง แจ้งทางไปรษณีย์ ภายในประเทศ = 7 วัน
- อาคาร ที่อยู่มีคนมากเกินไป =1:3 ตรม.
- การเช่า ไม่ได้กำหนดระยะเวลา = 6 ปี
- การค้น = - ค้นตัวบุคคล
- ค้นสถานที่
- แผนพัฒนาอำเภอ = 3 ประเภท - แผนพัฒนาอำเภอ 5 ปี
- แผนพัฒนาอำเภอ ประจำปี
- แผน ปฏิบัติการ อำเภอประจำปี
- รมว.มท = ผอ.ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนทั่วราชอาณาจักร
- Re – X – Ry ประกาศล้างยาเสพติด = ครั้งที่ 3
คณะกรรมการสถานะการฉุกเฉิน
1. นายก / รองฯ มอบหมาย = ประธาน - มีคณะทั้งหมด รวมประธานด้วย = 19 คน
- เลขาธิการสภาความมั่นคง = เป็นเลขานุการ
- คารวาน แก้จน เริ่ม 1 สิงหาคม 2548
- Smrt crd = เริ่มตามกฏหมาย 1 กันยายน 2548 3 จังหวัดภาคใต้
- โครงการปลัดตำบล = สน. กิจการความมั่นคง ภายใน = ปลัดตำบล = 250 ตำบล 3 จังหวัดใต้
กฎหมาย
กฎหมายต้องเป็นคำสั่งหรือข้อบังคับ = มีข้อบังคับทั่วไป
1. รัฐธรรมนูญ = พรบ.ประกอบมี 7 ฉบับ
2. พระราชบัญญัติ = กษัตริย์ ตราขึ้น โดยความยินยอมของรัฐสภา พรบ. = ครม./สส = เสนอร่าง
(รัฐสภา = พิจารณา)
กษัตริย์ = ตรา
3. พระราชกำหนด = กษัตริย์ ตราขึ้น โดยคำแนะนำของนายกฯ พรก. = รมต/นายก = เสนอ
ครม = พิจารณา
กษัตริย์ = ตรา
4. พระราชกฤษฎีกา = กษัตริย์ ตราขึ้น โดยคำแนะนำของ ครม. พรฎ = รมต = เสนอ
ครม = พิจารณา
กษัตริย์ = ตรา
5. กฎกระทรวง = รมต. ดำเนินการให้เป็นไปตาม พรบ. กฎกระทรวง = รมต = เสนอ ครม = พิจารณา
รมต. = ตรา
6. กฎหมายที่ออกโดยองค์กรท้องถิ่น เทศบัญญัติ, ข้อบัญญัติจังหวัด, ข้อบัญญัติตำบล, ข้อบัญญัติกทม., ข้อบัญญัติพิทยา
- การใช้กฎหมาย ไม่มีผลย้อนหลัง ยกเว้น - ระบุไว้ในกม. นั้นเองว่าให้มีผลย้อนหลัง
- ไม่แย้งกันขัดรัฐธรรมนูญ
- การพยายามทำผิดและได้รับการยกเว้นโทษ = มี 3 กรณี
1. พยายามทำผิดลหุโทษ
2. กฎหมายบัญญัติไว้ไม่ให้รับโทษ
3. ยับยั้งเสียเอง.
* ระยะเวลารอการลงโทษ = ไม่เกิน 5 ปี
โทษทางอาญา วิธีเพิ่มความปลอดภัย
1. ริบทรัพย์ 1. กักกัน อายุความ จับไม่ได้, ไม่ได้ฟ้อง
2. ปรับ 2. ห้ามเข้าเขต - 20 ปี = ประหาร ,จำตลอด , 40 ปี ขึ้นไป
3. กักขัง 3. เรียกประกันฑันถ์บน - 15 ปี = จำ 7 ปีขึ้นไปแต่ไม่ถึง 20 ปี
4. จำคุก 4. คุมตัวไว้สถานบริการ - 10 ปี = จำ 1-7 ปี
5. ประหารชีวิต 5. ห้ามประกอบอาชีพ - 5 ปี = จำ 1เดือน – 1 ปี
- 1 ปี = จำ 1 เดือนลงมาหรืออย่างอื่น
* คดียอมความได้ = 3 เดือนรู้เรื่องรู้ตัว
* คดีอุกฉกรรณ์ = จำคุกตั้งแต่ 10ปี ขึ้นไป
- สภาพบุคคล = เริ่มตั้งแต่คลอด ทารก ตาย
- การสิ้นสุดสภาพบุคคล - ตายธรรมชาติ
- ตามตามกฎหมาย = สาบสูญ 1. ธรรมดา = 5 ปี
2. พิเศษ 2 ปี ( สิ้นสุดสงคราม,พาหนะอับปาง, อันตรายชีวิต)
- การบรรลุนิติภาวะ = 20 ปี, สมรส
ผู้เยาว์ = ผู้แทนโดยชอบธรรม
วิกลจริต = คนบ้าแต่ศาลยังไม่ได้สั่ง
คนไร้ความสามารถ = ศาลสั่งให้คนวิกลจริตแล้ว = ผู้อนุบาล ทำแทนทุกเรื่อง
คนเสมือนไร้ความสามารถ = กายพิการ, สุรุ่ยสุร่าย, ติดสุรา = ผู้พิทักษ์ ทำแทนบางเรื่อง
- ภูมิลำเนา = ถิ่นอันบุคคลนั่นมีสถานที่อยู่เป็นแหล่งสำคัญ
- ภูมิลำเนานิติบุคคล = ถิ่นอันเป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ - สาขา.
- ทรัพย์แบ่งได้ = แยกออกแล้ว แต่ละส่วนยังได้รูปบริบูรณ์
- ทรัพย์แบ่งไม่ได้ = แยกออกแล้ว เปลี่ยนสภาวะ
* - ทรัพย์นอกพาณิชย์ = ทรัพย์ที่ไม่สามารถยึดถือเอาได้, โอนไม่ได้ เช่น ที่สาธารณะ, สิ่งของที่กฎหมายห้ามโอน, ทรัพย์ให้ครอบ
- ดอกผลนิตินัย = ดอกเบี้ย กำไร ค่าเช่า ลาภอื่น ๆ ที่ได้เป็นครั้งคราว
- นิติกรรม มี 4 ประเภท
1. ต้องทำเป็นหนังสือ = สัญญาเช่า
2. เป็นหนังสือต่อ จนท. = พินัยกรรมฝ่ายเมือง ฯ
3. จดทะเบียนต่อ จนท. = จดทะเบียนห้างฯ = สมรส, หย่า
4. ต้องทำเป็นหนังสือและจดต่อ จนท. = ซื้อขายอสังหาริมทรัพย์
- โมฆะ = ตกเป็นอันเสียเปล่าบังคับไม่ได้
- โมฆะ = นิติกรรมสมบูรณ์จนกว่าจะมีการบอกล้างแล้วจึงจะเสียเปล่า เว้นแต่จะให้ (สัตยาบัน) = การแสดงการยอมรับนิติกรรม
พรบ. ระเบียบบริหารแผ่นดิน 2534 . แก้ไข ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2546
1. รวมอำนาจ 2. แบ่งอำนาจ 3. กระจายอำนาจ
ส่วนกลาง = นิติบุคคล ส่วนบุคคล ส่วนท้องถิ่น นิติบุคคล
- สำนักนายก - จังหวัด นิติบุคคล - อบจ.
- กระทรวง - อำเภอ - เทศบาล
- ทบวง - สุขาภิบาล
- กรม - พิเศษ< อบต, กทม, พัทยา>
จัดตั้งเป็นพรบ.
1 ส่วนกลาง การจัดตั้ง, รวม โอน สน.นายก เพิ่มอัตราและตำแหน่ง = พรบ.
กระทรวง
รวม โอน ทบวง ไม่เพิ่มอัตราและตำแหน่ง = พรฎ.
เปลี่ยนชื่อ,ยุบ กรม พรฎ.
2. ภูมิภาค - การจัดตั้ง ยุบ เปลี่ยนแปลงเขต จังหวัด จัดตั้ง พรบ. = นิติบุคคล
แบ่งส่วน จว. = 1. สนง, จังหวัด - ผู้ว่าสังกัด สนง.ปลัดมท.
2. ส่วนราชการประจำจังหวัด
- การจัดตั้ง ยุบ เปลี่ยนแปลงเขต อำเภอ จัดตั้ง ตรา พรฎ.
แบ่งส่วน อ. = 1. สนง. อำเภอ – นายอำเภอสังกัดกระทรวงมท. (ตามกฎหมาย) - ปลัดอำเภอ กรมการปกครอง
2. ส่วนราชการประจำอำเภอ
- นายอำเภอมีอำนาจดูแล ที่ชายตลิ่ง ทางน้ำ ทางหลวง ทะเลสาบ
- กรณีมีนายอำเภออยู่ แต่ไม่สามารถปฏิบัติราชการได้ นายอำเภอมีอำนาจแต่งตั้งคนรักษาการแทนได้
- แต่ถ้าไม่มีคนดำรงตำแหน่งนายอำเภอ ให้เป็นอำนาจของผู้ว่า แต่งตั้งคนรักษาฯแทนนายอำเภอ ไล่เสียงไปตามลำดับตั้งแต่ปลัดอำเภอก่อนลงไป
สำนักนายกรัฐมนตรี นิติบุคคล นายก ตรา พรบ. จัดตั้ง
รองนายกฯ
รมต.
ขึ้นตรานายก กพร. ขึ้น ปลัด สน.นายก
1 - เลขาธิการนายก - สนง. ปลัดฯ
2 - เลขา ครม ตรากรฎ - กรมประชาสัมพันธ์
3 - ข่าวกรอง - สนง.คุ้มครองผู้บริโภค
4 - ความมั่นคง ไม่มีฐานะเป็นกรม
5 - งบประมาณ
6 - กฤษฎีกา มีเลชาเทียบเท่าอธิบดี
7 - กพ.
8 - เศรษฐกิจสังคม
กระทรวง พรบ.จัดตั้ง นิติบุคคล
สนง. สมต - ไม่มีฐานะเป็นกรม สนง. ปลัด = เป็นกรม กรม/เรียชื่ออื่น
- เลขานุการ รมต. บังคับบัญชา
* กลุ่มภาระกิจ - ส่วนราชการระดับกรม 2 กรม ขึ้นไป
ออกเป็นกฎกระทรวง - มีหัวหน้ากลุ่มเป็น อธิบดีขึ้นไป (โดยส่วนมากจะให้รองปลัดเป็นหัวหน้า)
- ถ้าขึ้นตรงปลัดให้รายงานปลัด
- ถ้าขึ้นตรง รมต. ให้รายงานปลัดด้วย (โดยส่วนมากให้ขึ้นตรงรมต.)
- การแต่งตั้ง C.9 ในภาระกิจ(กลุ่มภาระกิจ)ให้เป็นอำนาจของปลัดหารือกันหัวหน้ากลุ่ม
* ยกเว้นกลุ่มภาระกิจของหระทรวงต่างประเภท ให้ชั้นตรงปลัดและรายงานให้ รมต. อีกทางด้วย
* งานที่ไม่อยู่ในความรับผิดชอบของกองใดกองหนึ่งโดยเฉพาะ ให้เป็นหน้าที่ของ สำนักบริหารการปกครองท้องที่
กรม นิติบุคคล จัดตั้งตรา พรบ.
สังกัดกระทรวง. ไม่สังกัดกระทรวง
กรม กรม
- สนง. เลขานุการกรม = เทียบเท่ากอง 1 - ราชเลขาธิการ
- กองหรือส่วนมีฐานะเทียบเท่า 2 - ราชวัง
3 - สน.พุทธ
4 - สน.โครงการราชดำริ ขึ้นตรง นายก
5 - สน.กก.วิจัย
6 - ราชบัณทิต
7 – ตำรวจแห่งชาติ
8 - ปปง.
9 - อัยการสูงสุด ขึ้นตรง รมว. ยุติธรรม
* เขต ปฏิบัติราชการทางวิชาการ ( มีหัวหน้าเขตรับนโยบายจากกระทรวง ทบวง กรม)
* บริการงานต่างประเทศ = คณะผู้แทน หัวหน้าคณะ
รองหัวหน้าคณะ ข้าราชการกระทรวงต่างประเทศ
กระทรวงมหาดไทย มี 8 ( 6 รัฐวิสาหกิจ) ส่วนราชการ
1. สนง. รัฐมนตรี ไม่มีฐานะเป็นกรม
2. สนง.ปลัด = กรม = เทียบเท่ากรม
3. กรมปกครอง
4. กรมพัฒนาชุมชน
5. กรมที่ดิน เป็นกรม
6. กรมป้องกันฯ
7. กรมเขต
8. กรมปกครองท้องถิ่น
7 กรม 1 หน่วยงาน
- ที่ทำการปกครองจังหวัด - กลุ่มปกครองและอำนวยฯ การสอบสวนชันสูตร
3 หน่วย = 1 กลุ่ม - ฝ่ายความมั่นคงจัดระเบียบ , อพป, อส
= 2 ฝ่าย - ฝ่ายการเงินบัญชี
- ที่ทำหารอำเภอ - ฝ่ายบริหารงานปกครอง บริงานทั่วไป -อาวุธปืน
4 ฝ่าย - ฝ่ายอำนวยฯ ธรรม ศูนย์ดำรงธรรม - ผู้มีอิทธิพล
- ฝ่ายทะเบียนบัตร
- ฝ่ายความมั่นคง จัดระเบียบสังคม , ชายแดน อพยภ, อพป , อส
* กรมการปกครอง * - 6 สำนัก
- 5 กอง
= 11 ส่วนราชการ
ส่วนกลาง (สำนัก = 6 สน.) กอง (หน่วยภายใน = 3 หน่วย)
1. สน.สอบสวนฯ ทะเบียนความมั่นคง, จัดระเบียบ 1. สนง.เลขากรม = กอง
2. สน. กิจการมั่นคงภายใน ชุนกลุ่มน้อย 2. กองการเจ้าหน้าที่ บริหารบุคคล
3. สน. บริการทะเบียน งานทะเบียนทั่วไป 3. กองคลัง จัดซื้อ – พัสดุ
4. สน. การปกครองท้องที่ กำนันผู้ใหญ่ - ความยากจน SML 4. กองสื่อสาร สื่อสาร
5. สน. อำนวยการกองรักษาดินแดน อส. 5. กองวิชาณและแผนงาน ทำงบประมาณ
6. วิทยาลัยปกครอง พัฒนาบุคลากร
= 5 สำนัก(1 เทียบเท่าสำนัก) = 4 กอง (1 เทียบเท่ากอง)
= 6 หน่วย (สำนัก) = 5 กอง
* จังหวัด จัดตั้งตรา พรบ. = นิติบุคคล
- ยุบ
- เปลี่ยนแปลง
แบ่งส่วน จว.
1. สนง. จังหวัด - ผู้ว่าสังกัด สนง ปลัด มท. แต่งตั้งผู้ว่า C.10 ต้องทูลเกล้า
- หัวหน้า สนง. จว.
- ปลัดจังหวัด กฎหมายไม่ได้ระบุสังกัดไว้
- รองผู้ว่า/ ผู้ช่วยผู้ว่า สังกัด กระทรวง
2. ส่วนราชการประจำจังหวัด
* คณะกรรมการจังหวัด = ปรึกษาแก่ผู้ว่า
= ให้ความเห็นชอบจัดทำแผน
- ผู้ว่า ประธาน
- รองผู้ว่ามอบหมาย
- ปลัดจังหวัด
- อัยการ
- ผบก.
- หัวหน้าส่วนจังหวัด
- หัวหน้าสำนักงานจังหวัด = เลขา
* อำเภอ จัดตั้ง ยุบ เปลี่ยนแปลงตรา พรฎ.
แบ่งส่วน อภ.
1. สนง. อำเภอ - นายอำเภอกฎหมายระบุกระทรวงมหาดไทย
- ปลัดอำเภอกฎหมายระบุกรมการปกครอง
2. ส่วนราชการประจำอำเภอ
อบต. ประกาศ มท.
- สภา ครบวาระ เลือกใหม่ภายใน 45 วัน / ประชุมครั้งแรกภายใน 15 วัน /ต่อไปไม่เกิน 15
ยุบสภา เลือกใหม่ภายใน 15 วัน
- นายก = 1
รอง = 2 คณะบริหาร อบต. = 3 คน * กรณีนายอำเภอไม่เห็นด้วยกับข้องบประมาณ ส่งคืน
- โทษปรับ 1,000 ร่างให้สภา อบต. ภายใน 15 วัน
- นายอำเภอ ผู้ว่า ส่ง ปลด ยุบ * นายก(ผู้บริหาร ) = ทำแผน พัฒนา อบต.
วาระ 4 ปี - เป็นนิตุบุคคล
- ผู้บริหารสมาชิกมาจากเลือกตั้ง
ท้องถิ่น - รายได้เป็รของตนเอง
อรบ วาระเลือกใหม่ 45 วัน - มีอิสระในการบริหารภานใต้กฎหมาย
ตามกฎหมาย มี 4 แบบ = อบจ. , เทศบาล, สุขาภิบาล, ตามกฎหมาย(อบต,กทม,พัทยา)
* อบจ. (พ.ศ 2549) กฎหมายกำหนดเพียงว่าให้มีอบจ. ราษฎร ไม่เกิน 500,000 = 24
เกิน 500,000 – 1,000,000 = 30 รอง 2 คน
เกิน 1,000,000 – 1,500,000 = 36
เกิน 1,500,000 – 2,000,000 = 42 รอง 3 คน
เกิน 2,000,000 = 48 รอง 4 คน
โครงสร้าง 1. สภา อบจ. ( 1 + 2 ) = 3
ประธาน รอง
ยุบเลือกใหม่ = 60 วัน
2. นายก อบจ. ที่ปรึกษาได้ 5 คน
- รอง 2 (24,30)
- รอง 3 (36 – 42)
- รอง 4 (48)
* กำหนดโทษปรับได้ไม่เกิน 10,000 / จ. 6 เดือน
- ประชุมครั้งแรก ภายใน 15 วัน
* เทศบาล จัดตั้งโดย ประกาศ มท. * คณะที่ปรึกษาเทศบาล =ปลัด มท.= ประธาน/คณะกรรมการกลาง= รมว.
โครงสร้าง 1. สภาเทศบาล (1 + 1 ) = 2
2. นายก - ตำบล 12 รองนายก (นายกเทศแต่งตั้ง) 2
- เมือง 18 รองนายก (นายกเทศแต่งตั้ง) 3
- นคร 24 รองนายก (นายกเทศแต่งตั้ง) 4 ปรช 50,000 -
การกำกับ - ผู้ว่าสามารถเสนอ รมว. มท ยุบสภา (ปลด) ได้ / กก.เทศจังหวัด มี 18 คน
เลือกใหม่ภายใน 45 วัน
- ประชุมแรกภายใน 15 วัน สมัยต่อไป 30 วัน ( มีได้ 4 สมัย )
มหาดไทย ดูแลเทศบาลโดยตรง = ตรากฤษฎีกา
เทศบาล ทำงานร่วม
เทศบาล กัน 2 เทศฯ สหการ = ตรากฤษฎีกา
* พัทยา (2542) = นายก 1 + 4 รอง ฯ = 5
พรบ. ปกครองท้องที่ 2547
บ้าน = บ้าน, แพ เรือที่จอดประจำ
เจ้าบ้าน = เจ้าของ , ผู้เช่า
หมู่บ้าน = จัดตั้งโดย ประกาศจังหวัด อนุมัติจากมท.
ตามพรบ. ปกฯ มติครม. 14 พ.ศ.2539
- คน 200 - ชุมชนหนาแน่น = คน 1,200 600 คน (แยกบ้าน = ½ 1200 = 240
- บ้าน 5 บ้าน = บ้าน 240 120 บ้าน
- ชุมชนห่างไกล = คน 600 200 คน 1/3
= บ้าน 120 40 บ้าน (600 = 120 )
- ห่างจากหมู่บ้านเดิมไม่น้อยกว่า 6 กิโลเมตร
ตำบล ประกาศ มท. จัดตั้ง
ตามพรบ. ปกครอง ฯ มติ ครม.
- หมู่บ้านรวมกัน 20 หมู่บ้าน - ชุมชนหนาแน่น = คน 4,800
- กำหนดเขตให้ขัดเจน = มีหมู่บ้าน 8 หมู่บ้าน
- ชุมชนห่างไกล = คน 3,600
= มีหมู่บ้าน 69 หมู่บ้านกระทรวงมหาดไทย มี = 8 ส่วนราชการ
= 7 กรม + 1 เทียบเท่า
กิ่งอำเภอ ประกาศ มท. จัดตั้ง
พรบ. ท้องที่ มติ ครม. 2 พ.ย. 2547
- หลายตำบลรวมกัน - คน 25,000
- มี 4 ตำบล
- ห่างจากอำเภอเดิม 20 กม.
- เห็นชอบ อบต. , หัวหน้าอำเภอ, หัวหน้าจังหวัด
อำเภอ ราชกฤษฎีกา จัดตั้ง
พรบ. ท้องที่ มติ ครม. 2 พ.ย. 2547
- หลายตำบลรวม - เป็นกิ่งมาแล้ว 5 ปี
- พระราชานุญาติ - คน 35,000
- เห็นชอบ อบจ. หัวหน้าจังหวัด
* จัดตั้งอำเภอ/กิ่ง กรณีพิเศษ = ท่องเที่ยว, ไม่สงบ , ชายแดน, ราชดำริ
ผู้ใหญ่บ้าน วาระ 5 ปี เป็นตั้งแต่วันเลือก (พญบ. ไม่อยู่ ผู้ช่วยฝ่ายปกครองรักษาการแทน แจ้งกำนัน
- สัญชาติไทยเกิด แล้วให้ผู้ว่าออกหนังสือสำคัญ เกิน 15 วัน แจ้งกำนัน แจ้งอำเภอ
- ไม่ต่ำกว่า 25 ปี
- มีชื่อ 2 ปี
* - เลือกภายใน 15 วัน นับแต่นายอำเภอทราบว่างลง ลับ/เปิดเผย 10.00 –1 5.00 น. ถ้าคะแนนเท่ากันให้ ใช้วิธีจับฉลาก
- ผู้มีสิทธิเลือก 18 ปี มีชื่อใน 3 เดือน
ผู้ใหญ่บ้านออกจากตำแหน่ง
- หมู่บ้านถูกยุบ
- ไปที่อื่นเกิน 3 เดือน
- ขอให้ออกโดย เสียง ½ ทั้งหมด