เวอร์ชันเต็ม: [-- แนวข้อสอบ พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 --]

งานราชการ แนวข้อสอบ รับราชการ ก.พ. อบต. ครูผู้ช่วย ตำรวจ ธกส -> แนวข้อสอบ อปท.เทศบาล อบต. อบจ. กทม. และท้องถิ่นต่างๆ -> แนวข้อสอบ พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 [สั่งพิมพ์] เข้าสู่ระบบ -> ลงทะเบียน -> ตอบกลับ -> ตั้งกระทู้

admin 2011-05-17 15:57

แนวข้อสอบ พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537

1. ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละกี่ปี
1.1 ปี
2.2 ปี
3.3 ปี
4.4 ปี *
--------------------------------------------------------------------------------------------------------
2. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการตั้งกระทู้ถามในการประชุมสภา อบต.
1. กระทู้ถามไม่มีการอภิปรายและไม่มีการลงมติ
2. ห้ามไม่ให้สมาชิกสภา อบต. ตั้งกระทู้ถามกันเอง
3. คณะผู้บริหารจะต้องตอบกระทู้กระทู้ถามนั้นทุกครั้ง*
4. กระทู้ถามต้องทำเป็นหนังสือเสนอล่วงหน้าต่อประธานสภา อบต.
--------------------------------------------------------------------------------
3. เขต อบต. มีจำนวน 11 หมู่บ้าน จะมีสมาชิกสภา อบต. ได้กี่คน
1. 11 คน
2. 12 คน
 3. 22 คน *
 4. 24 คน
--------------------------------------------------------------------------------
4. สมาชิกสภา อบต. จำนวนไม่น้อยกว่ากี่คน ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ มีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปในการประชุมสภา อบต. เพื่อให้นายก อบต. แถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในปัญหาเกี่ยวกับการบริหาร อบต. โดยไม่มีการลงมติ
1. หนึ่งในสอง
 2. หนึ่งในสาม *
3. สามในสี่
4. สองในสาม
--------------------------------------------------------------------------------
5. บุคคลใดเป็นผู้ประกาศเรียกประชุมสภาสมัยวิสามัญ
1. ผู้ว่าราชการจังหวัด
2. นายอำเภอ *
3. นายก อบต.
4. ประธานสภา อบต.
--------------------------------------------------------------------------------
6. บุคคลใดต่อไปนี้มิได้เป็นสมาชิกสภาตำบลโดยตำแหน่ง
1. กำนัน
2. ผู้ใหญ่บ้าน
3. แพทย์ประจำตำบล
4. สารวัตรกำนัน*
-------------------------------------------------------------------------------
7. เขต อบต. มีจำนวน 11 หมู่บ้าน จะมีสมาชิกสภา อบต. ได้กี่คน
1. 11 คน
 2. 12 คน
 3. 22 คน *
 4. 24 คน
--------------------------------------------------------------------------------
8. ข้อใดต่อไปนี้ คือคุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นนายก อบต.
1. มีอายุไม่ต่ำกว่า 30 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
2. สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือเคยเป็นสมาชิกสภาตำบล สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น หรือสมาชิกรัฐสภา
3. ไม่เป็นผู้มีพฤติกรรมในทางทุจริต หรือพ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาตำบล สมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถิ่น หรือเลขานุการหรือที่ปรึกษาของผู้บริหารท้องถิ่น เพราะเหตุที่มีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาหรือกิจการที่กระทำกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังไม่ถึงห้าปีนับถึงวันรับสมัครเลือกตั้ง
4. ถูกทุกข้อ*
--------------------------------------------------------------------------------
9. ในกรณีที่สภา อบต. ส่งร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีของ อบต. ให้นายอำเภออนุมัติ แต่ปรากฏล่วงเลยมา 20 วัน แล้วยังไม่มีคำตอบ จากนายอำเภอ ข้อบัญญัติดังกล่าวจะมีผลอย่างไร
1. ให้ถือว่านายอำเภออนุมัติร่างข้อบัญญัติดังกล่าว*
2. สภา อบต. ทวงถามขอส่งร่างข้อบัญญัตินั้นคืนมาให้สภาทบทวน
3. ร่างข้อบัญญัตินั้นเป็นอันตกไป
4. สภา อบต. นำร่างข้อบัญญัตินั้นมาทบทวนถ้ายืนยันตามร่างเดิมด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของสมาชิกสภา อบต. เท่าที่มีอยู่ให้ส่งให้นายก อบต.ประกาศใช้ข้อบัญญัตินั้นได้เลย
--------------------------------------------------------------------------------
10. บุคคลใดเป็นผู้แต่งตั้งประธานสภา อบต.
1. นายอำเภอตามมติสภา อบต.*
2. ผู้ว่าราชการตามคำเสนอของนายอำเภอ
3. อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
4. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
--------------------------------------------------------------------------------
11. บุคคลใดมีอำนาจสั่งให้มีการยุบสภา อบต. ได้ ตามกฎหมาย
1. ผู้ว่าราชการจังหวัด *
2. นายอำเภอ
3. นายก อบต.
4. ประธานสภา อบต.
--------------------------------------------------------------------------------
12. ข้อใดเป็นรายได้ที่ อบต.จัดเก็บเอง
1. ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย อากรฆ่าสัตว์และค่าธรรมเนียมรวมถึงผลประโยชน์อื่นอันเกิดจากการฆ่าสัตว์*
2. ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์และล้อเลื่อน ภาษีธุรกิจเฉพาะ
3. ค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดิน
4. ภาษีมูลค่าเพิ่ม
--------------------------------------------------------------------------------
13. บุคคลใดเป็นประธานสภาตำบล
1. กำนัน*
2. ผู้ใหญ่บ้านที่ได้รับการคัดเลือก
3. สมาชิกสภาตำบลที่ได้รับคัดเลือก
4. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
--------------------------------------------------------------------------------
14. พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล(ฉบับที่ 5) พ.ศ.2546 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อใด และมีผลบังคับใช้เมื่อไหร่
1. 2 กุมภาพันธ์ 2546 มีผลบังคับใช้ 2 พฤษภาคม 2546
2. 22 กุมภาพันธ์ 2546 มีผลบังคับใช้ 22 กุมภาพันธ์ 2546
3. 2 ธันวาคม 2546 มีผลบังคับใช้ 3 ธันวาคม 2546
4. 22 ธันวาคม 2546 มีผลบังคับใช้ 23 ธันวาคม 2546*
--------------------------------------------------------------------------------
15. กฎหมายที่ออกเพื่อใช้บังคับในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล เรียกว่า
1. ข้อบังคับตำบล
2. ข้อบังคับองค์การบริหารส่วนตำบล
3. ข้อบัญญัติตำบล
4. ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล*
--------------------------------------------------------------------------------
16. การบริหารงานในรูปแบบ อบต. นายก อบต. อาจแต่งตั้งรองนายก อบต. ได้ไม่เกินกี่คน
1. 1 คน
2. 2 คน *
3. 3 คน
4. 4 คน
--------------------------------------------------------------------------------
17. กฎหมายที่ออกเพื่อใช้บังคับในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล เรียกว่า
1. ข้อบังคับตำบล
2. ข้อบังคับองค์การบริหารส่วนตำบล
3. ข้อบัญญัติตำบล
4. ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล
--------------------------------------------------------------------------------
18. ข้อบัญญัติขององค์การบริหารส่วนตำบล ที่มีการกำหนดค่าธรรมเนียมเรียกเก็บได้ จะกำหนดโทษปรับสำหรับผู้ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามข้อบัญญัติได้ไม่เกินกี่บาท
1. 500 บาท
 2. ไม่เกิน 500 บาท
3. 1,000 บาท
 4. ไม่เกิน 1,000 บาท*
-------------------------------------------------------------------------------
19. ข้อใดมิได้เป็นลักษณะต้องห้ามของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา อบต.
1. เป็นพนักงานในบริษัทเสริมสุขจำกัด*
2. เป็นลูกจ้างของกรุงเทพมหานคร
3. เคยถูกไล่ออกจากการเป็นพนักงานของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
4. อยู่ระหว่างการเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง
--------------------------------------------------------------------------------
20. ในกรณีที่นายก อบต. ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองนายก อบต. ตามลำดับที่นายก อบต. แต่งตั้งไว้ เป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มีรองนายก หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้บุคคลใดเป็นผู้รักษาราชการแทน
1. แต่งตั้งปลัด อบต. เป็นผู้รักษาราชการแทน*
2. แต่งตั้งพนักงานส่วนตำบลเป็นผู้รักษาราชการแทน
3. แต่งตั้งประธานสภาเป็นผู้รักษาราชการแทน
4. แต่งตั้งสมาชิกสภา อบต. คนหนึ่งเป็นผู้ว่าราชการแทน
--------------------------------------------------------------------------------
21. การประชุมสภาสามัญสมัยหนึ่ง ๆ ของ อบต. มีกำหนดระยะเวลาไม่เกินกี่วัน [
1. 90 วัน
2. 60 วัน
3. 30 วัน
4. 15 วัน*
---------------------------------------------------------------------------------
22. การจัดระเบียบวาระการประชุม โดยปกติจัดลำดับการพิจารณาข้อปรึกษาในอันดับก่อนหลังดังนี้
1. รับรองรายงานการประชุม , เรื่องด่วน , ญัตติร่างข้อบัญญัติที่ค้างพิจารณา , ญัตติร่างข้อบังคับที่เสนอใหม่ , ญัตติอื่นๆ*
2. เรื่องด่วน , ญัตติร่างข้อบัญญัติที่ค้างพิจารณา , ญัตติร่างข้อบังคับที่เสนอใหม่ , ญัตติอื่นๆ , รับรองรายงานการประชุม
3. ญัตติร่างข้อบัญญัติที่ค้างพิจารณา , ญัตติร่างข้อบังคับที่เสนอใหม่ , เรื่องด่วน , ญัตติอื่นๆ , รับรองรายงานการประชุม
4. เรื่องด่วน , ญัตติร่างข้อบังคับที่เสนอใหม่ , ญัตติอื่นๆ , รับรองรายงานการประชุม , ญัตติร่างข้อบัญญัติที่ค้างพิจารณา
--------------------------------------------------------------------------------
23. ผู้อนุญาติให้ อบต. ฉัน้เงินจากกระทรวง ทบวง กรม องค์การหรือนิติบุคคลต่างๆ ได้ คือ
1. นายก อบต.
2. สภา อบต. *
3. นายอำเภอ
4. ผู้ว่าราชการจังหวัด
--------------------------------------------------------------------------------
24. ข้อใดมิได้เป็นลักษณะต้องห้ามของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา อบต.
1. เป็นพนักงานในบริษัทเสริมสุขจำกัด*
2. เป็นลูกจ้างของกรุงเทพมหานคร
3. เคยถูกไล่ออกจากการเป็นพนักงานของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
4. อยู่ระหว่างการเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง
--------------------------------------------------------------------------------
25. ข้อใดต่อไปนี้ คือคุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นนายก อบต.
1. มีอายุไม่ต่ำกว่า 30 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
2. สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือเคยเป็นสมาชิกสภาตำบล สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น หรือสมาชิกรัฐสภา
3. ไม่เป็นผู้มีพฤติกรรมในทางทุจริต หรือพ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาตำบล สมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถิ่น หรือเลขานุการหรือที่ปรึกษาของผู้บริหารท้องถิ่น เพราะเหตุที่มีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาหรือกิจการที่กระทำกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังไม่ถึงห้าปีนับถึงวันรับสมัครเลือกตั้ง
4. ถูกทุกข้อ*
--------------------------------------------------------------------------------
26. สภาองค์การบริหารส่วนตำบล ประกอบด้วยสมาชิกตามข้อใด
1. สมาชิกสภา อบต. จำนวนหมู่บ้านละ 1 คน
2. สมาชิกสภา อบต. จำนวนหมู่บ้านละ 2 คน*
3. สมาชิกสภา อบต. ตำบลละ 12 คน
4. สมาชิกสภา อบต. ตำบลละ 24 คน
--------------------------------------------------------------------------------
27. ข้อใดเป็นคุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา อบต.
1. มีชื่อในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรในหมู่บ้านของตำบลที่สมัครรับเลือกตั้งเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่าหนึ่งปีนับจนถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง
2. สัญชาติไทยโดยการเกิด
3. มีอายุไม่ต่ำกว่ายี่สิบห้าปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
4. ถูกทุกข้อ*
--------------------------------------------------------------------------------
28. ตามกฎหมายระบุให้นายก อบต. จะต้องจัดทำรายงานแสดงผลการปฏิบัติงานตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อสภา อบต. อย่างไร
1. เป็นประจำทุกปี
2. ปีละ 2 ครั้ง
3. ทุกรอบ 4 เดือน *
4. ทุกรอบ 2 ปี
--------------------------------------------------------------------------------
29. ผู้ใดเป็นผู้มีอำนาจให้ความเห็นชอบกรณีที่ อบต. ทำกิจการนอกเขตสภา อบต. หรือกรณีร่วมกับสภาตำบล อบต. หรืออบจ. หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นอื่นเพื่อทำกิจการร่วมกันได้
 1. สภา อบต.
2. นายก อบต. โดยมติสภา *
3. นายอำเภอ
4. ผู้ว่าราชการจังหวัด
--------------------------------------------------------------------------------
30. บุคคลใดเป็นประธานสภาตำบล
1. กำนัน*
2. ผู้ใหญ่บ้านที่ได้รับการคัดเลือก
3. สมาชิกสภาตำบลที่ได้รับคัดเลือก
4. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
--------------------------------------------------------------------------------
31. นอกจากสมัยประชุมสามัญแล้ว เมื่อเห็นว่าเป็นการจำเป็นเพื่อประโยชน์แก่ อบต. บุคคลใดสามารถทำคำร้องขอให้เปิดประชุมสมัยวิสามัญได้
1. ประธานสภา อบต.
2. นายก อบต.
3. สมาชิกสภา อบต. จำนวนไม่ต่ำกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกสภา อบต. เท่าที่มีอยู่
4. ถูกทุกข้อ*
--------------------------------------------------------------------------------
32. สมาชิกสภา อบต. จำนวนไม่น้อยกว่ากี่คน ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ มีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปในการประชุมสภา อบต. เพื่อให้นายก อบต. แถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในปัญหาเกี่ยวกับการบริหาร อบต. โดยไม่มีการลงมติ
1. หนึ่งในสอง
 2. หนึ่งในสาม *
3. สามในสี่
4. สองในสาม
--------------------------------------------------------------------------------
33. หากปรากฎว่านายก อบต. รองนายก อบต. ประธานสภา อบต. หรือรองประธานสภา อบต. กระทำการฝ่าฝืนต่อความสงบเรียบร้อยหรือสวัสดิภาพของประชาชน หรือละเลยไม่ปฏิบัติตามหรือปฏิบัติไม่ชอบด้วยอำนาจหน้าที่ บุคคลใดดำเนินการสอบสวนได้
1. นายอำเภอ*
2. ผู้วาราชการจังหวัด
3. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
4. อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
--------------------------------------------------------------------------------
34. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับสภาตำบล
1. มีฐานะเป็นนิติบุคคล เป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
2. สมาชิกสภาตำบลทุกคนมาจากการเลือกตั้ง
3. มีฐานะเป็นนิติบุคคล*
4. สมาชิกสภาตำบลมีหมู่บ้านละ 2 คน
--------------------------------------------------------------------------------
35. กรณีที่สภา อบต. ไม่รับหลักการร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่เสนอจะต้องดำเนินการอย่างไร
1. นายก อบต.ต้องพ้นจากตำแหน่ง
2. นายก อบต. แต่งตั้งคณะกรรมการ เพื่อพิจารณาหาข้อยุติความขัดแย้ง โดยการแก้ไขปรับปรุงในข้อบัญญัตินั้น
3. นายอำเภอประกาศยุบสภาให้มีการเลือกตั้งใหม่
4. นายอำเภอแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อพิจารณาหาข้อยุติความขัดแย้ง โดยการแก้ไขปรับปรุงในข้อบัญญัตินั้น*
--------------------------------------------------------------------------------
36. บุคคลใดเป็นผู้แต่งตั้งและถอดถอนเลขานุการสภาตำบล
1. ประธานสภาตำบล
2. สภาตำบล
3. นายอำเภอตามมติของสภาตำบล*
4. ผู้ว่าราชการจังหวัด
--------------------------------------------------------------------------------
37. ข้อใดต่อไปนี้ คือคุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นนายก อบต.
1. มีอายุไม่ต่ำกว่า 30 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
2. สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือเคยเป็นสมาชิกสภาตำบล สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น หรือสมาชิกรัฐสภา
3. ไม่เป็นผู้มีพฤติกรรมในทางทุจริต หรือพ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาตำบล สมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถิ่น หรือเลขานุการหรือที่ปรึกษาของผู้บริหารท้องถิ่น เพราะเหตุที่มีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาหรือกิจการที่กระทำกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังไม่ถึงห้าปีนับถึงวันรับสมัครเลือกตั้ง
4. ถูกทุกข้อ*
--------------------------------------------------------------------------------
38. บุคคลผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา อบต. ต้องมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขต อบต. ติดต่อกันเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่าเท่าใด นับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง
1. สามเดือนจนถึงวันเลือกตั้ง
2. หกเดือนจนถึงวันเลือกตั้ง
3. หนึ่งปีจนถึงวันเลือกตั้ง*
4. ไม่มีข้อใดถูก
--------------------------------------------------------------------------------
39. ข้อใดมิได้เป็นเงินรายได้ของ อบต.
1. เงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรให้
2. รายได้จากทรัพย์สินของ อบต.
3. เงินค่าธรรมเนียมที่เก็บจากผู้มาพักโรงแรม*
4. เงินค่าบริการน้ำประปาแก่ประชาชน
-------------------------------------------------------------------------------
40. นอกจากสมัยประชุมสามัญแล้ว เมื่อเห็นว่าเป็นการจำเป็นเพื่อประโยชน์แก่ อบต. บุคคลใดสามารถทำคำร้องขอให้เปิดประชุมสมัยวิสามัญได้
1. ประธานสภา อบต.
2. นายก อบต.
3. สมาชิกสภา อบต. จำนวนไม่ต่ำกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกสภา อบต. เท่าที่มีอยู่
4. ถูกทุกข้อ*
--------------------------------------------------------------------------------
41. ผู้อนุญาติให้ อบต. ฉัน้เงินจากกระทรวง ทบวง กรม องค์การหรือนิติบุคคลต่างๆ ได้ คือ
1. นายก อบต.
2. สภา อบต. *
3. นายอำเภอ
4. ผู้ว่าราชการจังหวัด
--------------------------------------------------------------------------------
42. ข้อบัญญัติขององค์การบริหารส่วนตำบล ที่มีการกำหนดค่าธรรมเนียมเรียกเก็บได้ จะกำหนดโทษปรับสำหรับผู้ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามข้อบัญญัติได้ไม่เกินกี่บาท
1. 500 บาท
 2. ไม่เกิน 500 บาท
3. 1,000 บาท
 4. ไม่เกิน 1,000 บาท*
--------------------------------------------------------------------------------
43. การบริหารงานในรูปแบบ อบต. นายก อบต. อาจแต่งตั้งรองนายก อบต. ได้ไม่เกินกี่คน
1. 1 คน
2. 2 คน *
3. 3 คน
4. 4 คน
--------------------------------------------------------------------------------
44. บุคคลใดมีหน้าที่กำกับดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของ อบต. ตามกฎหมายนี้
1. ผู้ว่าราชการจังหวัด
3. นายอำเภอ *
4. นายก อบต.
5. ประธานสภา อบต.
--------------------------------------------------------------------------------
45. พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล(ฉบับที่ 5) พ.ศ.2546 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อใด และมีผลบังคับใช้เมื่อไหร่
1. 2 กุมภาพันธ์ 2546 มีผลบังคับใช้ 2 พฤษภาคม 2546
2. 22 กุมภาพันธ์ 2546 มีผลบังคับใช้ 22 กุมภาพันธ์ 2546
3. 2 ธันวาคม 2546 มีผลบังคับใช้ 3 ธันวาคม 2546
4. 22 ธันวาคม 2546 มีผลบังคับใช้ 23 ธันวาคม 2546*
--------------------------------------------------------------------------------
46. บุคคลใดเป็นเลขานุการสภาตำบล
1. กำนัน
2 .ผู้ใหญ่บ้านที่ได้รับการคัดเลือก
3.สมาชิกสภาตำบลที่ได้รับคัดเลือก
4.ข้าราชการที่ปฏิบัติงานในตำบลนั้นหรือบุคคลอื่นที่มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายกำหนด*
--------------------------------------------------------------------------------
47. บุคคลใดเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานส่วนตำบลและลูกจ้าง อบต.
1. นายก อบต. *
2. ประธานสภา อบต.
3. ปลัด อบต.
4. รองนายก อบต.


จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น อปท. ใหม่ล่าสุด
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ

ประกอบด้วย 247 หน้า 
- แนวข้อสอบความสามารถทางด้านเหตุผล (คณิตศาสตร์)
- แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย
- แนวข้อสอบ เหตุการณ์ การเมืองเศรษฐกิจและ สังคมในปัจจุบัน
ความรู้พื้นฐานในการปฎิบัติราชการ
แนวข้อสอบ พรบ. ระเบียบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติม
- แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
- แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล
- แนวข้อสอบ พ.ร.ก ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
- แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบัญ
ภาค ข. เลือกตามตำแหน่งที่สอบ
แนวข้อสอบ อบจ.เทศบาล อบต. ระดับ 1 
แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี 
แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่ประปา 
แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้ 
แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่ธุรการ 
แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล 
แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 
แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่พัสดุ 
แนวข้อสอบช่างไฟฟ้า 
แนวข้อสอบช่างโยธา 
แนวข้อสอบช่างสำรวจ 
และตำแหน่งอื่นๆ 
แนวข้อสอบ อบจ.เทศบาล อบต. ระดับ 2 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานการเงินและบัญชี 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานประปา 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานพัฒนาชุมชน 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานพัสดุ 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานส่งเสริมสุขภาพ 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานสุขาภิบาล 
แนวข้อสอบนายท่างเขียนแบบ 
แนวข้อสอบนายช่างไฟฟ้า 
แนวข้อสอบนายช่างโยธา 
แนวข้อสอบนายช่างสำรวจ 
และตำแหน่งอื่นๆ 
แนวข้อสอบ อบจ.เทศบาล อบต. ระดับ 3 
แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน 
แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่ระบบคอมพิวเตอร์ 
แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 
แนวข้อสอบนักพัฒนาชุมชน 
แนวข้อสอบนักวิชาการเกษตร 
แนวข้อสอบนักวิชาการคลัง 
แนวข้อสอบนักวิชาการเงินและบัญชี 
แนวข้อสอบนักวิชาการจัดเก็บรายได้ 
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา 
แนวข้อสอบนักวิชาการส่งเสริมสุขภาพ 
แนวข้อสอบนักวิชาการสุขาภิบาล 
แนวข้อสอบนักสังคมสงเคราะห์ 
แนวข้อสอบนิติกร 
แนวข้อสอบบุคลากร 
แนวข้อสอบวิศวโยธา 
แนวข้อสอบสถาปนิก 
แนวข้อสอบสันทนาการ


สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

[font=arial                              ]ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 

ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com



admin 2013-02-16 08:43
ข้อสอบถามตอบ พนังงานส่วนตำบล
1.  งบประมาณรายจ่ายประจำปีขององค์การบริหารส่วนตำบลจัดทำเป็นพระราชบัญญัติ
    ก. ข้อบังคับ    ข. ระเบียบ
    ค.ข้อบัญญัติ    ง. พระราชบัญญัติ
    ตอบ ค.ข้อบัญญัติ
2. ข้อใดคือนิยามของ "งบประมาณ" ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
    ก. กิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงานที่กำหนดไว้ในแต่ละแผน
    ข. แผนงาน หรืองานสำหรับงบประมาณการด้านรายรับและรายจ่ายแสดงตัวเลขจำนวนเงิน การตั้งงบประมาณ คือ การแสดงแผนดำเนินงานออกเป็นตัวเลขจำนวนเงิน
    ค.  ภารกิจ แต่ละด้านที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละรูปแบบ
    ง. ถูกทุกข้อ:
    ตอบ  ข. แผนงาน หรืองานสำหรับงบประมาณการด้านรายรับและรายจ่ายแสดงตัวเลขจำนวนเงิน การตั้งงบประมาณ คือ การแสดงแผนดำเนินงานออกเป็นตัวเลขจำนวนเงิน
3. ข้อใดคือนิยามของ "แผนงาน" ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2541
    ก.  กิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงานที่กำหนดไว้ในแต่ละแผน
    ข. แผนงาน หรืองานสำหรับงบประมาณการด้านรายรับและรายจ่ายแสดงตัวเลขจำนวนเงิน การตั้งงบประมาณ คือ การแสดงแผนดำเนินงานออกเป็นตัวเลขจำนวนเงิน
    ค. ภารกิจ แต่ละด้านที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละรูปแบบ
    ง.  ถูกทุกข้อ
    ตอบ  ก.  กิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงานที่กำหนดไว้ในแต่ละแผน
4.  ในกรณีที่งบประมาณประจำปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ออกใช้ไม่ทันปีงบประมาณใหม่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นจะดำเนินการอย่างไร
    ก. ไม่มีการเบิกจ่ายใดๆ ทั้งสิ้น
    ข. นำร่างงบประมาณรายจ่ายประจำปีของปีที่ล่วงมาแล้วมาใช้ไปพลางก่อน
    ค. นำงบประมาณรายจ่ายประจำปีของปีที่ล่วงมาแล้วมาใช้ไปพลางก่อน
    ง. นำร่างงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่กำลังอยู่ในระหว่างพิจารณามาใช้ไปพลางก่อน
    ตอบ  ค. นำงบประมาณรายจ่ายประจำปีของปีที่ล่วงมาแล้วมาใช้ไปพลางก่อน
5.  บุคคลในตำแหน่งใด เป็น เจ้าหน้าที่งบประมาณ
    ก. นายกองค์การบริหารส่วนตำบล
    ข. ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล
    ค. เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน
    ง. เจ้าหน้าที่พัสดุ
    ตอบ  ข. ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล
6.  ข้อใดไม่ใช้รายจ่ายประจำ ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2541
    ก. หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ
    ข. หมวคค่าจ้างชั่วคราว
    ค. หมวดเงินค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ
    ง. หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
    ตอบ  ง. หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
7. ข้อใดคือรายจ่ายเพื่อการลงทุน ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2541
    ก.  หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ    ข. หมวคค่าจ้างชั่วคราว
    ค. หมวดเงินค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ    ง.หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง:4
    ตอบ  ง.หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
8. ข้อใดสามารถเบิกจ่ายได้ แม้งบประมาณรายจ่ายประจำปี ออกใช้ไม่ทัน
    ก. ค่าครุภัณฑ์    ข. งบลงทุน
    ค. ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง    ง. ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ:4
    ตอบ   ง. ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ
9. ข้อใด ไม่ใช่ หน่วยงานราชการส่วนท้องถิ่น
    ก. อำเภอ    ข. เทศบาล
    ค. องค์การบริหารส่วนตำบล    ง. องค์การบริหารส่วนจังหวัด:1
    ตอบ  ก. อำเภอ
10.  งบประจำรายจ่ายประจำปีขององค์การบริหารส่วนตำบลจัดทำเป็น
    ก.  พระราชบัญญัติ    ข. ข้อบัญญัติ
    ค. ระเบียบ    ง. ข้อบัญญัติ
    ตอบ  ข. ข้อบัญญัติ
11. บุคคลใดมีอำนาจสั่งยุบสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
    ก. ประธานกรรมการบริหาร    ข. ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
    ค. นายอำเภอ    ง. ผู้ว่าราชการจังหวัด
    ตอบ  ง. ผู้ว่าราชการจังหวัด
12. องค์กรบริหารส่วนตำบลมีฐานะเป็น
    ก.  ราชการส่วนท้องถิ่น    ข. ราชการส่วนภูมิภาค
    ค. องค์กรอิสระ    ง. ราชการส่วนกลาง
    ตอบ  ก.  ราชการส่วนท้องถิ่น
13. ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละกี่
    ก. 1 ปี    ข. 2 ปี
    ค. 3 ปี    ง.:4 ปี
    ตอบ  ง. 4 ปี
14. ถ้าองค์การบริหารส่วนตำบลหนึ่งมีจำนวน 2 หมู่บ้าน จะมีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลได้กี่คน
    ก.  4 คน    ข. 6 คน
    ค. 10 คน    ง. 12 คน
    ตอบ  ข. 6 คน
15.  ข้อใดไม่ใช่ส่วนบริหารราชการส่วนกลาง
    ก. กรุงเทพมหานครฯ    ข. สำนักนายกรัฐมนตรี
    ค. กระทรวง ทบวง    ง. กรม
    ตอบ  ก. กรุงเทพมหานครฯ
16.  ใครมีอำนาจกำกับดูแลการปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วนตำบล
    ก.  นายอำเภอ    ข. ผู้ว่าราชการจังหวัด
    ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย    ง. อธิบดีกรมการปกครอง
    ตอบ  ก.  นายอำเภอ
17.  ใครมีอำนาจเรียกประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบลสมัยสามัญประจำปี
    ก. นายอำเภอ    ข. ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
    ค. ผู้ว่าราชการจังหวัด    ง. ประธานกรรมการบริหาร
    ตอบ  ข. ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
18. ข้อใดเป็นรายได้ที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล    
    ก. ภาษีบำรุงท้องที่    ข. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน
    ค. ภาษีสรรพสามิต    ง. ถูกทุกข้อ
    ตอบ  ง. ถูกทุกข้อ
19. การประชุมสภา อบต.สมัยสามัญหนึ่งๆ ให้มีกำหนดไม่เกินสิบห้าวัน แต่สามารถขยายเวลาออกไปอีกจะต้องได้รับอนุญาติจากใคร
    ก. นายอำเภอ    ข. ประธานสภา อบต
    ค. ผู้ว่าราชการจังหวัด    ง. อธิบดีกรมการปกครอง
    ตอบ  ก. นายอำเภอ
20:ข้อใดเป็นอำนาจหน้าที่ของสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
    ก. ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาตำบล
    ข. พิจารณาและให้ความเห็นชอบร่างข้อบังคับตำบล
    ค. ควบคุมการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริหาร
    ง. ถูกทุกข้อ
    ตอบ  ง. ถูกทุกข้อ
21.  ในปีหนึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลจะมีสมัยประชุมสามัญไม่เกินกี่สมัย
    ก. 2 สมัย    ข. 3 สมัย
    ค. 4 สมัย    ง. 5 สมัย
    ตอบ  ค. 4 สมัย
22. ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลต้องมีอายุกี่ปี
    ก. อายุไม่ต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์    ข.  อายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์
    ค. อายุไม่ต่ำกว่า 30 ปีบริบูรณ์    ง. อายุไม่ต่ำกว่า 35 ปีบริบูรณ์:2
23:ข้อใดไม่ใช่วิธีการในการจัดซื้อจัดจ้างของส่วนราชการ
    ก.  ตกลงราคา    ข.สอบราคา
    ค. จ้างเหมาราคา    ง. ประกวดราคา
    ตอบ  ค. จ้างเหมาราคา
24.  การจัดซื้อจัดจ้างโดยวีธีตกลงราคาจะต้องมีวงเงินไม่เกินเท่าไร
    ก. 10,000  บาท    ข.  50,000  บาท
    ค. 100,000  บาท    ง. 500,000  บาท
    ตอบ  ค. 100,000  บาท
25.  ข้อใดเป็นรายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบล
    ก. เงินอุดหนุนจากรัฐบาล    
    ข. ภาษีอากร
    ค. ค่าธรรมเนียม ค่าปรับ ค่าใบอนุญาต ตามกฎหมายกำหนด
    ง. ถูกทุกข้อ
    ตอบ   ง. ถูกทุกข้อ
26.  "หนังสือภายใน" หมายถึง
    ก. หนังสือที่ติดต่อภายในจังหวัดเดียวกัน
    ข. หนังสือที่ติดต่อภายในกรมเดียวกัน
    ค. หนังสือที่ติดต่อภายในกระทรวงเดียวกัน
    ง. ถูกทุกข้อ
    ตอบ   ง. ถูกทุกข้อ
27.  ข้อใดเป็นหนังสือประชาสัมพันธ์
    ก. บันทึกข้อความ    ข. ข้อบังคับ
    ค. ประกาศ    ง. คำสั่ง
    ตอบ  ค. ประกาศ
28. ลักษณะของผู้ที่จะทำงานสารบรรณได้ดีคือ
    ก. ผู้มีความรู้ภาษไทยดี    
    ข. ผู้รู้ระเบียบงานสารบรรณดี
    ค. ผู้ที่สามารถติดต่อ โต้ตอบ ประสานงานคล่องแคล่ว ว่องไว
    ง. ถูกทุกข้อ:4
29. ในงานสารบรรณ "หนังสือ" หมายถึง
    ก. หนังสือเรียน    ข. หนังสือราชการ
    ค. หนังสือนอกหลักสูตร    ง. หนังสือทุกประเภท
    ตอบ  ข. หนังสือราชการ
30. บรรดาข้อความทั้งหลายที่ผู้มีอำนาจหน้าที่กำหนดใช้โดยอาศัยอำนาจของกฎหมายเรียกว่าอะไร
    ก. คำสั่ง    ข. ข้อบังคับ
    ค. ระเบียบ    ง. กฎกระทรวง
    ตอบ  ก. คำสั่ง
31. บรรดาข้อความทั้งหลายที่ทางราชการเห็นสมควรเผยแพร่ให้ประชาชนทราบโดยทั่วไป เรียกว่าอะไ
    ก. แถลงการณ์    ข. ประกาศ
    ค. คำสั่ง     ง. ข่าว
    ตอบ  ข. ประกาศ
32.  หนังสือติดต่อระหว่างส่วนราชการ หรือส่วนราชการถึงหน่วยงานอื่นซึ่งมิใช่หน่วยงานราชการหรือมีถึงบุคคลภายนอก คือ
    ก.  หนังสือภายใน
    ข. หนังสือภายนอก
    ค. หนังสือประทับตรา
    ง. หนังสือที่เจ้าหน้าที่จัดทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐาน
    ตอบ  ข. หนังสือภายนอก
33. การเก็บเอกสารที่ดีที่สุดควรปฏิบัติอย่างไร
    ก. เก็บเอกสารที่มีระบบเดียวตลอด    ข. เก็บเอกสารที่มีอุปกรณ์พร้อม
    ค. เก็บเอกสารไว้อย่างเป็นระบบ    ง. เก็บเอกสารให้เป็นปัจจุบัน
    ตอบ  ง. เก็บเอกสารให้เป็นปัจจุบัน
34.  จุดประสงค์ที่สำคัญในการจัดเก็บเอกสารอย่างมีระบบไว้ในที่เดียวกัน คือ
    ก. ค้นหาเอกสารได้ทันท่วงที
    ข. เพื่อความปลอดภัยและเอกสารจะอยู่อย่างเป็นระเบียบ
    ค. เพื่อรวบรวมเอกสารไว้ในแหล่งที่มีผู้รับผิดชอบเป็นสัดส่วน
    ง. ถูกทุกข้อ
    ตอบ   ง. ถูกทุกข้อ
35. จดหมายราชการ ไม่ควรใช้สำนวนในข้อใด
    ก. ภาษานักประพันธ์หรือภาษาพูด    ข. ถูกต้องตามสากลนิยม
    ค. เรียบร้อย    ง. สุภาพ
    ตอบ   ก. ภาษานักประพันธ์หรือภาษาพูด
36. คำตอบในข้อใดที่จัดไม่เข้าพวกกับคำตอบในข้ออื่น ๆ
    ก. ตี    ข. ตบ
    ค. เตะ    ง. ต่อย
    ตอบ  ค. เตะ
37.  คำตอบในข้อใดที่จัดไม่เข้าพวกกับคำตอบในข้ออื่น ๆ
    ก. โต    ข. จิ๋ว
    ค. นิด    ง. เล็ก
    ตอบ  ก. โต
38. คำตอบในข้อใดที่จัดไม่เข้าพวกกับคำตอบในข้ออื่น ๆ
    ก. ฉิ่ง    ข. ซอ
    ค. กลอง    ง. ระนาด
    ตอบ   ข. ซอ
39.  คำตอบในข้อใดที่จัดไม่เข้าพวกกับคำตอบในข้ออื่น ๆ
    ก. มะขาม    ข. มะยม
    ค. มะปราง    ง. มะนาว
    ตอบ   ง. มะนาว
40.  คำตอบในข้อใดที่แตกต่างจากข้ออื่น
    ก. น้ำพึ่งเรือเสือพึ่งป่า    ข. ลิ้นกับฟัน
    ค. ขิงก็ราข่าก็แรง    ง. เกลือจิ้มเกลือ
    ตอบ  ก. น้ำพึ่งเรือเสือพึ่งป่า

สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

[font=arial                              ]ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 

ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com


admin 2013-02-16 08:48
1.     พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ได้ประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษาเมื่อใด
    ก.    2  มกราคม 2532    ข.  12  มกราคม 2532
    ค.    2  ธันวาคม 2537    ง.    22  ธันวาคม 2537
    ตอบ        ค.  พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ได้ประกาศใช้ใน
    ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2537
2.    พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อ
    ก.    พ้นกำหนด เก้าสิบวันนับแต่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป
    ข.    พ้นกำหนด หนึ่งร้อยยี่สิบวัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป
    ค.    พ้นกำหนด หนึ่งร้อยแปดสิบวัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
    ง.    พ้นกำหนด สองร้อยสี่สิบวัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
    ตอบ    ก.  พรบ. สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 มาตรา 2 พ้นกำหนดเก้าสิบวันนับแต่
    ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป
3.    มาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ได้บัญญัติให้ยกเลิก
    กฎหมายใด
    ก.    ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 326    ข.    ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 327
    ค.    ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 328    ง.    ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 316
    ตอบ    ง.  พรบ. สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 มาตรา 3 ให้ยกเลิกประกาศของ
    คณะปฏิวัติ ฉบับที่ 326 ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2515
4.    คำว่า “หน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น”  มิได้รวมถึงข้อใด
    ก.    เทศบาล    ข.    สุขาภิบาล
    ค.    องค์การบริหารส่วนจังหวัด    ง.    ถูกทั้ง ก.  และ ข.
    ตอบ    ค.  “หน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น” หมายความว่า เทศบาล สุขาภิบาล และราชการ
    ส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้น แต่ไม่รวมถึงองค์การบริหารส่วนจังหวัด    
5.    ผู้ใดไม่ใช่สมาชิกสภาตำบล ตามความหมายในพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล
    ก.    กำนัน    ข.    ผู้ใหญ่บ้าน
    ค.    แพทย์ประจำตำบล    ง.    ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
    ตอบ    ง.  มาตรา 7 สภาตำบลประกอบด้วยสมาชิกโดยตำแหน่ง ได้แก่ กำนัน ผู้ใหญ่บ้านของทุกหมู่บ้าน
    ในตำบล และแพทย์ประจำตำบล และสมาชิกซึ่งได้รับเลือกตั้งจากราษฎรในแต่ละหมู่บ้านในตำบลนั้น
    เป็นสมาชิกสภาตำบลหมู่บ้านละหนึ่งคน
6.    บุคคลใดเป็นสมาชิกสภาตำบลโดยตำแหน่ง
    ก.    กำนัน    ข.    แพทย์ประจำตำบล
    ค.    ผู้ใหญ่บ้าน    ง.    ถูกทุกข้อ
    ตอบ    ง.  มาตรา 7 สภาตำบลประกอบด้วยสมาชิกโดยตำแหน่ง ได้แก่ กำนัน ผู้ใหญ่บ้านของทุกหมู่บ้าน
    ในตำบล และแพทย์ประจำตำบล และสมาชิกซึ่งได้รับเลือกตั้งจากราษฎรในแต่ละหมู่บ้านในตำบลนั้น
    เป็นสมาชิกสภาตำบลหมู่บ้านละหนึ่งคน
7.    ใครเป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
    ก.    นายอำเภอ    ข.    ผู้ว่าราชการจังหวัด
    ค.    รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย    ง.    นายกรัฐมนตรี
    ตอบ    ค.  มาตรา 5 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
8.    ผู้ใดมีหน้าที่จัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาตำบลได้
    ก.    นายอำเภอ    ข.    ผู้ใหญ่บ้าน
    ค.    ผู้ว่าราชการจังหวัด    ง.    นายกรัฐมนตรี
    ตอบ    ก.  มาตรา 10 ให้นายอำเภอจัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาตำบลซึ่งได้รับเลือกตั้งตามหลักเกณฑ์
    และวิธีการกำหนดในระเบียบของกระทรวงมหาดไทย
9.    สมาชิกสภาตำบลซึ่งได้รับเลือกตั้งมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละกี่ปี
    ก.    2 ปี        ข.    3 ปี
    ค.    4 ปี        ง.    5 ปี
    ตอบ    ค.  มาตรา 11 สมาชิกสภาตำบลที่ได้รับเลือกตั้งมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปีนับแต่วันเลือกตั้ง
10.    บุคคลใดเป็นประธานสภาตำบลโดยตำแหน่ง
    ก.    กำนัน    ข.    ผู้ใหญ่บ้าน
    ค.    แพทย์ประจำตำบล    ง.    ถูกทุกข้อ
    ตอบ    ก.  กำนัน
            มาตรา 16  สภาตำบลมีกำนันเป็นประธานสภาตำบลคนหนึ่ง ซึ่งนายอำเภอแต่งตั้งจากสมาชิก
    สภาตำบลตามมติของสภาตำบล
11.    รองประธานสภาตำบลมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละกี่ปี
    ก.    2 ปี        ข.    3 ปี
    ค.    4 ปี        ง.    5 ปี
    ตอบ    ค.  4 ปี
            มาตรา 16 วรรค 2  รองประธานสภาตำบลมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี
12.    เมื่อตำแหน่งสมาชิกสภาตำบลซึ่งได้รับเลือกตั้งว่างลง เพราะเหตุอื่นใดนอกจากครบวาระหรือมีการยุบ
    สภาตำบล ให้มีการเลือกตั้งแทนตำแหน่งที่ว่างลงภายในกำหนดกี่วัน
    ก.    30 วัน        ข.    60 วัน
    ค.    90 วัน        ง.    120 วัน
    ตอบ    ข.  60 วัน
        มาตรา 14  เมื่อตำแหน่งสมาชิกสภาตำบลที่ได้รับเลือกตั้งว่างลง เพราะเหตุอื่นใด นอกจากครบวาระ
หรือมีการยุบสภาตำบล ให้มีการเลือกตั้งแทนตำแหน่งที่ว่างภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ตำแหน่งว่างลง
เว้นแต่วาระการดำรงตำแหน่งที่เหลืออยู่ไม่ถึงหนึ่งร้อยแปดสิบวันจะไม่ดำเนินการเลือกตั้งขึ้นแทนตำแหน่ง
ที่ว่างก็ได้
13.    ในการประชุมสภาตำบลในหนึ่งเดือนต้องมีไม่น้อยกว่ากี่ครั้งและในแต่ละครั้งจะต้องมีสมาชิกสภาตำบล
    จำนวนเท่าใด เข้าประชุมจึงจะเป็นองค์ประชุม    
ก.    1 ครั้ง, หนึ่งในสามของจำนวนสมาชิกทั้งหมดที่มีอยู่
ข.    2 ครั้ง, สองในสามของจำนวนสมาชิกจำนวนทั้งหมด
ค.    1 ครั้ง, ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกสภาตำบลทั้งหมดที่มีอยู่
ง.    ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ    ค.  1 ครั้ง, ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกสภาตำบลทั้งหมดที่มีอยู่
    มาตรา 18  ให้มีการประชุมสภาตำบลไม่น้อยกว่าเดือนละหนึ่งครั้ง การประชุมต้องมีสมาชิกสภา
ตำบลมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกสภาตำบลทั้งหมดเท่าที่มีอยู่จึงเป็นองค์ประชุม
14.    ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ บุคคลใดเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญาข้อใด
    ถูกต้องที่สุด    
    ก.    สมาชิกสภาตำบล    ข.    เลขานุการสภาตำบล
    ค.    ผู้ว่าราชการจังหวัด    ง.    สมาชิกสภาตำบล และเลขานุการสภาตำบล
    ตอบ    ง.  สมาชิกสภาตำบล และเลขานุการสภาตำบล
            มาตรา 21  ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้สมาชิกสภาตำบลและเลขานุการสภาตำบล
    เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา

สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

[font=arial                              ]ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 

ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com


admin 2013-02-16 08:50
1. พรบ. สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล บังคับใช้วันที่
ก. 2 มีนาคม 2538             ข. 2 เมษายน 2538
ค. 2 มีนาคม 2537             ง. 2 เมษายน 2537
2. พรบ. สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล บังคับใช้เมื่อพ้นกำหนดกี่วัน
ก. 90 วัน                 ข. 120 วัน
ค. 180 วัน                 ง. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
3. ข้อใดไม่ใช่หน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
ก. เทศบาล                 ข. สุขาภิบาล
ค. ราชส่วนท้องอื่น             ง. อบจ.
4. ใครเป็นผู้รักษาราชการตาม พรบ. นี้
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง     ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์     ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
5. สภาตำบลมีฐานะเป็น
ก. สมาคม                 ข. มูลนิธิ
ค. นิติบุคคล                 ง. องค์การ
6. ผู้ใดไม่ใช่สมาชิกสภาตำบลโดยตำแหน่ง
ก. กำนัน                 ข. สารวัตกำนัน
ข. ผู้ใหญ่บ้าน                 ง. แพทย์ประจำตำบล
7. ใครเป็นผู้จัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาตำบล
ก. กำนัน                 ข. ผู้ว่าราชการจังหวัด
ค. ท้องถิ่นจังหวัด             ง. นายอำเภอ
8. สมาชิกสภาตำบลมีวาระในการดำรงตำแหน่งคราวละกี่ปี
ก. 4 ปีนับแต่วันเลือกตั้ง             ข. 4 ปีนับแต่วันสมัครเลือกตั้ง
ค. 4 ปีนับแต่วันที่ครบวาระ         ง. 4 ปีนับแต่วันที่ตำแหน่งนั้นว่างลง
9. เมื่อสภาตำบลมีมติให้สมาชิกผู้ใดพ้นจากตำแหน่งต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเท่าใด
ก. 1 ใน 3                 ข. 2 ใน 3
ค. 1 ใน 4                 ง. 1 ใน 2
10.เมื่อสมาชิกสภาตำบลมิได้อยู่ในหมู่บ้านติดต่อกันเกิน 6 เดือน ใครมีอำนาจสั่งให้พ้นจากตำแหน่งได้
ก. กำนัน                     ข. ผู้ว่าราชการจังหวัด
ค. สมาชิกไม่น้อยกว่า 1 ใน 4             ง. นายอำเภอ
11. เมื่อสมาชิกสภาตำบลว่างลงเพราะครบวาระให้มีการเลือกตั้งภายในกี่วัน
ก. 30                         ข. 45
ค. 60                         ง. 15
12. เมื่อสมาชิกสภาตำบลว่างลงเพราะเหตุอื่นให้มีการเลือกตั้งภายในกี่วัน
ก. 30                         ข. 45
ค. 60                         ง. 15
13. ใครเป็นประธานสภาตำบล
ก. สมาชิก อบต. ที่ได้รับเลือก             ข. สมาชิกสภาตำบลที่ได้รับเลือก
ค. กำนัน                     ง. นายอำเภอ
14. เงินค่าตอบแทนประธานสภาตำบล รองประธานสภาตำบล ให้ทำตามกฎหมายใด
ก. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย            ข. ระเบียบกระทรวงการคลัง
ค. ประกาศกระทรวงมหาดไทย             ง. ประกาศสภาตำบล
15. งบประมาณร่ายจ่ายประจำปีของสภาตำบลให้ทำเป็นอะไร
ก. ญัตติ                         ข. ข้อบัญญัติ
ค. ข้อบังคับ                     ง. ระเบียบ
16. การจัดตั้ง อบต. ต้องมีเงินรายได้เฉลี่ย 3 ปีไม่น้อยกว่าเท่าใด
ก. 100,000 บาท                     ข. 150,000 บาท
ค. 130,000 บาท                     ง. 1,500,000 บาท
17. การจัดตั้ง อบต. ให้ทำเป็นอะไร
ก. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย             ข. ประกาศกระทรวงมหาดไทย
ค. ข้อบังคับกระทรวงมหาดไทย             ง. ประกาศองค์การบริหารส่วนตำบล
18. องค์การบริหารส่วนตำบลประกอบด้วย
ก. สภา อบต. และ นายก อบต.            
ข. พนักงานส่วนตำบล และ นายก อบต.
ค. สภาตำบล และ นายก อบต.
ง. พนักงานส่วนตำบล นายก อบต. และ สภา อบต.
19. โดยปกติองค์การบริหารส่วนตำบล จะมีสมาชิกมา อบต หมู่บ้านละกี่คน
ก. 3 คน                         ข. 2 คน
ค. 6 คน                         ง. กี่คนก็ได้ตามมติของสภา
20. ราษฎรในตำบลต้องการให้สมาชิก อบต. ผู้ใดพ้นจากตำแหน่งต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเท่าใด
ก. 1 ใน                         2 ข. 1 ใน 4
ค. 2 ใน 3                     ง. 3 ใน 4
21. ผู้ใดเป็นคนแต่งตั้งประธานสภา อบต.และรอง ประธานสภา อบต.
ก. นายอำเภอ                     ข. นายก อบต.
ค. ผู้ว่าราชการจังหวัด                 ง. สมาชิกไม่น้อยกว่า 2 คน
22. เมื่อประธานสภา อบต. และรองประธานสภา อบต. ว่างลงเพราะครบวาระให้มีการเลือกตั้งภายในกี่วัน
ก. 15 วัน                     ข. 30 วัน
ค. 45 วัน                     ง. 60 วัน
23. จงเติมข้อความต่อไปนี้ เมื่อนายก อบต. ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองนายก อบต.                                 เป็นผู้....................
ก. ปฏิบัติราชการแทน                 ข. รักษาราชการแทน
ค. ปฏิบัติหน้าที่แทน                 ง. รักษาการแทน
24. ในหนึ่งปีให้สมาชิก อบต. มีสมัยประชุมสามัญกี่สมัย
ก. 2 สมัย                     ข. 2 สมัยหรือหลายสมัย
ค. 2 สมัย – 4 สมัย                 ง. 2 สมัยหรือหลายสมัยแต่ไม่เกิน 4 สมัย
25. การประชุมสมัยหนึ่ง ๆ กำหนดให้ไม่เกินกี่วัน
ก. 15 วัน                     ข. 30 วัน
ค. 45 วัน                     ง. 60 วัน
26. ผู้ที่ไม่สามารถขอเปิดประชุมสมัยวิสามัญได้ คือใคร
ก. ปลัด อบต.                     ข. ประธานสภา อบต.
ค. นายก อบต.                     ง. สมาชิก อบต. ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
27. ผู้สมัครรับเลือกตั้งนายก อบต. ต้องมีอายุไม่น้อยกว่าเท่าใด
ก. 25 ปี                         ข. 30 ปี
ค. 35 ปี                         ง. 40 ปี
28. นายก อบต. มีวาระในการดำรงตำแหน่งคราวละกี่ปี
ก. 4 ปี วาระเดียว                     ข. 4 ปี
ค. 4 ปีแต่ไม่เกิน 2 วาระ                 ง. 4 ปี แต่ไม่เกิน 3 วาระ
29. ภายหลังการเลือกตั้ง นายกต้องแถลงนโยบายต่อสภา อบต. ภายในกี่วัน
ก. 15 วัน                     ข. 30 วัน
ค. 45 วัน                     ง. 60 วัน
30. ขอใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของ อบต.
ก. พัฒนาตำบลด้านเศรษฐกิจ             ข. พัฒนาตำบลด้านการเมือง
ค. พัฒนาตำบลด้านสังคม                 ง. พัฒนาตำบลด้านวัฒนธรรม

สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

[font=arial                              ]ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 

ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com



เวอร์ชันเต็ม: [-- แนวข้อสอบ พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 --] [-- top --]


Powered by PHPWind v7.5 SP3 Code ©2003-2010 PHPWind
Time 0.017980 second(s),query:3 Gzip enabled

You can contact us