ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : สมัครงาน สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา เปิดรับสมัคร (8 – 15 พ.ย. 2556)
decho ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

สมัครงาน สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา เปิดรับสมัคร (8 – 15 พ.ย. 2556)

แชร์กระทู้นี้

เปิดรับสมัครสอบ พนักงานราชการ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ตั้งแต่: (8 – 15 พ.ย. 2556)
 

สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา เปิดรับสมัครสอบ พนักงานราชการ

★★★★★★★★★★★★★★★★★★★
ตำแหน่ง: (รวม 91 อัตรา) พนักงานบริการ,พนักงานพัสดุ,พนักงานเรียงพิมพ์,เจ้าหน้าที่ด้านการเงินและ สวัสดิการ,พนักงานสนับสนุนการประชุม,ช่างภาพ,พนักงานซ่อมบำรุง(ช่าง ไฟฟ้า,อิเล็กทรอนิกส์,โยธา)ผู้สื่อข่าว,นักสื่อสารมวลชน,นักวิชาการผลิตสื่อ โสตทัศน์,นักวิชาการจัดการระบบข้อมูล,นักวิชาการด้านการเงินและสวัสดิการ, นักเอกสารสนเทศ,นักจดหมายเหตุ,นักวิชาการสนับสนุนเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร,นักวิชาการสนับสนุนงานด้านกฎหมาย,นักวิชาการสนับสนุนงานนิติบัญญัติ ด้านกฎหมาย,นักวิชาการสนับสนุนงานนิติบัญญัติด้านวิชาการ
ระดับการศึกษา: ม.ต้น  ปวช.  ปวส.  ปริญญาตรี  ปริญญาโท 
อัตราเงินเดือน: 10,430-21,000
อัตราว่าง: 91
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพ
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 8 – 15 พ.ย. 2556 
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**




วิธีการสมัครงานพนักงานราชการ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา :ขอและยื่นใบสมัครด้วยตนเอง 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ: 20 พ.ย. 2556
สอบวันที่:   2556
ประกาศผลสอบ:   2556
 ดาวน์โหลดรายละเอียด/ประกาศรับสมัครสอบ คลิกที่นี่!!

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา

รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ

ความรู้เกี่ยวกับสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
แนวข้อสอบ  ความรู้เกี่ยวกับรัฐสภาของไทย
แนวข้อสอบระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภาว่าด้วยพนักงานราชการ 2548
แนวข้อสอบ ข่าว และเหตุการณ์ปัจจุบัน  การเมืองเศรษฐกิจและ สังคม
การสอบสัมภาษณ์
แนวข้อสอบความเหมาะสมกับตำแหน่ง เลือกตามตำแหน่งที่สอบ
  • พนักงานบริการ
  • พนักงานพัสดุ,
  • พนักงานเรียงพิมพ์,
  • เจ้าหน้าที่ด้านการเงินและ สวัสดิการ,
  • พนักงานสนับสนุนการประชุม,
  • ช่างภาพ,
  • พนักงานซ่อมบำรุง(ช่าง ไฟฟ้า,อิเล็กทรอนิกส์,โยธา)
  • ผู้สื่อข่าว,นักสื่อสารมวลชน,นักวิชาการผลิตสื่อ โสตทัศน์,
  • นักวิชาการจัดการระบบข้อมูล,
  • นักวิชาการด้านการเงินและสวัสดิการ, 
  • นักเอกสารสนเทศ,นักจดหมายเหตุ,
  • นักวิชาการสนับสนุนเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร,
  • นักวิชาการสนับสนุนงานด้านกฎหมาย,
  • นักวิชาการสนับสนุนงานนิติบัญญัติ ด้านกฎหมาย,
  • นักวิชาการสนับสนุนงานนิติบัญญัติด้านวิชาการ
สนใจสั่งซื้อมาที่  โทร 085-0127724 
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย  ในราคาเพียงชุดละ   399 บาท 

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ 399- 

หนังสือ+ MP3  ราคา 679  บาท

กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ  เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 ธ.กสิกรไทย 
สาขาบิ๊กซีขอนแก่น ชื่อบัญชี 
เดโช  พระกาย  ออมทรัพย์ 
โอนเงินแล้วแจ้งที่ 
decho.by@hotmail.com

decho ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

 แนวข้อสอบ  ความรู้เกี่ยวกับรัฐสภาของไทย

1. รัฐสภาของประเทศไทยกำเนิดขึ้นเมื่อวันที่เท่าใด

ก. 19  กันยายน  พ.ศ. 2517           ค.  5  พฤศจิกายน  พ.ศ. 2513        

ข. 28  มิถุนายน  พ.ศ. 2475          ง.   1  กันยายน     พ.ศ. 2475        

ตอบ  ข. 28  มิถุนายน  พ.ศ. 2475

2. ข้อใดคือภาษาอังกฤษของ “รัฐสภา”

ก. The  National  Assembly         ค. The State Ceremony

ข. Khana  Rasadorn                        ง. The House of Representatives

ตอบ  ก.  The  National  Assembly

3. ประธานรัฐสภาคนปัจจุบันของไทยคือใคร

ก. นายชัย ชิดชอบ                           ค. นายยงยุทธ ติยะไพรัช

ข. นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์       ง. นายโภคิน พลกุล

ตอบ  ข. นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์

4. จากอดีตจนถึงปัจจุบัน รัฐสภาไทย มีผู้ดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา รวมทั้งหมดกี่คน

ก. 18  คน                                           ค.   28  คน

ข. 29  คน                                           ง.   30  คน

ตอบ  ค.   28  คน

5. ประเทศไทยใช้ระบบสภาใด

ก.  สภาเดี่ยว                                      ค. สภาคู่

ข. สภาสูง                                           ง. สภาล่าง

ตอบ ค. สภาคู่

ระบบสภาคู่หรือระบบสองสภา  เป็นระบบการปกครองที่มีองค์นิติบัญญัติสององค์หรือมีรัฐสภาสองสภา ดังนั้น ระบบสองสภา หรือ สององค์นิติบัญญัติจึงประกอบด้วย 2 องค์ประชุมคือสภาสูงและสภาล่าง ระบบสองสภานับเป็นหัวใจสำคัญของรูปแบบคลาสสิกของรัฐบาลผสม องค์นิติบัญญัติแบบสองสภาจึงจำเป็นต้องมีเสียงข้างมากในการผ่านกฎหมาย

 

6. รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันบัญญัติให้รัฐสภาประกอบด้วยอะไรบ้าง

ก. วุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร

ข. วุฒิสภา

ค. ผู้แทนราษฎร

ง. ไม่มีข้อถูก

ตอบ  ก. วุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร

7. ข้อใดคือเว็บไซต์ของรัฐสภา

ก. [url]www.parliament.go.th[/url]

ข. [url]www.parliament.com[/url]

ค. [url]www.library2.parliament.go.th/museum/know.html[/url]

ง. [url]www.parment.co.th/[/url]

ตอบ  ก. [url]www.parliament.go.th[/url]

decho ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา

รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ

ความรู้เกี่ยวกับสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
แนวข้อสอบ  ความรู้เกี่ยวกับรัฐสภาของไทย
แนวข้อสอบ ข่าว และเหตุการณ์ปัจจุบัน  การเมืองเศรษฐกิจและ สังคม
การสอบสัมภาษณ์
กระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
แนวข้อสอบข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. 2551
แนวข้อสอบระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภาว่าด้วยพนักงานราชการ 2548
แนวข้อสอบ  ความรู้เกี่ยวกับรัฐสภาของไทย
- ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. 2553
- แนวข้อสอบ ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2551

       สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย  ในราคาเพียงชุดละ   399 บาท 

       ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ 399- หนังสือ+ MP3  ราคา 679  บาท

       กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ 
       เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 ธ.กสิกรไทย
 
       สาขาบิ๊กซีขอนแก่น ชื่อบัญชี 
เดโช  พระกาย  ออมทรัพย์ 
       โอนเงินแล้วแจ้งที่ 
decho.by@hotmail.com

decho ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
แนวข้อสอบ  ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภา
ว่าด้วยพนักงานราชการ  พ.ศ. ๒๕๔๘
1.    ส่วนราชการสังกัดรัฐสภาหมายถึงหน่วยงานใด
ก.  สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา            ข.  สำนักงานกฎหมายและระเบียบส่วนราชการ
ค.  สำนักงานส่วนราชการฝ่ายรัฐสภา        ง.  สำนักงานกฎหมายส่วนราชการ
ตอบ    ก.  สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
    ข้อ ๓   ในระเบียบนี้
“ส่วนราชการสังกัดรัฐสภา” หมายความว่า สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา หรือสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น ตามมาตรา ๖ (๓) แห่งพระราชบัญญัติจัดระเบียบปฏิบัติราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดระเบียบปฏิบัติราชการฝ่ายรัฐสภา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕
“หัวหน้าส่วนราชการสังกัดรัฐสภา” หมายความว่า เลขาธิการวุฒิสภา หรือเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร หรือหัวหน้าส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น ตามมาตรา ๖ (๓) แห่งพระราชบัญญัติจัดระเบียบปฏิบัติราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดระเบียบปฏิบัติราชการฝ่ายรัฐสภา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่งเป็นผู้ว่าจ้างพนักงานราชการ
“พนักงานราชการ” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับการจ้างตามสัญญาจ้างโดยได้รับค่าตอบแทนจากงบประมาณของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา เพื่อเป็นพนักงานของรัฐในการปฏิบัติงานให้กับส่วนราชการสังกัดรัฐสภานั้น
“สัญญาจ้าง” หมายความว่า สัญญาจ้างพนักงานราชการตามระเบียบนี้
2.    หัวหน้าส่วนราชการสังกัดรัฐสภาหมายถึงหน่วยงานใด
ก.  หัวหน้าพนักงานราชการ            ข.  เลขาธิการวุฒิสภา
ค.  เลขาคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภา    ง.  เลขาคณะกรรมการฝ่ายรัฐสภา
ตอบ    ข.  เลขาธิการวุฒิสภา
    ดูคำอธิบายข้อข้างต้น
3.    “ก.ร.”  ย่อมาจากข้อใดต่อไปนี้
ก.  คณะกรรมการฝ่ายรัฐสภา            ข.  คณะกรรมการข้าราชการ
ค.  คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภา        ง.  คณะกรรมการรักษาการ
ตอบ    ค.  คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภา
    คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภา  มีชื่อย่อว่า  ก.ร.
4.    คุณสมบัติของผู้ซึ่งจะได้รับการจ้างเป็นพนักงานราชการคือข้อใด
ก.  มีอายุไม่ต่ำกว่าสิบแปดปี            ข.  มีอายุไม่ต่ำกว่ายี่สิบปี
ข.  มีอายุไม่ต่ำกว่ายี่สิบสามปี            ง.  มีอายุไม่ต่ำกว่ายี่สิบห้าปี
ตอบ    ก.  มีอายุไม่ต่ำกว่าสิบแปดปี
    ข้อ ๘   ผู้ซึ่งจะได้รับการจ้างเป็นพนักงานราชการ  ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้
(๑)    มีสัญชาติไทย
(๒)    มีอายุไม่ต่ำกว่าสิบแปดปี
(๓)    ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
(๔)    ไม่เป็นผู้มีกายทุพพลภาพจนไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ไร้ความสามารถ หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือเป็นโรคตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา
(๕)    ไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง กรรมการพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง
(๖)    ไม่เป็นผู้เคยต้องรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เพราะกระทำความผิดอาญาเว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๗)    ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ
(๘)    ไม่เป็นข้าราชการหรือลูกจ้างของส่วนราชการสังกัดรัฐสภาหรือส่วนราชการอื่น พนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานอื่นของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือพนักงานหรือลูกจ้างของราชการส่วนท้องถิ่น
(๙)    )  คุณสมบัติหรือลักษณะต้องห้ามอื่นตามที่ส่วนราชการสังกัดรัฐสภากำหนดไว้ในประกาศการสรรหาหรือการเลือกสรรบุคคลเพื่อจ้างเป็นพนักงานราชการ ทั้งนี้ ต้องเป็นไปเพื่อความจำเป็นหรือเหมาะสมกับภารกิจของส่วนราชการสังกัดรัฐสภานั้น
ความใน (๑) ไม่ให้ใช้บังคับกับพนักงานราชการชาวต่างประเทศซึ่งส่วนราชการสังกัดรัฐสภาจำเป็นต้องจ้างตามข้อผูกพันหรือตามความจำเป็นของภารกิจของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา
ในกรณีที่เห็นสมควร ก.ร. อาจประกาศกำหนดคุณสมบัติหรือลักษณะต้องห้ามเพิ่มขึ้นหรือกำหนดแนวทางปฏิบัติของส่วนราชการสังกัดรัฐสภาในการจ้างพนักงานราชการเพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการกำหนดให้มีพนักงานราชการตามระเบียบนี้
5.    คุณสมบัติข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของพนักงานราชการ
ก.  มีสัญชาติไทย                ข.  อายุต่ำกว่าสิบแปดปี
ค.  ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย            ง.  ไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
ตอบ    ข.  อายุต่ำกว่าสิบแปดปี
    ดูคำอธิบายข้อข้างต้น
6.    ระเบียบฉบับนี้ประกาศไว้ ณ วันที่เท่าใด
ก.  วันที่ ๑๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘        ข.  วันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘
ค.  วันที่ ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๘            ง.  วันที่ ๑๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๘
ตอบ    ค.  วันที่ ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๘
7.    ประธานรัฐสภาคนปัจจุบันคือใคร
ก.  นายโภคิน  พลบุตร                ข.  นายโภคิน  พลกุล
ค.  นายภาคิน  พลบุตร                ง.  นายภาคิน  พลกุล
ตอบ    ข.  นายโภคิน  พลกุล
8.    ในระหว่างสัญญาจ้าง  พนักงานราชการผู้ใดประสงค์จะลาออกจากการปฏิบัติงานให้ยื่นหนังสือขอลาออกต่อบุคคลใด
ก.  ส่วนราชการสังกัดรัฐสภา            ข.  ประธานรัฐสภา
ค.  คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภา        ง.  หัวหน้าส่วนราชการสังกัดรัฐสภา
ตอบ    ง.  หัวหน้าส่วนราชการสังกัดรัฐสภา
    ข้อ ๒๙  ในระหว่างสัญญาจ้าง  พนักงานราชการผู้ใดประสงค์จะลาออกจากการปฏิบัติงานให้ยื่นหนังสือขอลาออกต่อหัวหน้าส่วนราชการสังกัดรัฐสภาตามหลักเกณฑ์ที่ส่วนราชการสังกัดรัฐสภากำหนด
9.    การกระทำความผิดในข้อใดถือว่าเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
ก.   กระทำความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ราชการ
ข.   จงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย  ระเบียบ  ข้อบังคับ  จนเป็นเหตุให้ทางราชการได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง
ค.  ประมาทเลินเล่อจนเป็นเหตุให้ทางราชการได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง
ง.   ถูกทั้ง ข้อ ก. ข. และ ค.
ตอบ    ง.  ถูกทั้ง ข้อ ก. ข.  และ  ค.
    ข้อ ๒๔  การกระทำความผิดดังต่อไปนี้  ถือว่าเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
(๑)    กระทำความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ราชการ
(๒)    จงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือเงื่อนไขที่ทางราชการกำหนดให้ปฏิบัติจนเป็นเหตุให้ทางราชการได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง
(๓)    ปฏิบัติหน้าที่โดยประมาทเลินเล่อจนเป็นเหตุให้ทางราชการได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง
(๔)    ไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดในสัญญา หรือขัดคำสั่งหรือหลีกเลี่ยงไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชาตาม ข้อ ๒๒ จนเป็นเหตุให้ทางราชการได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง
(๕)    ประมาทเลินเล่อจนเป็นเหตุให้ทางราชการได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง
(๖)    ละทิ้งหรือทอดทิ้งการทำงานเป็นเวลาติดต่อกันเกินกว่าเจ็ดวัน สำหรับตำแหน่งที่ส่วนราชการสังกัดรัฐสภากำหนดวันเวลาการมาทำงาน
(๗)    ละทิ้งหรือทอดทิ้งการทำงานจนทำให้งานไม่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนดจนเป็นเหตุให้ทางราชการได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง สำหรับตำแหน่งที่ส่วนราชการสังกัดรัฐสภากำหนดการทำงานตามเป้าหมาย
(๘)    ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง หรือกระทำความผิดอาญาโดยมีคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกหรือหนักกว่าโทษจำคุก
(๙)    ดูหมิ่น เหยียดหยาม สมาชิกรัฐสภาหรือประชาชนผู้มาติดต่อราชการอย่างร้ายแรง
(๑๐)    การกระทำอื่นใดที่ส่วนราชการสังกัดรัฐสภากำหนดว่าเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

กรุณาใช้ข้อความที่สุภาพ คุณสามารถบันทึกฉบับร่างได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้