ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : แนวข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
decho ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ

แชร์กระทู้นี้


1. ข้อใดหมายถึงลักษณะทางพันธุกรรม
 ก. ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ควบคุมโดยยีน
 ข. ลักษณะซึ่งถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปยังรุ่นต่อไป
 ค. ลักษณะสืบเนื่องกันไปโดยอาศัยเซลล์สืบพันธุ์เป็นสื่อกลาง
 ง. ถูกทุกข้อ
2. พันธุศาสตร์ศึกษาเกี่ยวกับอะไร
 ก. พฤติกรรมของยีน
 ข. ความแปรผันของลักษณะต่าง ๆ
 ค. ตัวการถ่ายทอดลักษณะจากพ่อแม่ไปยังลูก
 ง. ถูกทั้งข้อ ก และข้อ ข
3. ข้อใดหมายถึงรูปหรือแบบของยีนที่ควบคุมลักษณะ
 ก. อัลลีน
 ข. จีโนไทป์
 ค. ฟีโนไทป์
 ง. เซลล์สืบพันธุ์
4. คำกล่าวข้อใดที่สนับสนุนความหมายของพันธุกรรมมากที่สุด
 ก. จะดูนางก็ให้ดูแม่
 ข. ผลไม้ย่อมหล่นไม่ไกลต้นเสมอ
 ค. กาก็ต้องเป็นกาจะเป็นหงส์ไม่ได้
 ง. พ่อแม่เป็นอย่างไร ลูกก็มักเป็นอย่างนั้น
5. ข้อใดกล่าวถึงยีนไม่ถูกต้อง
 ก. มีตำแหน่งอยู่บนโครโมโซม
 ข. ลักษณะของยีนถูกกระทำให้เกิดผันแปรได้
 ค. แต่ลักษณะของสิ่งมีชีวิตถูกควบคุมโดยยีนเพียงยีนเดียวเท่านั้น
 ง. การแสดงแต่ละลักษณะของสิ่งมีชีวิต มักควบคุมโดยยีนอย่างน้อย 2 อัลลีน
6. ข้อความใดให้ความหมายเกี่ยวกับยีนได้ชัดเจนที่สุด
 ก. 1 ยีน คือ 1 จีโนไทป์
 ข. 1 ยีน คือ 1 โครโมโซม
 ค. 1 ยีน คือ ทวีคูณของ 3 เบส
 ง. 1 ยีน คือ สายของ DNA ที่ถอดรหัสให้พอลิเพปไทป์
7. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะทางพันธุกรรม
 ก. ตาบอดสี
 ข. โลหิตจาง
 ค. ศีรษะล้าน
 ง. ความประพฤติ
8. ปัจจัยใดที่มีผลต่อพันธุกรรมของคน
 ก. อาหาร
 ข. มิวทาเจน
 ค. การออกกำลังกาย
 ง. ถูกทั้งข้อ ก และข้อ ข
9. คำกล่าวใดถูกต้อง
 ก. มิวเทชันมีทั้งประโยชน์และโทษ
 ข. แสงสว่างและอาหารเป็นอิทธิพลภายในต่อพันธุกรรม
 ค. ความผิดปกติเนื่องมาจากจำนวนโครโมโซมได้รับอิทธิพลจากสิ่งภายนอก
 ง. อิทธิพลจากสิ่งแวดล้อมภายในเท่านั้นที่มีอิทธิพลต่อลักษณะทางพันธุกรรม
10. คำกล่าวใดถูกต้องมากที่สุด
 ก. มิวเทชันเกิดได้เฉพาะเซลล์สืบพันธุ์เท่านั้น
 ข. สิ่งแวดล้อมทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมได้
 ค. บริเวณเซลล์ร่างกายทั่ว ๆ ไป ไม่สามารถเกิดมิวเทชันได้
 ง มิวเทชันที่เซลล์สืบพันธุ์จะถ่ายทอดลักษณะที่เปลี่ยนแปลงไปสู่ลูกหลานได้
11. เชื้อไรโซเบียมเป็นสิ่งมีชีวิตประเภทใด
  ก. รา  ข. ไวรัส  ค. ยีสต์  ง. แบคทีเรีย
12. พืชตระกูลถั่วจะตรึงไนโตรเจนได้ดีในช่วงใด
  ก. สร้างใบ   ข. สร้างเมล็ด
   ค. สร้างดอก   ง. สร้างราก
13. ถ้าฝนแล้ง
  ก. ปลูกพืชคลุมดิน
 ข. ปลูกพืชตระกูลถั่ว
ท่านจะมีวิธีรักษาความชุ่มชื้นของดินอย่างไร
  ค. ปลูกพืชหมุนเวียน
 15. การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร จำเป็นต้องนำเทคโนโลยีต่าง ๆ มาใช้
การกระทำในข้อใดที่
  ง. ใส่ปุ๋ย
 14. ถ้าท่านจะปลูกพืชหมุนเวียน ต้องคำนึงถึงอะไร
  ก. ความต้องการของตลาด
 ข. อายุของพืช
  ค. เลือกพืชให้เหมาะกับฤดูกาล
  ง. ถูกทุกข้อ  ค. การปรับปรุงพันธุ์
  ก. การชลประทาน
 ข. การป้องกันศัตรูพืช
 ก. จิบเบอเรลลิน
 ข. อีเทรล  ค. ออกซิน  ง. เอทิลีน
  ก. ไข่  ตัวหนอน   ข. ตัวหนอน  ดักแด้
ไม่ใช่การใช้เทคโนโลยี
  ก. การปรับปรุงดินและการใช้ปุ๋ย
ข. การผสมพันธุ์พืชและสัตว์ให้มีคุณภาพ
  ค. การใช้เครื่องทุ่นแรง
 ง. การขยายเนื้อที่เพาะปลูก
16. หนอนผีเสื้อต้นรัก
มีระยะการเจริญเติบโตช่วงใดนานที่สุด
  ค. ดักแด้ ตัวเต็มวัย  ง. ตัวเต็มวัย ไข่
 17. ข้อใดคือความหมายของการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี
  ก. ใช้สารเคมีฉีดพ่นแมลงศัตรูพืช
  ข. ใช้สิ่งมีชีวิตทำลายสิ่งมีชีวิต
  ค. การใช้เครื่องมือประยุกต์กำจัดศัตรูพืช
   ง. การทำลายส่วนต่างๆ ของพืชที่แมลงอาศัยอยู่
 18. การควบคุมศัตรูพืช และสัตว์ที่นิยมใช้กันมากที่สุดในปัจจุบัน คือวิธีใด
  ก. ใช้สารเคมี
  ข. ใช้เครื่องมือทางกล
  ค. ใช้เครื่องมือประยุกต์
  ง. ใช้วิธีชีวภาพ
 19. สารในข้อใดที่ช่วยเร่งการสุกของผลไม้
  ก. จิบเบอเรลลิน   ข. ไซโทไคนิน
 ค. เอทิลีน   ง. ออกซิน
20. การใช้สารเคมีกับพืชเร่งให้พืชเจริญงอกงามจะต้อง
  ก. ใช้สารเคมีในปริมาณน้อยๆ ก็พอ 
ข. ใช้สารเคมีในปริมาณมาก ๆ จึงได้ผล
  ค. ใช้ในปริมาณไม่มากไม่น้อยจนเกินไป
 ง. ต้องลองใช้ดูก่อนได้ผลแล้วจึงใช้จริงจัง
21. ในปัจจุบันการปรับปรุงพันธุ์พืชโดยวิธีใดที่ต้องอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาช่วย
  ก. การโน้มกิ่งการติดตา 
ข. การต่อกิ่ง การตอน
  ค. การเพาะเมล็ดการปักชำ 
ง. การตัดต่อยีน และการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
 22. ส่วนใดของพืชที่สามารถนำมาใช้ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อได้
  ก. ยอดอ่อน   ข. ตาอ่อน
ค. อับละอองเรณู   ง. ถูกทุกข้อ
 23. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช นิยมใช้กับพืชในข้อใด
  ก. พืชที่ขยายพันธุ์ได้ทีละน้อย
 ข. พืชที่มีปัญหาเรื่องโรคที่ติดมากับท่อนพันธุ์
  ค. พืชที่มีปัญหาเรื่องการขยายพันธุ์
 ง. ถูกทุกข้อ
 24. ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อต้องนำกลุ่มเซลล์เนื้อเยื่อเจริญไปเลี้ยงในอาหารสูตรสำเร็จเพื่ออะไร
  ก. กระตุ้นให้เกิดรากและลำต้น
 ข. เร่งให้ออกดอกออกผล
  ค. เร่งให้ลำต้นและรากเจริญเติบโต
 ง. ให้กลุ่มเซลล์เนื้อเยื่อเจริญกลายเป็นแคลลัส
25. สิ่งสำคัญที่สุดที่ต้องระมีดระวังในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชคือข้อใด
  ก. เทคนิคปลอดเชื้อ
 ข. เทคนิคการตัดแบ่งเนื้อเยื่อ
  ค. เทคนิคการเคลื่อนย้ายเนื้อเยื่อ
 ง. เทคนิคการเตรียมอาหารเพาะเลี้ยง
 26. ทุเรียนไร้หนาม สามารถทำได้โดยวิธีการอย่างไร
  ก. ใช้สารเคมีทาที่หนามเมื่อทุเรียนอายุได้30-45 วัน หลังดอกบาน
  ข. ใช้ถุงสีน้ำตาลหุ้มดอกทุเรียนไว้ก่อนที่จะกลายเป็นผล
  ค. ใช้มีดสะกิดหนามออกเมื่อทุเรียนอายุได้30-45 วัน หลังดอกบาน
  ง. ฉีดฮอร์โมนให้หนามร่วงเมื่อทุเรียนอายุได้30-45วัน หลังดอกบาน
27. ถ้ามีความจำเป็นต้องปลูกพืชบนที่เนินจะมีวิธีป้องกันการชะล้างหน้าดินได้โดยวิธีใด
  ก. ปลูกพืชแบบขั้นบันได
 ข. ปลูกพืชหมุนเวียน
  ค. ปลูกพืชคลุมดิน
 ง. ปลูกพืชสลับ
 28. สารเคมีที่ใช้เร่งผลผลิตของพืชให้มากกว่าปกติหรือเร่งให้ผลผลิตนอกฤดูกาลส่วนใหญ่มีวิธีใช้อย่างไร
  ก. พ่น   ข. ทา  ค. บ่ม ง. รด
 29. สารเคมีชิดใดช่วยเร่งน้ำยางในต้นยางพารา
 30. ในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรต้องอาศัยเทคโนโลยีในด้านใด
 ง. ถูกทุกข้อ


สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 
ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

 

คำค้นที่เกี่ยวข้อง: javascript:;
decho ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
แผนภาพ การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
1. ปัจจัยที่ทำให้พืชตอบสนองต่อสิ่งเร้ามีอะไรบ้าง (ตัวอย่างคำตอบ แสง เสียง การสัมผัส)
เทคโนโลยีชีวภาพ (1 ข้อ 1 คะแนน)
2. เทคโนโลยีชีวภาพ หมายถึง การนำความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ตั้งแต่การขยายและปรับปรุงพันธุ์สิ่งมีชีวิตต่างๆ การนำผลผลิตจากสิ่งมีชีวิตไปแปรรูปเป็นอาหารหรือยา รวมถึงกระบวนการใช้สิ่งมีชีวิต เพื่อแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้จุลินทรีย์ ในการบำบัดน้ำเสีย เป็นต้น
2.1 จงยกตัวอย่างเทคนิคที่ใช้เทคโนโลยีชีวภาพ (ตัวอย่างคำตอบ 1. การโคลน การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช 3. พันธุวิศวกรรม)
2.2 นักเรียนคิดว่าสมัยก่อนมีเทคโนโลยีชีวภาพหรือไม่ อย่างไร (ในสมัยก่อนมีเทคโนโลยีชีวภาพแล้วคือ การทำอาหารหมักดอง ซีอิ๊ว เต้าเจี้ยว หรือยาปฏิชีวนะ ซึ่งเป็นการนำเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการนำสิ่งมีชีวิตและผลผลิตที่เกิดขึ้นมาใช้ประโยชน์ทั้งสิ้น)
สารและสมบัติของสาร (1 ข้อ 1 คะแนน)
3. ยกตัวอย่าง ดังนี้
ความร้อน โต๊ะ ปากกา เก้าอี้ เสียง
ต้นไม้ แสง คน หลอดไฟ สัตว์ต่างๆ
3.1 สิ่งที่เหมือนกัน คือ (ทั้งโต๊ะ เก้าอี้ ต้นไม้ และสัตว์ต่างๆ เพราะ (ล้วนเป็นสิ่งที่มีมวล ต้องการที่อยู่และสัมผัสได้)
3.2 สิ่งที่แตกต่างกัน คือ (โต๊ะ และเก้าอี้) เพราะ เป็นสิ่งไม่มีชีวิต และ (ต้นไม้ และสัตว์ต่างๆ) เพราะ เป็นสิ่งมีชีวิต)
การเปลี่ยนสถานะของสาร (3 ข้อ 7 คะแนน)
4. สารละลาย คืออะไร ( 1 คะแนน)
เฉลย
สารละลาย คือ สารเนื้อเดียวที่ประกอบด้วยตัวทำละลาย และตัวละลาย
5. การเปลี่ยนแปลงของสารตามสมบัติของสาร แบ่งได้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง ยกตัวอย่าง (3 คะแนน)
เฉลย
การเปลี่ยนแปลงของสารตามสมบัติของสาร แบ่งได้เป็น 2 ประเภท
1. การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ทำให้ลักษณะภายนอกของสารเปลี่ยนไปจากเดิม แต่ยังคงเป็นสารเดิมอยู่ เช่น น้ำแข็งที่ละลายกลายเป็นน้ำ มีการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นของเหลว แต่ยังคงเป็นน้ำที่มีสมบัติทางเคมีเหมือนเดิม
2. การการเปลี่ยนแปลงทางเคมี คือการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี ทำให้โครงสร้างหรือองค์ประกอบทางเคมีของสารนั้นเปลี่ยนแปลงไป และมีสารใหม่เกิดขึ้น เช่น การเผาไหม้จะเกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และขี้เถ้า เหล็กเมื่อเป็นสนิมจะมีสีน้ำตาลแดง การผุกร่อนของหินอ่อน การเกิดหินงอกหินย้อย การเผาไหม้ เป็นต้น
6. สารละลายเป็นสารที่ไม่บริสุทธิ์เกิดจากสารตั้งแต่ 2 ชนิดมารวมกัน แล้วทำให้เกิดเป็นสารเนื้อเดียว ดังนั้นจึงไม่สามารถชี้ชัดได้ว่าส่วนใด
เป็นสารอะไร สารละลาย มีได้กี่สถานะ อะไรบ้าง ยกตัวอย่างประกอบ (3 คะแนน)
ตอบ สารละลายเป็นสารที่ไม่บริสุทธิ์เกิดจากสารตั้งแต่ 2 ชนิดมารวมกัน แล้วทำให้เกิดเป็นสารเนื้อเดียว ดังนั้นจึงไม่สามารถชี้ชัดได้ว่าส่วนใดเป็นสารอะไร สารละลาย มีได้ 3 สถานะ คือ
1. สถานะที่เป็นของแข็ง เช่น นาค ทองเหลือง โลหะบัดกรี ทองสัมฤทธิ์ เป็นต้น
2. สถานะที่เป็นของเหลว เช่น น้ำเกลือ น้ำหวาน น้ำปลา น้ำอัดลม เป็นต้น
3. สถานะที่เป็นแก๊ส เช่น อากาศ แก๊สหุงต้ม แก๊สชีวภาพ เป็นต้น
การตรวจวัดความเป็นกรด-เบส ของสาร (4 ข้อ 9 คะแนน)
7. กรดจะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเป็นสีแดง สามารถทำปฏิกิริยากับโลหะบางชนิดจะมีฟองแก๊สเกิดขึ้น ทำปฏิกิริยากับหินปูน ทำให้หินปูนผุกร่อน และเกิดฟองแก๊ส นอกจากนี้นักวิทยาศาสตร์ยังได้ศึกษาสมบัติของกรด และสรุปเพิ่มเติมได้ว่า (3 คะแนน)
5.1………………………………………………………………………………
5.2………………………………………………………………………………
5.3………………………………………………………………………………
8. สมบัติโดยทั่วไปของเบสจากการศึกษาสรุปได้ดังนี้ (3 คะแนน)
เบสจะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงิน เมื่อทำปฏิกิริยากับแอมโมเนียมไนเตรดจะได้แก๊สแอมโมเนียซึ่งมีกลิ่นฉุน เมื่อทำปฏิกิริยากับน้ำมันสัตว์หรือน้ำมันพืชจะได้สบู่ เมื่อทำปฏิกิริยากับอะลูมิเนียม จะทำให้อะลูมิเนียมผุกร่อนและเกิดฟองแก๊สไฮโดรเจน นอกจากนี้นักวิทยาศาสตร์ยังได้ศึกษาสมบัติของเบสเพิ่มเติมได้อีกคือ
6.1………………………………………………………………………………
6.2………………………………………………………………………………
6.3………………………………………………………………………………
9. อินดิเคเตอร์ คืออะไร การทดสอบสมบัติของความเป็นกรด-เบสของสารโดยใช้อินดิเคเตอร์ทำได้อย่างไร (1 คะแนน)
10. กรด – เบส ในชีวิตประจำวันมีสมบัติอย่างไร (2 คะแนน)
สาร ผลการทดสอบกับกระดาษลิตมัส
สีน้ำเงิน สีแดง
น้ำอัดลม
น้ำมะขาม
น้ำมะนาว
น้ำส้มสายชู
น้ำขี้เถ้า
น้ำสบู่
ปุ๋ยยูเรีย
ปุ๋ยแอมโมเนีย
สารละลายยาสีฟัน
สารละลายผงซักฟอก
น้ำยาล้างห้องน้ำและเครื่องสุขภัณฑ์
ผงฟู
เกลือแกง
น้ำปูนใส
เฉลย
7. กรดจะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเป็นสีแดง สามารถทำปฏิกิริยากับโลหะบางชนิดจะมีฟองแก๊สเกิดขึ้น ทำปฏิกิริยากับหินปูน ทำให้หินปูนผุกร่อน และเกิดฟองแก๊ส นอกจากนี้นักวิทยาศาสตร์ยังได้ศึกษาสมบัติของกรด และสรุปเพิ่มเติมได้ว่า (2 คะแนน)
5.1 กรดมีรสเปรี้ยว ซึ่งสามารถพบเห็นในชีวิตประจำวันได้ เช่น น้ำส้มสายชู น้ำมะนาว เป็นต้น
5.2 กรดมีค่า pH น้อยกว่า 7
5.3 กรดสามารถกัดกร่อนสารหลาย ๆ ชนิดได้ดี
8. สมบัติโดยทั่วไปของเบสจากการศึกษาสรุปได้ดังนี้ (2 คะแนน)
6.1 เบสจะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงิน เมื่อทำปฏิกิริยากับแอมโมเนียมไนเตรดจะได้แก๊สแอมโมเนียซึ่งมีกลิ่นฉุน
6.2 เมื่อทำปฏิกิริยากับน้ำมันสัตว์หรือน้ำมันพืชจะได้สบู่ เมื่อทำปฏิกิริยากับอะลูมิเนียม จะทำให้อะลูมิเนียมผุกร่อนและเกิดฟองแก๊สภ
6.3 ไฮโดรเจน นอกจากนี้นักวิทยาศาสตร์ยังได้ศึกษาสมบัติของเบสเพิ่มเติมได้อีกคือ
- เบสมีรสฝาด
- เบสมีค่า pH มากกว่า 7
- เมื่อเบสทำปฏิกิริยากับกรดจะได้เกลือและน้ำ
9. อินดิเคเตอร์ คือ สารที่ใช้ตรวจสอบความเป็น กรด-เบสของสารละลาย
การทดสอบสมบัติของความเป็นกรด-เบสของสารโดยใช้อินดิเคเตอร์ทำได้ โดย สรุปการใช้กระดาษลิตมัสตรวจสอบสารละลายว่า สารที่เปลี่ยนกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเป็นสีแดงมีสมบัติเป็นกรด สารที่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงินมีสมบัติเป็นเบส และสารที่ไม่เปลี่ยนสีของกระดาษลิตมัสทั้งสองสีมีสมบัติเป็นกลาง
10. กรด – เบส ในชีวิตประจำวันมีสมบัติอย่างไร (2 คะแนน)
สาร ผลการทดสอบกับกระดาษลิตมัส
สีน้ำเงิน สีแดง
น้ำอัดลม
น้ำมะขาม
น้ำมะนาว
น้ำส้มสายชู
น้ำขี้เถ้า
น้ำสบู่
ปุ๋ยยูเรีย
ปุ๋ยแอมโมเนีย
สารละลายยาสีฟัน
สารละลายผงซักฟอก
น้ำยาล้างห้องน้ำและเครื่องสุขภัณฑ์
ผงฟู
เกลือแกง
น้ำปูนใส เปลี่ยนเป็นสีแดง
เปลี่ยนเป็นสีแดง
เปลี่ยนเป็นสีแดง
เปลี่ยนเป็นสีแดง
-
-
-
เปลี่ยนเป็นสีแดง
-
-
เปลี่ยนเป็นสีแดง
-
-
- -
-
-
-
เปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน
เปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน
เปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน
-
เปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน
เปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน
-
เปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน
-
เปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน
การเตรียมสารละลาย (2 ข้อ 3.5 คะแนน)
11. ความเข้มข้นของสารละลาย หมายถึงอะไร บอกได้กี่วิธี อะไรบ้าง (2 คะแนน)
12. ในการเตรียมสารละลายโซเดียมคลอไรด์ ต้องใช้โซเดียมคลอไรด์ 5 กรัมใส่ลงในน้ำ แล้วทำให้เป็นสารละลาย 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร สารละลายโซเดียมคลอไรด์นี้มีความเข้มข้นร้อยละเท่าไร(1.5 คะแนน)
เฉลย
11. ความเข้มข้นของสารละลาย หมายถึง ปริมาณของตัวละลายในสารละลาย
บอกได้ 2 วิธี
1. การบอกเป็นร้อยละของตัวละลาย เช่น การบอกเป็นร้อยละโดยมวลต่อมวล มวลต่อปริมาตร ปริมาตรต่อปริมาตร
2. การบอกความเข้มข้นเป็นหน่วยอื่น ๆ เช่น ppm ppb

12. ในการเตรียมสารละลายโซเดียมคลอไรด์ ต้องใช้โซเดียมคลอไรด์ 5 กรัมใส่ลงในน้ำ แล้วทำให้เป็นสารละลาย 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร สารละลายโซเดียมคลอไรด์นี้มีความเข้มข้นร้อยละเท่าไร(2 คะแนน)
ตอบ
วิธีคิด มวลของโซเดียมคลอไรด์ = 5 กรัม
ปริมาตรของสารละลายโซเดียมคลอไรด์ = 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร
สูตร ความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมคลอไรด์ = มวลของตัวละลาย × 100
ปริมาตรของตัวละลาย
แทนค่าสูตร = 5 × 100 = 5
100
ตอบ ดังนั้น ความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมคลอไรด์ ร้อยละ 5
1. ข้อใดหมายถึงลักษณะทางพันธุกรรม
 ก. ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ควบคุมโดยยีน
 ข. ลักษณะซึ่งถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปยังรุ่นต่อไป
 ค. ลักษณะสืบเนื่องกันไปโดยอาศัยเซลล์สืบพันธุ์เป็นสื่อกลาง
 ง. ถูกทุกข้อ
2. พันธุศาสตร์ศึกษาเกี่ยวกับอะไร
 ก. พฤติกรรมของยีน
 ข. ความแปรผันของลักษณะต่าง ๆ
 ค. ตัวการถ่ายทอดลักษณะจากพ่อแม่ไปยังลูก
 ง. ถูกทั้งข้อ ก และข้อ ข
3. ข้อใดหมายถึงรูปหรือแบบของยีนที่ควบคุมลักษณะ
 ก. อัลลีน
 ข. จีโนไทป์
 ค. ฟีโนไทป์
 ง. เซลล์สืบพันธุ์
4. คำกล่าวข้อใดที่สนับสนุนความหมายของพันธุกรรมมากที่สุด
 ก. จะดูนางก็ให้ดูแม่
 ข. ผลไม้ย่อมหล่นไม่ไกลต้นเสมอ
 ค. กาก็ต้องเป็นกาจะเป็นหงส์ไม่ได้
 ง. พ่อแม่เป็นอย่างไร ลูกก็มักเป็นอย่างนั้น
5. ข้อใดกล่าวถึงยีนไม่ถูกต้อง
 ก. มีตำแหน่งอยู่บนโครโมโซม
 ข. ลักษณะของยีนถูกกระทำให้เกิดผันแปรได้
 ค. แต่ลักษณะของสิ่งมีชีวิตถูกควบคุมโดยยีนเพียงยีนเดียวเท่านั้น
 ง. การแสดงแต่ละลักษณะของสิ่งมีชีวิต มักควบคุมโดยยีนอย่างน้อย 2 อัลลีน
6. ข้อความใดให้ความหมายเกี่ยวกับยีนได้ชัดเจนที่สุด
 ก. 1 ยีน คือ 1 จีโนไทป์
 ข. 1 ยีน คือ 1 โครโมโซม
 ค. 1 ยีน คือ ทวีคูณของ 3 เบส
 ง. 1 ยีน คือ สายของ DNA ที่ถอดรหัสให้พอลิเพปไทป์
7. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะทางพันธุกรรม
 ก. ตาบอดสี
 ข. โลหิตจาง
 ค. ศีรษะล้าน
 ง. ความประพฤติ
8. ปัจจัยใดที่มีผลต่อพันธุกรรมของคน
 ก. อาหาร
 ข. มิวทาเจน
 ค. การออกกำลังกาย
 ง. ถูกทั้งข้อ ก และข้อ ข
9. คำกล่าวใดถูกต้อง
 ก. มิวเทชันมีทั้งประโยชน์และโทษ
 ข. แสงสว่างและอาหารเป็นอิทธิพลภายในต่อพันธุกรรม
 ค. ความผิดปกติเนื่องมาจากจำนวนโครโมโซมได้รับอิทธิพลจากสิ่งภายนอก
 ง. อิทธิพลจากสิ่งแวดล้อมภายในเท่านั้นที่มีอิทธิพลต่อลักษณะทางพันธุกรรม
10. คำกล่าวใดถูกต้องมากที่สุด
 ก. มิวเทชันเกิดได้เฉพาะเซลล์สืบพันธุ์เท่านั้น
 ข. สิ่งแวดล้อมทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมได้
 ค. บริเวณเซลล์ร่างกายทั่ว ๆ ไป ไม่สามารถเกิดมิวเทชันได้
 ง มิวเทชันที่เซลล์สืบพันธุ์จะถ่ายทอดลักษณะที่เปลี่ยนแปลงไปสู่ลูกหลานได้
11. เชื้อไรโซเบียมเป็นสิ่งมีชีวิตประเภทใด
  ก. รา  ข. ไวรัส  ค. ยีสต์  ง. แบคทีเรีย
12. พืชตระกูลถั่วจะตรึงไนโตรเจนได้ดีในช่วงใด
  ก. สร้างใบ   ข. สร้างเมล็ด
   ค. สร้างดอก   ง. สร้างราก
13. ถ้าฝนแล้ง
  ก. ปลูกพืชคลุมดิน
 ข. ปลูกพืชตระกูลถั่ว
ท่านจะมีวิธีรักษาความชุ่มชื้นของดินอย่างไร
  ค. ปลูกพืชหมุนเวียน
 15. การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร จำเป็นต้องนำเทคโนโลยีต่าง ๆ มาใช้
การกระทำในข้อใดที่
  ง. ใส่ปุ๋ย
 14. ถ้าท่านจะปลูกพืชหมุนเวียน ต้องคำนึงถึงอะไร
  ก. ความต้องการของตลาด
 ข. อายุของพืช
  ค. เลือกพืชให้เหมาะกับฤดูกาล
  ง. ถูกทุกข้อ  ค. การปรับปรุงพันธุ์
  ก. การชลประทาน
 ข. การป้องกันศัตรูพืช
 ก. จิบเบอเรลลิน
 ข. อีเทรล  ค. ออกซิน  ง. เอทิลีน
  ก. ไข่  ตัวหนอน   ข. ตัวหนอน  ดักแด้
ไม่ใช่การใช้เทคโนโลยี
  ก. การปรับปรุงดินและการใช้ปุ๋ย
ข. การผสมพันธุ์พืชและสัตว์ให้มีคุณภาพ
  ค. การใช้เครื่องทุ่นแรง
 ง. การขยายเนื้อที่เพาะปลูก
16. หนอนผีเสื้อต้นรัก
มีระยะการเจริญเติบโตช่วงใดนานที่สุด
  ค. ดักแด้ ตัวเต็มวัย  ง. ตัวเต็มวัย ไข่
 17. ข้อใดคือความหมายของการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี
  ก. ใช้สารเคมีฉีดพ่นแมลงศัตรูพืช
  ข. ใช้สิ่งมีชีวิตทำลายสิ่งมีชีวิต
  ค. การใช้เครื่องมือประยุกต์กำจัดศัตรูพืช
   ง. การทำลายส่วนต่างๆ ของพืชที่แมลงอาศัยอยู่
 18. การควบคุมศัตรูพืช และสัตว์ที่นิยมใช้กันมากที่สุดในปัจจุบัน คือวิธีใด
  ก. ใช้สารเคมี
  ข. ใช้เครื่องมือทางกล
  ค. ใช้เครื่องมือประยุกต์
  ง. ใช้วิธีชีวภาพ
 19. สารในข้อใดที่ช่วยเร่งการสุกของผลไม้
  ก. จิบเบอเรลลิน   ข. ไซโทไคนิน
 ค. เอทิลีน   ง. ออกซิน
20. การใช้สารเคมีกับพืชเร่งให้พืชเจริญงอกงามจะต้อง
  ก. ใช้สารเคมีในปริมาณน้อยๆ ก็พอ 
ข. ใช้สารเคมีในปริมาณมาก ๆ จึงได้ผล
  ค. ใช้ในปริมาณไม่มากไม่น้อยจนเกินไป
 ง. ต้องลองใช้ดูก่อนได้ผลแล้วจึงใช้จริงจัง
21. ในปัจจุบันการปรับปรุงพันธุ์พืชโดยวิธีใดที่ต้องอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาช่วย
  ก. การโน้มกิ่งการติดตา 
ข. การต่อกิ่ง การตอน
  ค. การเพาะเมล็ดการปักชำ 
ง. การตัดต่อยีน และการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
 22. ส่วนใดของพืชที่สามารถนำมาใช้ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อได้
  ก. ยอดอ่อน   ข. ตาอ่อน
ค. อับละอองเรณู   ง. ถูกทุกข้อ
 23. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช นิยมใช้กับพืชในข้อใด
  ก. พืชที่ขยายพันธุ์ได้ทีละน้อย
 ข. พืชที่มีปัญหาเรื่องโรคที่ติดมากับท่อนพันธุ์
  ค. พืชที่มีปัญหาเรื่องการขยายพันธุ์
 ง. ถูกทุกข้อ
 24. ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อต้องนำกลุ่มเซลล์เนื้อเยื่อเจริญไปเลี้ยงในอาหารสูตรสำเร็จเพื่ออะไร
  ก. กระตุ้นให้เกิดรากและลำต้น
 ข. เร่งให้ออกดอกออกผล
  ค. เร่งให้ลำต้นและรากเจริญเติบโต
 ง. ให้กลุ่มเซลล์เนื้อเยื่อเจริญกลายเป็นแคลลัส
25. สิ่งสำคัญที่สุดที่ต้องระมีดระวังในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชคือข้อใด
  ก. เทคนิคปลอดเชื้อ
 ข. เทคนิคการตัดแบ่งเนื้อเยื่อ
  ค. เทคนิคการเคลื่อนย้ายเนื้อเยื่อ
 ง. เทคนิคการเตรียมอาหารเพาะเลี้ยง
 26. ทุเรียนไร้หนาม สามารถทำได้โดยวิธีการอย่างไร
  ก. ใช้สารเคมีทาที่หนามเมื่อทุเรียนอายุได้30-45 วัน หลังดอกบาน
  ข. ใช้ถุงสีน้ำตาลหุ้มดอกทุเรียนไว้ก่อนที่จะกลายเป็นผล
  ค. ใช้มีดสะกิดหนามออกเมื่อทุเรียนอายุได้30-45 วัน หลังดอกบาน
  ง. ฉีดฮอร์โมนให้หนามร่วงเมื่อทุเรียนอายุได้30-45วัน หลังดอกบาน
27. ถ้ามีความจำเป็นต้องปลูกพืชบนที่เนินจะมีวิธีป้องกันการชะล้างหน้าดินได้โดยวิธีใด
  ก. ปลูกพืชแบบขั้นบันได
 ข. ปลูกพืชหมุนเวียน
  ค. ปลูกพืชคลุมดิน
 ง. ปลูกพืชสลับ
 28. สารเคมีที่ใช้เร่งผลผลิตของพืชให้มากกว่าปกติหรือเร่งให้ผลผลิตนอกฤดูกาลส่วนใหญ่มีวิธีใช้อย่างไร
  ก. พ่น   ข. ทา  ค. บ่ม ง. รด
 29. สารเคมีชิดใดช่วยเร่งน้ำยางในต้นยางพารา
 30. ในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรต้องอาศัยเทคโนโลยีในด้านใด
 ง. ถูกทุกข้อ
สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

[font=arial                              ]ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 

ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

decho ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
ข้อสอบวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
ตอนที่ 1 ข้อความต่อไปถ้าถูกให้เขียนเครื่องหมาย 1 ลงในแบบทดสอบ และถ้าผิดให้เขียน 2 ลงในแบบทดสอบ

.................... 1. เทคโนโลยีชีวภาพที่เก่าแก่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติก็คือ เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเซลล์ (Cell culture Technology) และ เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ คือ เทคโนโลยีรีคอมบิแนนท์ดีเอ็นเอ (DNA Recombinant Technology) หรือ พันธุวิศวกรรม (genetic engineering)

........................2. เซลลูเลส (cellulase) เป็นเอนไซม์ที่สามารถพบได้ทั่วไปในสัตว์ พืช และจุลินทรีย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในราและแบคทีเรีย สามารถย่อยสลายเซลลูโลส (cellulose) ซึ่งเป็นส่วนประกอบโครงสร้างสำคัญของเซลล์พืช

ตอนที่ 2 ให้จับคู่ในข้อความที่คิดว่าถูกต้องที่สุดลงในแบบทดสอบ

ก. Biotechnology ข. Cell culture ค. Fermentation ง . Stem cell จ .sperm '
ฉ. Generation fertilization ช Fertilizer
1. กระบวนการกำเนิดชีวิตมนุษย์หรือสัตว์นั้น สเปิร์มของผู้ชาย จะมาผสมกับไข่ของผู้หญิงกลายเป็น1เซลล์ จากนั้นหนึ่งเซลล์จะทำการแบ่งตัวเป็นทวีคูณ กลายเป็นอวัยวะต่างๆ ขึ้นมา

2. ปุ๋ยอินทรีย์ หรือปุ๋ยธรรมชาติ ชนิดหนึ่งที่ได้มาจากการนำเอาเศษซากพืช เช่น ฟางข้า ซังข้าวโพด ต้นถั่วต่าง ๆ หญ้าแห้ง ผักตบชวา ของเหลือทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ตลอดจนขยะมูลฝอยตามบ้านเรือนมาหมักร่วมกับมูลสัตว์ ปุ๋ยเคมีหรือสารเร่งจุลินทรีย์เมื่อหมักโดยใช้ระยะเวลาหนึ่งแล้ว เศษพืชจะเปลี่ยนสภาพจากของเดิมเป็นผงเปื่อยยุ่ยสีน้ำตาลปนดำนำไปใส่ในไร่นาหรือพืชสวน เช่น ไม้ผล พืชผัก หรือไม้ดอกไม้ประดับได้

ตอนที่ 3 ให้ตอบเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด
1. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง
ก. ปุ๋ยหมักโดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ ปุ๋ยหมักในไร่นา ปุ๋ยหมักเทศบาลและปุ๋ยหมักอุตสาหกรรม
ข. Metabolism หมายถึง ปฎิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิต มีทั้งปฎิกิริยาเพื่อการสร้างโมเลกุลของสารต่างๆ เรียกว่าanbolism และการย่อยสลายโมเลกุลของสาร เรียกว่า catabolism
ค. สเปคตรัม คือ การแสดงความสามารถในการดูดแสงของสารที่ความยาวคลื่นต่างๆกันของคลื่นแม่เหล็กไพพ้าสารที่มีสีคือสารที่ดูดแสงได้บางส่วนที่ทั้งหมดของความยาวคลื่นของแสงที่มีสีหรือแสงที่ตามองเห็นคือประมาณ 200 -700 นาโนเมตร
ง. การหมักเป็นกระบวนการแปรรูปโดยการใช้เชื้อจุลินทรีย์ปรับสภาวะของอาหารให้เหมาะกับการเจริญของจุลินทรีย์ที่ต้องการ แต่ไม่เหมาะสมกับการเจริญและเพิ่มจำนวนของจุลินทรีย์ชนิดที่เป็นอันตรายและชนิดที่ทำให้อาหารเสื่อมเสีย และยังทำให้ผลิตภัณฑ์มีกลิ่นรสหรือลักษณะที่ต้องการ ตัวอย่างการหมักผลิตภัณฑ์ต่างๆ

2. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่จัดว่าเป็นเชื้อแบคทีเรีย
ก. Zymomonas mobilis
ข Staphycoccus aureus
ค Candida albicans
ง Lactococcus acidophilus

ตอนที่ 4 ให้เติมข้อความในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. ............................พลังงานทดแทนชนิดหนึ่ง เมื่อนำไปผสมกับน้ำมันสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ ใช้ทดแทนน้ำมันเบนซินและน้ำมันดีเซล โดยวัตถุดิบที่ใช้ผลิตเอทานอลแบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้
1. วัตถุดิบประเภทแป้ง ได้แก่ ผลผลิตทางการเกษตรพวกธัญพืช เช่น ข้าวเจ้า ข้าวสาลี ข้าวโพด ข้าวบาร์เลย์ ข้าวฟ่าง และพวกพืชหัว เช่น มันสำปะหลัง มันฝรั่ง มันเทศ เป็นต้น
2. วัตถุดิบประเภทน้ำตาล ได้แก่ อ้อย กากน้ำตาล บีตรูต ข้าวฟ่างหวาน เป็นต้น
3. วัตถุดิบประเภทเส้นใย เช่น ฟางข้าว ชานอ้อย ซังข้าวโพด รำข้าว เป็นต้น

2. Aeromonas liquefaciens, A. formicans, Pseudomonas spp., Flexibacter spp., Columnaris spp. จัดเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ประเภท ..........................

ตอนที่ 5 ข้อสอบอัตนัย
1. อธิบายเทคโนโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีชีวภาพ
2. อธิบายกลไกการออกฤทธิ์ของยาต้านจุลชีพ

....................................................................................................................................

ตอนที่ 1

1. ตอบ ข เพราะ เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเซลล์ไม่ถือว่าเป็นเทคโนโลยีที่เก่าแก่ที่สุดในทางเทคโนโลยีชีวภาพ และเทคโนโลยีที่เก่าแก่ที่สุดในทางด้านไบโอเทคคือเทคโนดลยีการหมัก
2. ตอบ ก

ตอนที่ 2

1. ง
2. ช

ตอนที่ 3
1. ค สเปคตรัม คือ การแสดงความสามารถในการดูดแสงของสารที่ความยาวคลื่นต่างๆกันของคลื่นแม่เหล็กไพพ้าสารที่มีสีคือสารที่ดูดแสงได้บางส่วนที่ทั้งหมดของความยาวคลื่นของแสงที่มีสีหรือแสงที่ตามองเห็นคือประมาณ 400 -700 นาโนเมตร
2. ตอบ ค เพราะเชื้อดังกล่าวจัดเป็นเชื้อรา ที่อยู่ใน
Kingdom:Fungi
Phylum: Ascomycota
Subphylum:Saccharomycotina
Class:Saccharomycetes
Order:Saccharomycetales
Family:Saccharomycetaceae
Genus:Candida
Species: C. albicans
ตอนที่ 4

1. เอทานอล 2. แบคทีเรีย

ตอนที่ 5
1. เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในทางเทคโนโลยีชีวภาพ ได้แก่
1. การตัดต่อยีน (genetic engineering) เทคโนโลยีดีเอ็นเอสายผสม (recombinant DNA) และเทคโนโลยีโมเลกุลเครื่องหมาย (molecular markers)
2. การเพาะเลี้ยงเซลล์ และ/หรือ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (cell and tissue culturing) พืช และสัตว์
3. การใช้ประโยชน์จุลินทรีย์บางชนิดหรือใช้ประโยชน์จากเอนไซน์ของจุลินทรีย์

2. การออกฤทธิ์อาจจะเป็นเพียงการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อหรือฆ่าเชื้อ สำหรับการออกฤทธิ์ของยาต้านแบคทีเรีย แบ่งเป็นกลไกหลัก 4 กลไก คือ1. ยับยั้งการสร้างผนังเซลล์ของแบคทีเรีย ได้แก่ ยาในกลุ่ม beta-lactam เช่น penicillins และ cephalosporins เป็นต้น2. ยับยั้งการสร้างโปรตีนของแบคทีเรีย (โปรตีนที่ทำหน้าที่เป็นโครงสร้างหรือเป็นเอ็นซัยม์ที่มีบทบาทในการมีชีวิตของแบคทีเรีย) ได้แก่ ยาในกลุ่ม tetracyclines, chloramphenicals และ macrolides เป็นต้น3. ยับยั้งการทำงานของเอ็นซัยม์ของแบคทีเรีย ได้แก่ ยาในกลุ่ม quinolones4. ยับยั้งขบวนการเมตะบอลิก ซึ่งเกี่ยวกับการสร้างสารอาหารและพลังงานของแบคทีเรีย ได้แก่ ยาในกลุ่ม sulfamethoxazole และ trimethoprim
ทั้งนี้การออกฤทธิ์ของยาที่จะครอบคลุมเชื้อแบคทีเรียมากน้อยเพียงใดขึ้นกับสูตรโครงสร้างของยา ซึ่งจะทำให้ยามีคุณสมบัติในการเข้าสู่เซลล์ และออกฤทธิ์ภายในเซลล์ที่แตกต่างกัน
สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

[font=arial                              ]ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 

ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

กรุณาใช้ข้อความที่สุภาพ คุณสามารถบันทึกฉบับร่างได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้