ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : เปิดสอบรัฐสภา เปิดสอบข้าราชการรัฐสภาสามัญ รวม 40 อัตรา 9 - 23 พ.ค.57
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

เปิดสอบรัฐสภา เปิดสอบข้าราชการรัฐสภาสามัญ รวม 40 อัตรา 9 - 23 พ.ค.57

แชร์กระทู้นี้



ประกาศคณะกรรมการดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการรัฐสภาสามัญ เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการรัฐสภาสามัญ จึงประกาศรับสมัครสอบแข่งขันโดยมีรายละเอียดดังนี้

ตำแหน่งที่จะบรรจุแต่งตั้ง และเงินเดือนที่จะได้รับ

ไม่ต้องผ่าน ก.พ เตรียมสมัครกัน เปิดรับเยอะมาก"
รัฐสภา เปิดรับสมัครสอบบรรจุเข้ารับราชการรัฐสภาสามัญ 
7 ตำแหน่ง 40 อัตรา ได้แก่

1.นิติกรปฏิบัติการ จำนวน 20 อัตรา
2.นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ จำนวน 3 อัตรา
3.เจ้าพนักงานบันทึกข้อมูลปฏิบัติงาน จำนวน 11 อัตรา
4.เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน จำนวน 2 อัตรา
5.เจ้าพนักงานคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน จำนวน 1 อัตรา
6.เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาปฏิบัติงาน จำนวน 2 อัตรา
7.นายช่างศิลป์ปฏิบัติงาน จำนวน 1 อัตรา

> วุฒิ ปวช, ป.ตรี
> เงินเดือน 9,400 - 15,000 บาท
> ไม่ต้องผ่าน ภาค ก ของ ก.พ.
> สมัครได้เพียง 1 ระดับ และไม่เกิน 3 ตำแหน่ง

> สมัครได้ทางอินเตอร์เน็ตได้ตั้งแต่วันที่ 9 - 23 พ.ค.57

อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >


จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรัฐสภา ใหม่ล่าสุด

รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ

- ความรู้เกี่ยวกับรัฐสภา
การใช้ภาษา_แนวข้อสอบ
ความเข้าใจภาษา_แนวข้อสอบ
- ความสามารถด้านเหตุผล_แนวข้อสอบ
- ความสามารถทางด้านการคิดคำนวณ_แนวข้อสอบ
สรุปเหตุการณ์ เศรษฐกิจ การเมืองและเหตุการณ์ปัจจุบัน  
- เทคนิคการสอบสัมภาษณ์
ความรู้เกี่ยวกับตำแหน่งที่สอบ
นิติกรปฏิบัติการ 
นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ 
เจ้าพนักงานบันทึกข้อมูลปฏิบัติงาน 
เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน 
เจ้าพนักงานคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน 
เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาปฏิบัติงาน 
นายช่างศิลป์ปฏิบัติงาน 

สนใจสั่งซื้อมาที่  โทร 085-0127724 Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย  ในราคาเพียงชุดละ   399 บาท 

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ 399-

ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +VCD คณิตศาสตร์ +ภาษาไทย  ราคา 679 บาท

กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ 
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 ธ.กสิกรไทย
 
 สาขาบิ๊กซีขอนแก่น ชื่อบัญชี 
เดโช  พระกาย  ออมทรัพย์ 

โอนเงินแล้วแจ้งที่  decho.by@hotmail.com

รูปภาพ: รัฐสภา (Large).jpg
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

. ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐

การเสนอชื่อบุคคลผู้สมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีให้

สภาผู้แทนราษฎรพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับ

แต่งตั้งภายในกี่วัน นับแต่วันที่มีการเรียกประชุมรัฐสภาเป็นครั้งแรก

และต้องมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรับรองไม่น้อยกว่าเท่าใด

ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร

. ๑๕ วัน, หนึ่งในสาม

. ๓๐ วัน, หนึ่งในห้า

. ๔๕ วัน, หนึ่งในสาม

. ๖๐ วัน, หนึ่งในห้า

ตอบ ข้อ ข

. ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ข้อใด

ต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง

. ประธานรัฐสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ

แต่งตั้งประธานองคมนตรี

. ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรม

ราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร

. ประธานรัฐสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ

แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี

. ประธานวุฒิสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ

แต่งตั้งผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา

ตอบ ข้อ ค

. ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ สมัย

ประชุมสามัญของรัฐสภาสมัยหนึ่ง ๆ ให้มีกำหนดเวลา ๑๒๐ วันแต่

พระมหากษัตริย์จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ขยายเวลาออกไป

ก็ได้ ส่วนการปิดสมัยประชุมสามัญก่อนครบกำหนดเวลา ๑๒๐ วัน

จะกระทำได้แต่โดยความเห็นชอบตาม ข้อใดดังต่อไปนี้

. คณะรัฐมนตรี

. นายกรัฐมนตรี

. รัฐสภา

. ประธานรัฐสภา

ตอบ ข้อ ค

. ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ในระหว่าง

สมัยประชุม ถ้ามีความจำเป็นต้องมีกฎหมายเกี่ยวด้วยภาษีอากรหรือ

เงินตรา ซึ่งจะต้องได้รับการพิจารณาโดยด่วนและลับเพื่อรักษาประโยชน์

ของแผ่นดิน พระมหากษัตริย์จะทรงตรา...……….…………………..ให้ใช้

บังคับดังเช่นพระราชบัญญัติก็ได้ และต้องนำเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎร

ภายใน …….………วันนับแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

. พระราชกำหนด, ๓ วัน

. พระราชกำหนด, ๗ วัน

. พระราชกฤษฎีกา, ๓ วัน

. พระราชกฤษฎีกา, ๗ วัน

ตอบ ข้อ ก

. ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐

ตำแหน่งใดต่อไปนี้ ก่อนเข้ารับหน้าที่ต้องปฏิญาณตนใน

ที่ประชุมรัฐสภา

. ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

. องคมนตรี

. รัฐมนตรี

. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

ตอบ ข้อ ก

. ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ผู้ที่

เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ถ้าประสงค์จะสมัครรับเลือกตั้ง

เป็นสมาชิกวุฒิสภา ต้องพ้นจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

มาแล้วเป็นเวลาเท่าใด นับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง

. ไม่น้อยกว่า ๙๐ วัน

. ไม่น้อยกว่า ๑๒๐ วัน

. ไม่น้อยกว่าหนึ่งปี

. เกินกว่าหนึ่งปื

ตอบ ข้อ ง

. ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ในการ

เสนอร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ

ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้องมากที่สุด

. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจะเสนอได้ต้องให้นายกรัฐมนตรี

รับรองเสียก่อน

. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจะเสนอได้ต้องมีสมาชิก

สภาผู้แทนราษฎรพรรคเดียวกันไม่น้อยกว่ายี่สิบคนรับรอง

. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจะเสนอร่างพระราชบัญญัติที่ไม่

เกี่ยวด้วยการเงินได้เมื่อพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

ผู้นั้นสังกัดมีมติให้เสนอได้ และต้องมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

ไม่น้อยกว่ายี่สิบคนรับรอง

. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจะเสนอได้ต้องมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

ในพรรคเดียวกันเท่านั้นจำนวนยี่สิบคนขึ้นไปเป็นผู้ร่วมเสนอ

ตอบ ข้อ ค

. คณะรัฐมนตรีได้เสนอร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.. …. ต่อ

สภาผู้แทนราษฎรเพื่อพิจารณาและประธานสภาผู้แทนราษฎรได้วินิจฉัย

ว่าร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวมีสาระสำคัญเกี่ยวกับเด็กตามรัฐธร รมนูญ

แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ มาตรา ๑๙๐ ต่อมา
สภาผู้แทนราษฎรได้ลงมติรับหลักการ และให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ

พิจารณาจำนวน ๓๕ คน คณะกรรมาธิการวิสามัญคณะนี้ จะต้องประกอบ

ด้วยผู้แทนองค์การเอกชนเกี่ยวกับเด็กมีจำนวนไม่น้อยกว่ากี่คน

. ๘ คน

. ๙ คน

. ๑๑ คน

. ๑๒ คน

ตอบ ข้อ ง

. ตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.. ๒๕๔๔ ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ

การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งร่วมกันเข้า ชื่อเสนอกฎหมาย

ของสภาผู้แทนราษฎร

. ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัตินั้น ให้ตัวแทนของผู้เข้าชื่อเสนอ

กฎหมายเป็นผู้เสนอร่างพระราชบัญญัตินั้นต่อที่ประชุม

. ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัตินั้น คณะรัฐมนตรีจะขอรับ

ร่างพระราชบัญญัตินั้นไปพิจารณาก่อนที่สภาจะลงมติรับหลักการไม่ ได้

. ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัตินั้น สภาจะให้คณะกรรมาธิการ

พิจารณาก่อนที่สภาจะลงมติรับหลักการไม่ได้

. ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัตินั้น ถ้าสภามีมติรับหลักการให้ตั้ง

คณะกรรมาธิการวิสามัญโดยมีตัวแทนของผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายนั้น

เป็นกรรมาธิการด้วย ตามจำนวนที่ประธานเห็นสมควร

ตอบ ข้อ ก

๑๐. ตามข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.. ๒๕๔๔ เมื่อที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา
ได้มีมติเห็นชอบด้วยกับรายงานพร้อมทั้งข้อสังเกตของคณะกรรมาธิก ารของรัฐสภา เมื่อวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗ และ ประธานรัฐสภาได้ส่งรายงานพร้อมข้อสังเกตไปยังคณะรัฐมนตรีเมื่อว ันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๔๗ ถามว่าคณะรัฐมนตรีต้องแจ้งถึงการได้ปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติตามข้ อสังเกตนั้น เพื่อให้ประธานรัฐสภาทราบและแจ้งต่อที่ประชุมเมื่อพ้นกำหนดระยะ เวลากี่วันและนับแต่เมื่อใด

. กี่วันก็ได้ เพราะมิได้มีการกำหนดไว้ตามข้อบังคับการประชุม

รัฐสภา พ.. ๒๕๔๔

. ๖๐ วัน นับแต่วันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗

. ๖๐ วัน นับแต่วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๔๗

. ๙๐ วัน นับแต่วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๔๗

ตอบ ข้อ ง

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
1.     ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภาที่ใช้ในปัจจุบัน ประกาศใช้  พ.ศ. ใด
    ก.    พ.ศ. 2549    ข.    พ.ศ. 2550
    ค.    พ.ศ. 2551    ง.    พ.ศ. 2552
    ตอบ       ค.  พ.ศ. 2551
            ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. 2551    
2.    ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา ฉบับนี้ประกาศใช้โดยอาศัยกฎหมายใด    
    ก.    ม. 134  ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  พ.ศ. 2550
    ข.    ม. 135  ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  พ.ศ. 2550
    ค.    ม. 136  ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  พ.ศ. 2550
    ง.    ม. 137  ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  พ.ศ. 2550
    ตอบ      ก.  ม. 134  ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  พ.ศ. 2550
        อาศัยอำนาจตามความมาตรา 134  ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550  วุฒิสภาจึงตราข้อบังคับการประชุมวุฒิสภาขึ้นไว้
3.    ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา   พ.ศ. 2551 มีผลบังคับใช้เมื่อใด
    ก.    นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา    
    ข.    ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
    ค.    3  วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา
    ง.    7  วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา
    ตอบ       ข.   ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
        ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา  พ.ศ. 2551   ข้อ 2  ข้อบังคับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
4.    ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา  พ.ศ. 2551   ยกเลิกข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา  พ.ศ. ใด
    ก.    พ.ศ. 2544    ข.    พ.ศ. 2545
ค.    พ.ศ. 2546    ง.    พ.ศ. 2547
    ตอบ       ก.   พ.ศ. 2544  
             ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา  พ.ศ. 2551  ข้อ 3  ให้ยกเลิกข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา
    พ.ศ. 2544
5.    ผู้รักษาการตามข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา คือผู้ใด
    ก.    ประธานสภา    ข.    ประธานวุฒิสภา
    ค.    คณะรัฐมนตรี    ง.    นายกรัฐมนตรี
    ตอบ       ข.   ประธานวุฒิสภา
              ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา  พ.ศ. 2551  ข้อ  4   ให้ประธานวุฒิสภารักษาการตามข้อบังคับนี้     และมีอำนาจวางระเบียบเพื่อปฏิบัติการตามข้อบังคับนี้
6.    หมวด  1  ในข้อบังคับการประชุมวุฒิสภาว่าด้วยเรื่องใด
    ก.    การเลือกประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภา
    ข.    อำนาจหน้าที่ของประธานวุฒิสภา
    ค.    การประชุมวุฒิสภา
    ง.    การเสนอญัตติ
    ตอบ       ก.  การเลือกประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภา
            หมวด  1   การเลือกประธานวุฒิสภาและรองประธานวุฒิสภา
7.    ในการเลือกประธานวุฒิสภาในครั้งแรก ให้ผู้ใดดำเนินการเป็นประธานในที่ประชุมชั่วคราว
    ก.    ประธานวุฒิสภาเดิม    ข.    ผู้อาวุโสที่สุด
    ค.    รองประธานวุฒิสภาคนที่ 1    ง.    มติในที่ประชุม
ตอบ      ข.   ผู้อาวุโสที่สุด
        ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา  พ.ศ. 2551  ข้อ 5   ในการเลือกประธานวุฒิสภาและ
รองประธานวุฒิสภาครั้งแรก ให้เลขาธิการวุฒิสภาเชิญสมาชิกผู้มีอายุสูงสุด ซึ่งอยู่ในที่ประชุมวุฒิสภาเป็นประธานชั่วคราวของที่ประชุม เพื่อให้ที่ประชุมวุฒิสภาดำเนินการเลือกตั้งประธานวุฒิสภา และรองประธานวุฒิสภา และเพื่อให้ที่ประชุมสภาดำเนินการในเรื่องอื่นที่จำเป็นจะต้องประชุมปรึกษาในการประชุมครั้งนั้นด้วย ในการดำเนินการเลือกตั้งตามวรรคหนึ่ง ถ้าผู้เป็นประธานชั่วคราวของที่ประชุมได้รับการเสนอชื่อเป็นประธานวุฒิสภาหรือรองประธานวุฒิสภา ให้สมาชิกผู้มีอายุสูงสุดในลำดับถัดไปซึ่งอยู่ในที่ประชุมเป็นประธานชั่วคราวของที่ประชุมt
8.    ในการเสนอชื่อเพื่อเลือกประธานวุฒิสภานั้น สมาชิกแต่ละคนมีสิทธิเสนอชื่อโดยมีผู้รับรองไม่น้อย
    กว่ากี่คน
    ก.    5  คน    ข.   7  คน
    ค.    10  คน    ง.    15  คน
    ตอบ        ค.   10  คน
        ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา  พ.ศ. 2551  ข้อ  6   ในการเลือกประธานวุฒิสภา สมาชิกแต่ละคนมีสิทธิ์เสนอชื่อสมาชิกได้หนึ่งชื่อ การเสนอนั้นต้องมีผู้รับรองไม่น้อยกว่าสิบคน ก่อนที่จะดำเนินการเลือกตั้งประธานวุฒิสภานั้น ให้ผู้ได้รับการเสนอชื่อตามวรรคหนึ่งกล่าวแสดงวิสัยทัศน์ในการที่จะดำรงตำแหน่งต่อที่ประชุมวุฒิสภาภายในเวลาที่ที่ประชุมวุฒิสภากำหนด ถ้ามีการเสนอชื่อผู้ใดเพียงชื่อเดียวให้ถือว่าผู้นั้นได้รับเลือก ถ้ามีการเสนอชื่อสองชื่อหรือมากกว่าสองชื่อ ให้มีการลงคะแนนเป็นการลับโดยการเขียนชื่อผู้ซึ่งตนประสงค์จะเลือกลงบนแผ่นกระดาษ ใส่ซองที่เจ้าหน้าที่จัดให้ แล้วให้เรียกชื่อสมาชิกตามลำดับอักษรมาลงคะแนนเป็นรายคน โดยนำซองใส่ลงในภาชนะที่จัดไว้เพื่อการนั้น ในการตรวจนับคะแนนให้ประธานของที่ประชุมเชิญสมาชิกไม่น้อยกว่าห้าคนเป็นกรรมการตรวจนับคะแนนกรณีมีการเสนอชื่อสองชื่อ ให้ผู้ได้คะแนนสูงสุดเป็นผู้ได้รับเลือก ถ้าได้คะแนนสูงสุดเท่ากัน ให้ใช้วิธีจับสลาก กรณีมีการเสนอชื่อมากกว่าสองชื่อ ให้ผู้ ได้คะแนนสูงสุดและมีคะแนนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกที่มาประชุมเป็นผู้ได้รับเลือก
แต่ถ้าผู้ได้คะแนนสูงสุดมีคะแนนไม่ถึงกึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกที่มาประชุม ให้ดำเนินการดังนี้
        (1)   ถ้ามีผู้ได้คะแนนสูงสุดลำดับแรกหนึ่งคน และผู้ได้คะแนนสูงสุดลำดับที่สองหนึ่งคน ให้นำชื่อผู้ได้คะแนนสูงสุดสองลำดับดังกล่าวมาให้สมาชิกลงคะแนน หรือ
        (2)   ถ้ามีผู้ได้คะแนนสูงสุดลำดับแรกเกินกว่าหนึ่งคน ให้นำชื่อผู้ได้คะแนนสูงสุดดังกล่าวมาให้สมาชิกลงคะแนน หรือ
        (3)   ถ้ามีผู้ได้คะแนนสูงสุดลำดับแรกหนึ่งคนและมีผู้ได้คะแนนสูงสุดลำดับที่สองเกินกว่าหนึ่งคน ให้นำชื่อผู้ได้คะแนนสูงสุดลำดับแรกและลำดับที่สองทุกคนมาให้สมาชิกลงคะแนน ทั้งนี้ให้ผู้ได้คะแนนสูงสุดเป็นผู้ได้รับเลือก แต่ถ้าคะแนนเท่ากันให้ใช้วิธีจับสลากให้ประธานของที่ประชุมประกาศชื่อผู้ได้รับเลือกต่อที่ประชุมวุฒิสภา   และสั่งให้เจ้าหน้าที่ทำลายบัตรออกเสียงลงคะแนนนั้นด้วย
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานบันทึกข้อมูลปฏิบัติงาน รัฐสภาสามัญ
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน รัฐสภาสามัญ
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานประชาสัมพันธ์ปฏิบัติงาน รัฐสภาสามัญ
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานห้องสมุดปฏิบัติงาน รัฐสภาสามัญ
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน รัฐสภาสามัญ
แนวข้อสอบนายช่างปฏิบัติงาน รัฐสภาสามัญ
แนวข้อสอบนายช่างศิลป์ปฏิบัติงาน รัฐสภาสามัญ
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน รัฐสภาสามัญ
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานคอมพิวเตอร์ทั่วไปปฏิบัติงาน รัฐสภาสามัญ
แนวข้อสอบนักวิชาการโสตทัศนศึกษาปฏิบัติการ รัฐสภาสามัญ
แนวข้อสอบวิทยากรปฏิบัติการ รัฐสภาสามัญ
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ รัฐสภาสามัญ
แนวข้อสอบนักวิชาการช่างศิลป์ปฏิบัติการ รัฐสภาสามัญ
แนวข้อสอบนักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ รัฐสภาสามัญ
แนวข้อสอบนักวิชาการพัสดุปฏิบัติการ รัฐสภาสามัญ
แนวข้อสอบนักบัญชีปฏิบัติการ รัฐสภาสามัญ
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
decho ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
111111111111
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

สามารถอัพโหลดไฟล์แนบ สำหรับโพสได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้