ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : ข้อสอบนักวิชาการสาธารณะสุข กรมการแพทย์
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

ข้อสอบนักวิชาการสาธารณะสุข กรมการแพทย์

แชร์กระทู้นี้

1. พระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป เว้นแต่บัญญัติหมวด 3 จะใช้บังคับเมื่อใด ในท้องที่ใด ให้รัฐมนตรีตามข้อใดประกาศในกิจจานุเบกษา
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษษธิการ ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม

2. คำว่า “ติดยาเสพติด” หมายความตามข้อใด
ก. หมายความว่า เสพคิดเป็รประจำเป็นประจำติดต่อกัน
ข.  หมายความว่า ตกอยู่ในสภาพที่จำเป็นต้องพึ่งยาเสพติดนั้น
ค. หมายความว่า สามารถตรวจพบสภาพติดยาได้ตามหลักวิชาการ
ง. ข้อ ก, ข และข้อ ค เป็นความหมายของคำว่าติดยาเสพติด

3. บุคคลในข้อใดเป็นประธานกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
ก. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ข. ปลัดกระทรวงยุติธรรม
ค. ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ง. ผู้บัญชาการทหารสูงสุด
 

4. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง มีจำนวนไม่เกินกี่คน
ก. ไม่เกิน 
2 คน ข. ไม่เกิน 3 คน
ค. ไม่เกิน 
4 คน ง. ไม่เกิน 5 คน

5. คณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดมีอำนาจหน้าที่ตามข้อใด
ก. เสนอแนะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการออกกฎกระทรวงตามพระราชบัญญัตินี้
ข. แต่งตั้งและถอดถอนอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
ค. เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีในการกำหนดสถานที่เพื่อตรวจพิสูจน์การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดหรือการควบคุมตัว
ง. ข้อ ก, ข และข้อ ค เป็นอำนาจหน้าที่จองคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
 

6. กรรมการในคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละกี่ปี
ก. มีวาระการตำแหน่งตำแหน่ง 
2 ปี  ข. มีวาระการตำแหน่งตำแหน่ง 3 ปี
ค. มีวาระการตำแหน่งตำแหน่ง 
4 ปี ง. มีวาระการตำแหน่งตำแหน่ง 5 ปี

7. บุคคลตามข้อใดเป็นประธานคณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
ก. นักจิตวิทยา ข. นักสังคมสงเคราะห์
ค. ผู้แทนกระทรวงยุติธรรม ง. ผู้แทนจากกรมคุมประพฤติ
 

8. ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
ก. พิจารณาอนุญาตให้ผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์หรือผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดได้รับการปล่อยชั่วคราว
ข. เสนอแนะต่อคณะกรรมการเกี่ยวกับวิธีการตรวจพิสูจน์ และวิธีการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
ค. พิจารณาวินิจฉัยว่าผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์เป็นผู้เสพหรือติดยาเสพติดหรือไม่
ง. วางระเบียบอื่นเพื่อปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ
 

9. บุคคลในข้อใดเป็นผู้บังคับบัญชา รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
ก. ผู้อำนวยการศูนย์ ข. คณะกรรมการศูนย์
ค. อธิบดีกรมคุมประพฤติ ง. ประธานคณะกรรมการศูนย์
 

10. ผู้ต้องหาว่ากระทำความผิดฐานเสพติด เสพและมีไว้ครอบครองและมีไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่ายซึ่งเป็นความผิดที่มีโทษจำคุกหรืออยู่ในระหว่างรับโทษจำคุกคำพิพากษาของศาล ให้พนักงานสอบสวนนำตัวผู้ต้องหาไปศาล ภายในเวลาตามข้อใด นับแต่เวลาที่ผู้ต้องหานั้นมาถึงที่ทำการของพนักงานสอบสวน
ก. ภายใน
7 วัน ข. ภายใน 15 วัน
ค. ภายใน
48 ชั่วโมง ง. ภายใน 24 ชั่วโมง

11. จากข้อ 10 ถ้าผู้ต้องหามีอายุไม่ถึงเท่าใด ให้พนักงานสอบสวนนำตัวส่งศาลเพื่อมีคำสั่งให้ตรวจพิสูจน์ภายใน 24 ชั่วโมง นับแต่เวลาที่ผู้ต้องหานั้นมาถึงที่ทำการของพนักงานสอบสวน
ก. มีอายุไม่ถึง 
7 ปีบริบูรณ์ ข. มีอายุไม่ถึง 15 ปีบริบูรณ์
ค. มีอายุไม่ถึง 
18 ปีบริบูรณ์ ง. มีอายุไม่ถึง 20 ปีบริบูรณ์

12. ถ้าปรากฏว่าผู้ต้องหาผู้ใดเสพติดมาก่อน ขณะ หรือภายหลังที่ถูกจับกุม เพื่อให้ตนเองได้รับการส่งตัวไปฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด และไม่ต้องถูกดำเนินคดีในฐานการเสพและมีไว้ครอบครองหรือเสพและมีไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่าย ผลที่ตามมาคืออะไร
ก. ได้รับการส่งตัวไปฟื้นฟูตามสิทธิ
ข. ไม่ได้รับการส่งตัวไปฟื้นฟูเพราะเสียสิทธิ
ค. จะต้องมีคดีและจะได้รับโทษเพิ่มขึ้น
ง. ผู้นั้นไม่มีสิทธิได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามพระราชบัญญัตินี้
 

13. ในระหว่างการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดอาจกำหนดให้ผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดทำกิจกรรมใด เพื่อให้มีความมั่นคงในการดำรงชีวิตโดยห่างไกลจากยาเสพติด
ก. อาจกำหนดให้ฝึกอาชีพ
ข. อาจกำหนดให้ทำงานบริการสังคม

ค.  อาจกำหนดให้ดำเนินการอื่นใดตามความเหมาะสม
ง. อาจกำหนดให้ทำกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง ในข้อ ก, ข หรือ ข้อ ค

14. ผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดต้องอยู่รับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามแผนการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดเป็นเวลานานเท่าไร นับแต่วันถูกส่งตัวเข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
ก. เป็นเวลาไม่เกิน
6 เดือน ข. เป็นเวลาไม่เกิน 9 เดือน
ค. เป็นเวลาไม่เกิน
1 ปี ง. เป็นเวลาไม่เกิน 1 ปีครึ่ง

15. การขยายและการลดระยะเวลาการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดจะกระทำได้กี่ครั้ง
ก. กระทำได้กี่ครั้งก็ได้ ข.  กระทำได้
2 ครั้ง
ค. กระทำได้
3 ครั้ง ง. กระทำได้ 4 ครั้ง

จำหน่ายเอกสารข้อสอบนักวิชาการสาธารณะสุข กรมการแพทย์ ใหม่ล่าสุด
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ 

ความรู้เกี่ยวกับกรมการแพทย์
เก็งข้อสอบนักวิชาการสาธารณสุข
ข้อสอบเฉพาะทาง สาธารณะสุข
ข้อสอบ พ.ร.บ.ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ.2545
ข้อสอบ พระราชบัญญัติ ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
แนวข้อสอบระบาดวิทยากับการป้องกันควบคุมโรค
แนวข้อสอบเกี่ยวกับกระทรวงสาธารณสุข
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม _ฉบับที่ ๒_ พ.ศ. ๒๕๕๐
แนวข้อสอบ เหตุการณ์ การเมืองเศรษฐกิจและ สังคมในปัจจุบัน


ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่  โทร 085-0127724 
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย  ในราคาเพียงชุดละ   399 บาท
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 ธ.กสิกรไทย

 บิ๊กซีขอนแก่น
decho pragay  ออมทรัพย์
โอนเงินแล้วแจ้งที่  decho.by@hotmail.com

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
1.     ระบาดวิทยาในงานป้องกันควบคุมโรค หมายความว่าอย่างไร
ก.     หลักวิชาการพื้นฐานของงานสาธารณสุข
ข.     องค์ความรู้ทางระบาดวิทยาของโรคภัย
ค.     งานสาธารณสุขกลุ่มหนึ่ง
ง.    ถูกทุกข้อ
ตอบ  ง. ถูกทุกข้อ
2.    ข้อใดคือหลักการป้องกันควบคุมโรค
ก. กำจัดที่ต้นเหตุ
ข. ตัดการถ่ายทอดโรค
ค. สร้างเสริมความต้านทานให้กับผู้ที่เสี่ยงต่อโรคและภัย
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ   ง. ถูกทุกข้อ
3.    ข้อใดคือวิธีการกำจัดหรือลดเชื้อโรค
ก.    การฆ่าเชื้อโรคในแหล่งโรคภายนอกร่างกาย     ค. การกำจัดน้ำเสียและขยะ
ข.    การกำจัดสัตว์และแมลงนำโรค         ง. การปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในสถานที่ทำงาน
ตอบ   ก. การฆ่าเชื้อโรคในแหล่งโรคภายนอกร่างกาย
4.    ข้อใดเป็นวิธีการตัดการถ่ายทอดโรค หรือระงับกระบวนการก่อโรคและภัย
ก.    การกำจัดน้ำเสียและขยะ            
ข.    แยกกักผู้ป่วยและผู้สงสัยไม่ให้แพร่เชื้อ
ค.    การวินิจฉัยและให้การรักษาผู้ป่วยที่ถูกต้องโดยเร็ว
ง.    การควบคุมแหล่งกำเนิดปัจจัยเสี่ยง
ตอบ   ก. การกำจัดน้ำเสียและขยะ
5.    ข้อใด ไม่ใช่ วิธีการส่งเสริมให้บุคคลมีความต้านทาน หรือการป้องกันตัวต่อโรค
ก.    การให้วัคซีนป้องกันโรค             ค. การส่งเสริมโภชนาการ
ข.    การใช้ส้วมถูกหลักสุขาภิบาล            ง.  ส่งเสริมการออกกำลังกาย
ตอบ   ข. การใช้ส้วมถูกหลักสุขาภิบาล

    
6.    การป้องกันควบคุมโรคมีกี่แบบ
ก.    5   แบบ                    ค.  2   แบบ
ข.    3   แบบ                    ง.  4   แบบ
ตอบ   ค.  2   แบบ     คือ   1. ป้องกันควบคุมโรคระดับบุคคล    เป็นการป้องกันตามระยะการดำเนินโรคในร่างกาย     2. ป้องกันควบคุมโรคระดับชุมชน    เป็นการป้องกันตามระยะของการระบาด
7.    ข้อใดเป็นการป้องกันควบคุมโรคระดับชุมชน
ก.      การป้องกันควบคุมโรคหัวใจ        ค. การป้องกันควบคุมโรคมะเร็ง
ข.     การป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน        ง. การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตอบ   ง. การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
8.    ข้อใดคือกลยุทธ์การป้องกันควบคุมโรค
ก.    มีเครือข่ายการเฝ้าระวังโรค
ข.    เผยแพร่ความรู้
ค.    สร้างความมีส่วนร่วม ทั้งภาครัฐ เอกชน และชุมชน
ง.    ถูกทุกข้อ
ตอบ  ง. ถูกทุกข้อ
9.    การป้องกันควบคุมโรคในระดับพื้นที่เป็นบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานใด
ก.    ศูนย์สุขภาพชุมชน
ข.    สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ
ค.    เทศบาลและ อบต. ในระดับพื้นที่ และ อบจ. ในระดับจังหวัด
ง.    ถูกทุกข้อ
ตอบ   ค. เทศบาลและ อบต. ในระดับพื้นที่ และ อบจ. ในระดับจังหวัด
10.    งานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา หมายถึง
ก.    กระบวนการที่ทำให้ทราบว่ามีการระบาดเกิดขึ้น เป็นผลให้มีการสอบสวนโรคและควบคุมการระบาดได้ทันเหตุการณ์
ข.    การดำเนินงานหรือกิจกรรมที่ให้ได้มาซึ่งข้อมูลข่าวสารและข้อเท็จจริงเกี่ยวกับองค์ประกอบของการเกิดโรคภัยไข้เจ็บและเหตุการณ์ผิดปกติที่เป็นปัญหาสาธารณสุข
ค.     การดำเนินการต่อกระบวนการเกิดโรคทุกระยะ ตั้งแต่การป้องกันไม่ให้มีโรคเกิดขึ้น หรือป้องกันไม่ให้มีความรุนแรง
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

กรุณาใช้ข้อความที่สุภาพ คุณสามารถบันทึกฉบับร่างได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้