ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : เปิดสอบวิศวกร สำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม 2 – 20 ก.ย. 2556
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

เปิดสอบวิศวกร สำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม 2 – 20 ก.ย. 2556

แชร์กระทู้นี้

อ้างอิง: หัวข้อนี้ถูกเน้น โดย admin เมื่อเวลา(2011-10-06)

สำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เปิดรับสมัครสอบ งานราชการ วิศวกร (2 – 20 ก.ย. 2556)

สำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมเปิดรับสมัครสอบ งานราชการ 2556 
ประกาศรับสมัคร : ข้าราชการ โดยวิธี : สอบแข่งขัน
ชื่อตำแหน่ง : วิศวกร
อัตราเงินเดือน : 13,300 บาท
ประเภท : วิชาการ ระดับปฏิบัติการ
จำนวนตำแหน่งว่าง : 6 ตำแหน่ง

ระดับการศึกษา : ปริญญาตรี
รายละเอียดวุฒิ : ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมเคมี วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม และวิศวกรรมอุตสาหการ
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ : ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานวิศวกรรม ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ตรวจสอบแผนผัง แผนปฏิบัติการ โครงสร้าง รายการคำนวณ รูปแบบทางวิศวกรรมต่างๆ ในงานที่รับผิดชอบให้ถูกต้องตามหลักกฎหมาย หลักวิชาการและมาตรฐานสากล เพื่อให้เกิดความมั่งคงแข็งแรง ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
(๒) หาข้อมูลและตรวจสอบกรณีเกิดอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรม สถานประกอบการ การจราจรและขนส่ง เพื่อช่วยประสานการกู้ภัยและพิจารณาสั่งการให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
(๓) ค้นคว้า ทดลอง และตรวจสอบการใช้พลังงานในอาคารและโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ เพื่อการอนุรักษ์ ประหยัดและปลอดภัยในการใช้พลังงานของประเทศ
(๔) สำรวจ ออกแบบ วิเคราะห์ ค้นคว้า ทดสอบและตรวจสอบ ปริมาณน้ำ คุณภาพน้ำ ระบบประปา และแหล่งน้ำธรรมชาติ เพื่อปฏิบัติการอนุรักษ์ ฟื้นฟูแหล่งน้ำในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
(๕) สาธิตและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกี่ยวกับงานวิศวกรรม และการจัดการสิ่งแวดล้อม โดยประยุกต์เทคโนโลยีที่เหมาะสมจากภูมิปัญญาท้องถิ่นและเทคโนโลยีสากล เพื่อเพิ่มศักยภาพของท้องถิ่นและ การมีส่วนร่วมในงานวิศวกรรม และการจัดการกับสิ่งแวดล้อม
(๖) ตรวจสอบ ควบคุม กำกับ ดูแล การประกอบกิจการ เพื่อให้การดำเนินงานของสถานประกอบการถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่วางไว้
(๗) ตรวจสอบ การขอจดทะเบียน การแจ้ง การขออนุญาต ตั้ง ขยาย ย้าย ยกเลิก ต่อใบอนุญาต การประกอบกิจการ เพื่อให้การประกอบกิจการเป็นไปตามกฎหมาย หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่กำหนดไว้
(๘) ปฏิบัติงาน กำกับ ดูแลการซ่อมบำรุงรักษา ผลิตและสอบเทียบ เครื่องมือและอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ ระบบไฟฟ้า ระบบสื่อสารและเครื่องจักรกล เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๙) ศึกษา รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล ออกแบบ และกำหนดรูปแบบรายการ เครื่องมือ และอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ ระบบไฟฟ้า ระบบสื่อสารและเครื่องจักรกล เพื่อการผลิตและการพัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน
/๒. ด้านการ…
- ๒ -
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจง เกี่ยวกับงานวิศวกรรมต่างๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบในระดับเบื้องต้นแก่ผู้ประกอบการ หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศ ที่เกี่ยวกับงานวิศวกรรมต่างๆ เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน และใช้ประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่างๆ
ความรู้ที่จำเป็น(วิชาที่สอบ) : ทดสอบความรู้ความสามารถโดยวิธีการสอบข้อเขียน ดังนี้
๑. ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕
๒. ความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม เครื่องจักร และความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม
ทักษะ/สมรรถนะ : -
เงื่อนไข : ไม่มีเงื่อนไข
ปฏิบัติงานที่: 
วิธีการสมัครงานราชการสำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม : 
ขอและยื่นใบสมัครด้วยตนเองได้ที่ กลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักบริหารกลาง สำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ชั้น 5 อาคารสำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ถ.พระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 2 – 20 ก.ย. 2556 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ: 30 ก.ย. 2556
สอบวันที่:   2556
ประกาศผลสอบ:   2556
 ดาวน์โหลดรายละเอียด/ประกาศรับสมัครสอบ คลิกที่นี่!!

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบวิศวะกร สำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ใหม่ล่าสุด

รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ

ความรู้เกี่ยวกับกระทรวงอุตสาหกรรม
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
- การจัดความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม
- ถาม-ตอบ หลักความปลอดภัยในการทำงาน
- พื้นฐานวิศวกรรมศาสตร์และอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
- การบริหารงานการซ่อมบำรุงรักษาเครื่องจักกล
- การสอบสัมภาษณ์

สนใจสั่งซื้อมาที่  โทร 085-0127724 
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย  ในราคาเพียงชุดละ   399 บาท 

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ 399-

ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +VCD เทคนิคการสอบสัมภาษณ์   ราคา 679 บาท


กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ 

เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 ธ.กสิกรไทย
 
 สาขาบิ๊กซีขอนแก่น ชื่อบัญชี 
เดโช  พระกาย  ออมทรัพย์ 
โอนเงินแล้วแจ้งที่  
decho.by@hotmail.com

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

http://www.testthai1.com จำหน่าย E-BOOK แนวข้อสอบรับราชการ รัฐวิสาหกิจ ทุกหน่วยงาน

สรุปสาระสำคัญของพระราชบัญญัติ
โรงงาน พ.ศ. 2535

  1.   เหตุผลและวัตถุประสงค์
              
โดยที่ พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2512 กำหนดให้โรงงานทุกลักษณะต้องขออนุญาต แต่ตาม
ลักษณะที่เป็นจริง โรงงานต่าง ๆ มีลักษณะแตกต่างกัน โรงงานบางประเภทไม่จำเป็นต้องควบคุม
ดูแลการตั้งโรงงาน เพียงแต่ดูแลการดำเนินงานเท่านั้น คงมีแต่โรงงานประเภทที่อาจเกิดอันตราย
จากการประกอบกิจการเท่านั้นที่ควรจะควบคุมการจัดตั้งอย่างเคร่งครัด และสมควรปรับปรุงวิธี
การอนุญาตให้เหมาะสมยิ่งขึ้น จึงจำเป็นต้องตรา พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535 นี้
              
2.   โรงงาน หมายความว่า
                    2.1  
อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะ
                    2.2  
ที่ใช้เครื่องจักรมีกำลังรวมตั้งแต่ 5 แรงม้าขึ้นไปหรือใช้คนงานตั้งแต่ 7 คนขึ้นไป
โดยจะใช้เครื่องจักรหรือไม่ก็ตาม
                    2.3  
สำหรับทำ ผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่อม ซ่อมบำรุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ
ลำเลียง เก็บรักษา หรือทำลายสิ่งใด ๆ
                   2.4  
ตามประเภทหรือชนิดของโรงงานที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวง(กฏกระทรวง)
ฉบันที่ 1 (พ.ศ.2535) (มาตรา 5)
              
3.   ตั้งโรงงาน หมายความว่า
                    3.1  
การก่อสร้างอาคารเพื่อติดตั้งเครื่องจักรสำหรับประกอบกิจการโรงงาน หรือ
                    3.2  
นำเครื่องจักรสำหรับประกอบกิจการโรงงานมาติดตั้งในอาคาร สถานที่ หรือ
ยานพาหนะที่จะประกอบกิจการ (มาตรา 5)
              
4.   แบ่งโรงงานออกเป็น 3 จำพวก
                    4.1  
โรงงานจำพวกที่ 1 ได้แก่ โรงงานประเภท ชนิด และขนาดที่สามารถประกอบ
กิจการโรงงานได้ทันทีตามความประสงค์
                    4.2  
โรงงานจำพวกที่ 2 ได้แก่ โรงงานประเภท ชนิด และขนาด ที่เมื่อจะประกอบ
กิจการโรงงานต้องแจ้งให้ผู้อนุญาตทราบก่อน
                    4.3  
โรงงานจำพวกที่ 3 ได้แก่ โรงงานประเภท ชนิด และขนาด ที่การตั้งโรงงานจะ
ต้องได้รับใบอนุญาตก่อน (มาตรา 7)
              
5.   พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535 มิให้ใช้บังคับแก่โรงงานของทางราชการที่ดำเนินการโดย
ทางราชการ เพื่อประโยชน์แห่งความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศ (มาตรา 5)
             
  6.   ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (โรงงานจำพวกที่ 3) มีอายุการใช้ 5 ปีปฏิทิน
นับแต่ปีที่เริ่มประกอบการโรงงาน(มาตรา14)การขอต่ออายุใบอนุญาตต้องยื่นคำขอก่อนวันที่ใบ
อนุญาตภายในกำหนด60วันนับแต่วันที่ใบอนุญาตสิ้นอายุแล้วให้ถือว่าได้ยื่นคำขอต่ออายุภายใน
ระยะเวลาที่กำหนด แต่เมื่อได้รับอนุญาตให้ต่ออายุใบอนุญาตแล้ว จะต้องเสียค่าปรับเพิ่มอีกร้อยละ
20
ของค่าธรรมเนียมต่ออายุใบอนุญาต (มาตรา 15)
              
7.   การขยายโรงงานได้แก่
                    7.1  
เพิ่มจำนวน เปลี่ยนหรือเปลี่ยนแปลงเครื่องจักรทำให้มีกำลังรวมเพิ่มขึ้นตั้งแต่
ร้อยละห้าสิบขึ้นไป ในกรณีเครื่องจักรเดิมมีกำลังรวมไม่เกินหนึ่งร้อยแรงม้า หรือเพิ่มขึ้นตั้งแต่
ห้าสิบแรงม้าขึ้นไป ในกรณีเครื่องจักรเดิมมีกำลังรวมเกินกว่า ร้อยแรงม้า
                     7.2  
การเพิ่ม หรือแก้ไขส่วนใดส่วนหนึ่งของอาคารโรงงาน ทำให้ฐานรากเดิมของ
อาคารโรงงานฐานใดฐานหนึ่งต้องรับน้ำหนังเพิ่มขึ้นตั้งแต่ห้าร้อยกิโลกรัมขึ้นไป (มาตรา 18)
              
8.   การโอนและการขอรับโอนใบอนุญาต
                    8.1  
ผู้รับใบอนุญาตโอนการประกอบกิจการโรงงาน ให้เช่า หรือให้เช่าซื้อ หรือขาย
โรงงาน ให้ถือว่าผู้นั้นเลิกประกอบกิจการโรงงานตั้งแต่วันที่ดำเนินการดังกล่าว แล้วแต่กรณี และ
ให้ผู้รับโอน ผู้เช่า หรือผู้เช่าซื้อหรือผู้ซื้อโรงงานขอรับโอนใบอนุญาตภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ถือ
ว่าผู้รับใบอนุญาตเลิกประกอบกิจการโรงงาน (มาตรา 21)
                     8.2  
ในกรณีผู้รับใบอนุญาตตาย ให้ทายาทหรือผู้จัดการมรดกยื่นคำขอต่อผู้อนุญาต
เพื่อรับโอนใบอนุญาตภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ผู้รับใบอนุญาตตาย (มาตรา 22)
              
9.   มาตรการการกำจัดดูแลโรงงาน
                     9.1  
พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจสั่งให้ผุ้ประกอบกิจการโรงงานที่ฝ่าฝืนหรือไม่
ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติโรงงานฯ โดยสั่งให้ระงับการกระทำที่ฝ่าฝืนหรือแก้ไขหรือปรับปรุงหรือ
ปฏิบัติให้ถูกต้องหรือเหมาะสมภายในระยะเวลาที่กำหนด (คำสั่งตามมาตรา 37)
          
พนักงานเจ้าหน้าที่เมือได้รับอนุมัติจากปลัดกระทรวง หรือผู้ซึ่งปลัดมอบหมาย มีอำนาจ
ผูกมัดประทับตราเครื่องจักร เพื่อมิให้เครื่องจักรทำงานในระหว่างที่พนักงานเจ้าหน้าที่สั่งการให้
ปรับปรุงแก้ไขโรงงาน (มาตรา 37)
                    9.2  
ปลัดกระทรวง หรือผู้ซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมาย มีอำนาจสั่งให้ผู้ประกอบ
กิจการโรงงานหยุดประกอบกิจการโรงงานทั้งหมด หรือบางส่วนชั่วคราวและให้ปรับปรุงแก้ไข
โรงงานเสียใหม่ ภายในระยะเวลาที่กำหนดในกรณีดังนี้ (มาตรา 39)
                         9.2.1  
เมื่อไม่มีการปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ที่สั่งการ ตามมาตรา
37
โดยไม่มีเหตุอันสมควร
                         9.2.2  
การประกอบกิจการอาจก่อให้เกิด อันตรายความเสียหายหรือความเดือด
ร้อนอย่างร้ายแรงต่อบุคคลหรือทรัพย์สิน
              
หากผู้ประกอบกิจการโรงงานไม่ทำการปรับปรุงแก้ไขโรงงานภายในระยะเวลาที่
กำหนด ปลัดกระทรวง หรือผู้ซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมายมีอำนาจสั่งปิดโรงงาน กรณีที่เป็น
โรงงานจำพวกที่ 3 คำสั่งปิดโรงงานเป็นการเพิกถอนใบอนุญาต (คำสั่งให้หยุดประกอบกิจการ
โรงงาน ใช้อำนาจตามมาตรา 39 วรรคหนึ่ง คำสั่งปิดโรงงานใช้อำนาจตามมาตรา 39 วรรคสาม)
               
10.   หากราชการเข้าไปจัดการแก้ไขปัญหามลพิษ หรือผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่เกิด
จากโรงงาน โดยขอรับเงินช่วยเหลือจากกองทุนสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและ
รักษาคุรภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติได้ (มาตรา 42 วรรคสอง)
              
11.   ผู้ประกอบกิจการโรงงาน จำพวกที่ 2 และโรงงานจำพวกที่ 3 ต้องชำระค่า
ธรรมเนียมรายปีทุกปีจนกว่าจะเลิกประกอบกิจการโรงงาน ถ้ามิได้ชำระค่าธรรรมเนียมภายใน
เวลาที่กำหนด ให้เสียเงินเพิ่มอีกร้อยละห้าต่อเดือน และถ้าไม่ยินยอมชำระโดยไม่มีเหตุอันสมควร
พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจสั่งให้ยุคประกอบกิจการโรงงานได้จนกว่าจะได้ชำระให้ครบถ้วน
(
มาตรา 43)
              
12.   ให้มีคณะกรรมการเปรียบเทียบคดีความผิดตาม พ.ร.บ. โรงงาน 2535 ในเขต
กรุงเทพมหานคร และในส่วนภูมิภาคตามความเหมาะสม (มาตรา 65)
              
13.   กรณีมีการการกระทำความผิดตาม พ.ร.บ. โรงงาน 2535 ให้ถือว่าบุคคลผู้อาศัยอยู่
ใกล้ชิดหรือติดกับโรงงานที่มีการกระทำความผิด เป็นผู้เสียหายตามประมวลกฎหมายว่าด้วยวิธี
พิจารณาความอาญา (มาตรา 64)
              
14.   เขตประกอบการอุตสาหกรรม คือท้องที่ใดท้องหนึ่งซึ่งรัฐมนตรีกำหนดโดยประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษา ให้เป็นเขตประกอบการอุตสาหกรรม (มาตรา 30)
              
15.   กรณีที่จะมีการตรวจสอบโรงงานหรือเครื่องจักรเพื่อปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
อาจกำหนดให้เอกชนเป็นผู้ดำเนินการจัดทำรายงานผลการตรวจสอบแทนการปฏิบัติหน้าที่ของ
พนักงานเจ้าหน้าที่ก็ได้ (มาตรา 9)
              
16.   การดำเนินคดีผู้กระทำความผิดตาม พ.ร.บ. โรงงาน 2535 หากผู้ต้องหารับสารภาพ
ตามข้อกล่าวหาและยินยอมให้คณะกรรมการเปรียบเทียบคดีทำการเปรียบเทียบปรับ ถือว่าคดีเลิก
กันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา หากไม่ยินยอมให้เปรียบเทียบปรับก็จะถูก
ดำเนินคดีต่อไปตามกฎหมาย
                   
ความผิดที่ไม่อาจกระทำการเปรียบเทียบคดีได้ คือ ความผิดตามมาตรา 50 วรรค 2
หรือมาตรา 52 วรรค2 (มาตรา 65)
              
17.   บรรดากฎกระทรวงและประกาสกระทรวงที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน (ออก
ตาม พ.ร.บ. โรงงาน 2512) ให้คงใช้บังคับได้ต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติแห่ง พ.ร.บ.
โรงงาน 2535 (มาตรา 68)
              
18.   โรงงานจำพวกที่ 3 ในเขตนิคมอุตสาหกรรม หรือในเขตประกอบการอุตสาหกรรม
ได้รับยกเว้นเกี่ยวกับการขอรับใบอนุญาต และโรงงานจำพวกที่ 2 ได้รับการยกเว้นเกี่ยวกับการ
แจ้งประกอบกิจการโรงงานต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ (มาตรา 30

19.เพื่อประโยชน์ในทางเศรษฐกิจการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมความมั่นคงความปลอดภัยของประเทศ หรือของสาธารณชน รัฐมนตรคโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรีมีอำนาจกำหนด จำนวนของ
โรงงานที่จะให้ตั้งหรือขยาย หรือที่จะไม่ให้ตั้งหรือขยายในท้องที่หนึ่ง หรือจะกำหนดเกี่ยวกับเรื่อง
วัตถุดิบ กำหนดคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในโรงงาน หรือกำหนดเกี่ยวกับผลผลิตของโรงงานก็
ได้ (มาตรา 32)      

 

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติโรงงาน พ..2535

6. พระราชบัญญัติโรงงาน พ.. 2535” มีผลบังคับใช้เมื่อใด

1. เมื่อพ้นกำหนดเก้าสิบวัน นับตั้ง2. แต่วันประกาศราชกิจจานุเบกษา

3. วันถัดไป นับตั้ง4. แต่วันประกาศราชกิจจานุเบกษา

5. เมื่อพ้นกำหนดสิบวัน นับตั้ง6. แต่วันประกาศราชกิจจานุเบกษา

7. เมื่อพ้นกำหนดสามสิบวัน นับตั้ง8. แต่วันประกาศราชกิจจานุเบกษา

ตอบ . เมื่อพ้นกำหนดเก้าสิบวัน นับตั้งแต่วันประกาศราชกิจจานุเบกษา

มาตรา 2 พระราชพระราชบัญญัตินี้ให้บังคับใช้เมื่อพ้นกำหนดเก้าสิบวัน นับตั้งแต่วันประกาศราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

14. พระราชบัญญัติโรงงาน มีผลให้ยกเลิกพระราชบัญญัติ ฉบับใดบ้าง

9. พระราชบัญ10. 11. ัติโรง12. 13. าน พ.. 2512

14. พระราชบัญ15. 16. ัติโรง17. 18. าน (ฉบับที่ 2) .. 2511 

19. พระราชบัญ20. 21. ัติโรง22. 23. าน (ฉบับที่ 3) .. 2518

24. พระราชบัญ25. 26. ัติโรง27. 28. าน (ฉบับที่ 4) .. 2522

ตอบ . พระราชบัญญัติโรงงาน พ.. 2512

 มาตรา 3 ให้ยกเลิก

(5) พระราชบัญญัติโรงงาน พ.. 2512

(6) พระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ 2) .. 2518

(7) พระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ 3) .. 2522

 

21. พระราชบัญญัตินี้มิให้ใช้กับโรงงานของทางราชการ เพื่อเหตุผลใด

29. เพื่อเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในประเทศ

30. เพื่อประโยชน์แห่ง31. ความมั่นคง32. และความปลอดภัยของ33. ประเทศ

34. เพื่ออำนวยความสะดวกแก่หน่วยง35. านราชการ

36. ไม่มีข้อใดถูก

ตอบ . เพื่อประโยชน์แห่งความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศ

 มาตรา 4 พระราชบัญญัตินี้มิให้ใช้บังคับแก่โรงงานของทางราชการที่ดำเนินการโดยทางราชการ เพื่อประโยชน์แห่งความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศ แต่ในการประกอบกิจการนี้ไปเป็นแนวทางในการดำเนินงาน

25. โรงงาน หมายความว่าอย่างไร

37. อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใช้เครื่อง38. จักรมีกำลัง39. รวมห้าแรง40. ม้า

41. อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใช้เครื่อง42. จักรมีกำลัง43. รวมสิบแรง44. ม้า

45. อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใช้เครื่อง46. จักรมีกำลัง47. รวมสิบห้าแรง48. ม้า

49. อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใช้เครื่อง50. จักรมีกำลัง51. รวมยี่สิบแรง52. ม้า

ตอบ . อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใช้เครื่องจักรมีกำลังรวมห้าแรงม้า

 มาตรา 5 ในพระราชบัญญัตินี้

 โรงงาน หมายความว่า อาคาร สถานที่ หรือที่ยานพาหนะที่ใช้เครื่องจักรมีกำลังรวมตั้งแต่ห้าแรงม้าหรือกำลังเทียบเท่าตั้งแต่ห้าแรงม้าขึ้นไป หรือใช้คนงานตั้งแต่เจ็ดคนขึ้นไป โดยใช้เครื่องจักรหรือไม่ก็ตามสำหรับทำ ผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่อม ซ่อมบำรุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ ลำเลียง เก็บรักษา หรือทำลายสิ่งใดๆ ทั้งนี้ ตามประเภทหรือชนิดของโรงงานที่กำหนดในกฎกระทรวง

 ตั้งโรงงาน หมายความว่า การก่อสร้างอาคารเพื่อติดตั้งเครื่องจักรสำหรับประกอบกิจการ โรงงาน หรือนำเครื่องจักร สำหรับประกอบกิจการโรงงานมาติดตั้งในอาคารสถานที่หรือยานพาหนะที่จะประกอบกิจการ

 ประกอบกิจการโรงงาน หมายความว่า การทำ ผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่อม ซ่อมบำรุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ ลำเลียง เก็บรักษา หรือทำลายสิ่งใดๆ ตามลักษณะกิจการของโรงงานแต่ไม่รวมถึงการทดสอบเดินเครื่องจักร

 เครื่องจักร หมายความ สิ่งที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนหลายชิ้นสำหรับใช้ก่อกำเนิดพลังงาน เปลี่ยนหรือแปรสภาพพลังงาน หรือส่งพลังงาน ทั้งนี้ ด้วยกำลังน้ำ ไอน้ำ ลม ก๊าซไฟฟ้า หรือพลังงานอื่นอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน และหมายความรวมถึงเครื่องอุปกรณ์ไฟลวีล ปุลเล สายพาน เพลา เกียร์ หรือสิ่งอื่นที่ทำงานสนองกัน

 คนงาน หมายความว่า ผู้ซึ่งทำงานในโรงงาน ทั้งนี้ ไม่รวมถึงผู้ซึ่งทำงานฝ่ายธุรการ

 ผู้อนุญาต หมายความว่า ปลัดกระทรวงหรือผู้ซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมายตามเหมาะสม

 ใบอนุญาต หมายความว่า ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน

 พนักงานเจ้าหน้าที่ หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้

 ปลัดกระทรวง หมายความว่า ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม

 รัฐมนตรี หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

29. ในพระราชบัญญัติฉบับนี้รัฐมนตรีหมายถึงบุคคลใด

53. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง54. กลาโหม

55. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง56. อุตสาหกรรม

57. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง58. มหาดไทย

59. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง60. การคลัง61. 

ตอบ . รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม

 ดูคำอธิบายข้อข้างต้น

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
decho ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
11111111
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

สามารถอัพโหลดไฟล์แนบ สำหรับโพสได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้