แนวข้อสอบ
พระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ
พ.ศ.2547 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่
2) พ.ศ.2551
1. พระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ
พ.ศ.2547 ให้ไว้ ณ วันใด
ก. 12 มกราคม
2547 ค. 19 มกราคม 2547
ข. 13 มกราคม 2547 ง.
20 มกราคม 2547
ตอบ ข. 13 มกราคม
2547
2. พระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ
พ.ศ.2547 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อใด
ก. 12 มกราคม
2547 ค. 19 มกราคม 2547
ข. 13 มกราคม 2547 ง.
20 มกราคม 2547
ตอบ ค. 19
มกราคม 2547
3. พระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ
พ.ศ.2547 มีผลบังคับใช้เมื่อใด
ก. 12 มกราคม
2547 ค. 19 มกราคม 2547
ข. 13 มกราคม 2547 ง.
20 มกราคม 2547
ตอบ ง. 20 มกราคม
2547
4. ใครคือผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ
พ.ศ.2547
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ตอบ ค.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
5. พระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ
พ.ศ.2547 มีกี่หมวด กี่มาตรา
ก. 5 หมวด
47 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล
ข. 5 หมวด
44 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล
ค. 5 หมวด
40 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล
ง. 6 หมวด
44 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล
ตอบ ข. 5
หมวด 44 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล
6. กคพ. คืออะไร
ก. คณะกรรมการคดีพิเศษ
ข. คณะกรรมการสอบสวนคดีพิเศษ
ค. คณะกรรมการการสอบสวนคดีพิเศษ
ง. คณะกรรมการสอบสวนสืบสวนคดีพิเศษ
ตอบ ก. คณะกรรมการคดีพิเศษ
7. ใครเป็นประธานใน กคพ.
ก. นายกรัฐมนตรี ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ข. ปลัดกระทรวงยุติธรรม ง.
ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ตอบ ก. นายกรัฐมนตรี
8. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใน
กคพ. มีกี่คน
ก. 10 คน ค. 5 คน
ข. 9 คน ง. 4 คน
ตอบ ก.10
คน
9. ข้อใด ไม่ใช่ คุณสมบัติของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใน
กคพ.
ก. มีอายุไม่ต่ำกว่า 30
ปีบริบูรณ์
ข. ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
คนไร้ความสามารถ
ค. มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
ง. ไม่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ตอบ ก. มีอายุไม่ต่ำกว่า 30 ปีบริบูรณ์
10. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใน กคพ. มีวาระการดำรงตำแหน่งกี่ปี
ก. 4 ปี ค. 5 ปี
ข. 3 ปี ง. 2 ปี
ตอบ ง.
2 ปี