ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ ระดับ 1,2 ท้องถิ่น 2556
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ ระดับ 1,2 ท้องถิ่น 2556

แชร์กระทู้นี้

ถาม – ตอบ เกี่ยวกับระเบียบงานสารบัญ

 

1. ใครเป็นผู้วางระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ
พ.ศ.
2526

- คณะรัฐมนตรี

2. ข้อความใดเป็นความหมายของงานสารบรรณตามระเบียบนี้

-การเก็บรักษา , การรับ-การส่ง, การจัดทำ,การยืม,การทำลาย

3. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณที่ถือปฏิบัติในขณะนี้เป็นฉบับ
พ.ศ.ใด


- พ.ศ. 2526

4. หนังสือราชการ
คือ


- เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ

5. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ
แบ่งเป็นกี่ประเภท


- 3 ประเภท (ด่วน,ด่วนมาก,ด่วนที่สุด)

6. ส่วนราชการใดมีความจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติงานสารบรรณนอกเหนือไปจากที่กำหนดไว้ในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ
พ.ศ.
2526 ให้ขอทำความตกลงกับใคร

- ปลัดสำนักนกยกรัฐมนตรี

7. หนังสือราชการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ
มีกี่ชนิด


- 6 ชนิด

8. หนังสือราชการคือ
เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการมีกี่ประเภท


- 6 ประเภท

9. ถ้าผู้รับหนังสือเป็นรัฐมนตรีคำขึ้นต้นใช้คำว่าอะไร

- เรียน
(คำลงท้าย..ขอแสดงความนับถือ)

10. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 ให้ใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใด

- วันที่ 24 กันยายน
2548

11. หนังสือที่ติดต่อราชการเป็นแบบพิธีได้แก่หนังสือชนิดใด

- หนังสือภายนอก

12. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ใช้บังคับแล้ว ให้ยกเลิกฉบับใดบ้าง

- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ
พ.ศ.
2506


- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ
พ.ศ.
2507


- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ
ฉบับที่
2 พ.ศ. 2516

13. งานสารบรรณมีความหมายตรงกับอะไร

- งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร
เริ่มตั้งแต่การจัดทำ การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำลาย

14. “หนังสือตามระเบียบนี้
หมายความว่าอะไร


- หนังสือราชการ

15. หนังสือประทับตราใช้สำหรับเรื่องใด

- การเตือนเรื่องที่ค้าง

- การขอรายละเอียดเพิ่มเติม

- การแจ้งผลงานให้ผุ้เกี่ยวข้องทราบ

16. เจ้าของเรื่องจะเก็บหนังสือประเภทใดได้บ้าง

- เจ้าของเรื่องสามารถเก็บหนังสือทั้งที่เป็นต้นฉบับและสำเนาซึ่งเป็นหนังสือที่อยู่ในระหว่างปฏิบัติและหนังสือที่ปฏิบัติการเสร็จแล้วแต่ต้องเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ

17. การทำสำเนาในระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ประกอบด้วยอะไรบ้าง

- สำเนาคู่ฉบับ
หนังสือราชการเป็นหลักฐานที่สำคัญในราชการระเบียบงานสารบรรณจึงบังคับให้มีสำเนาคู่ฉบับไว้อย่างน้อย
1 ฉบับ


- การทำสำเนา กระทำได้หลายวิธี เช่น
ถ่าย อัด คัด เป็นต้น


- เอกสารทางราชการจำเป็นต้องมีสำเนาซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องส่งให้ผู้เกี่ยวข้องทราบหลายคน

18. ผู้ที่จะทำงานสารบรรณได้ดีจำเป็นต้องรู้งานด้านธุรการในลักษณะใดบ้าง

- มีความรู้ด้านภาษาเป็นอย่างดี

- มีการติดต่อ
โต้ตอบและประสานงานที่ดี


- รู้จักกาลเทศะ ความควรไม่ควร

19. หนังสือสั่งการ มีกี่ชนิด

- 3 ชนิด    ได้แก่  คำสั่ง, ระเบียบ, ข้อบังคับ

20. หนังสือประชาสัมพันธ์มีกี่ชนิด

-  3 ชนิด   ได้แก่  ประกาศ, แถลงการณ์, ข่าว

21. หนังสือรับรองรายงานการประชุมและหนังสืออื่นจัดอยู่ในหนังสือชนิดใด

- หนังสือที่เจ้าหน้าที่จัดทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ

22. การอ้างหนังสือที่มีทั้งชั้นความเร็วและชั้นความลับนั้น
ข้อปฏิบัติที่ถูกต้องคือ


- อ้างชั้นความลับก่อนชั้นความเร็ว

23. หนังสือราชการที่จัดทำขึ้นให้มีสำเนาคู่ฉบับไว้อย่างน้อยกี่ฉบับ

- 1 ฉบับ

24. “อิเล็กทรอนิกส์หมายความว่า

- การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอนไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือวิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน


- การประยุกต์ใช้วิธีการทางแสง
วิธีการทางแม่เหล็ก
หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้วิธีต่างๆเช่นว่านั้น

25. หนังสือประทับตราคือ

- หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป
โดยให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกองหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป
เป็นผู้รับผิดชอบลงชื่อย่อกำกับตรา

26. หนังสือประทับตราให้ใช้ได้ทั้งระหว่างส่วนราชการกับส่วนราชการ
และระหว่างส่วนราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีที่ไม่ใช่เรื่องสำคัญ ได้แก่


- การขอรายละเอียดเพิ่มเติม

- การส่งสำเนาหนังสือ สิ่งของ
เอกสาร หรือบรรณสาร


- การตอบรับทราบที่ไม่เกี่ยวกับราชการสำคัญหรือการเงิน

- การแจ้งผลงานที่ได้ดำเนินการไปแล้วให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทราบ

- การเตือนเรื่องที่ค้าง

- เรื่องซึ่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไปกำหนด
โดยทำเป็นคำสั่ง ให้ใช้หนังสือประทับตรา

27.  ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการเก็บหนังสือสำรวจหนังสือที่มีอายุครบการเก็บในปีนั้น
และทำบัญชีหนังสือขอทำลายเสนอหัวหน้าส่วนราชการ ภายในกี่วัน


- 60 วัน
หลังจากวันสิ้นปีปฏิทินนั้น

28. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ
เป็นหนังสือที่ต้องจัดส่งและดำเนินการทางสารบรรณด้วยความรวดเร็วเป็นพิเศษ แบ่งเป็นกี่ประเภท  อะไรบ้าง

-  3 ประเภท ได้แก่  - ด่วนที่สุด (ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติในทันทีที่ได้รับหนังสือนั้น)

                              
              - ด่วนมาก (ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติโดยเร็ว

                               
             - ด่วน
(ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติเร็วกว่าปกติ เท่าที่จะทำได้)

29. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ ต้องระบุชั้นความเร็ว
และขนาดตัวอักษร อย่างไร


- ให้ระบุชั้นความเร็วด้วยตัวอักษรสีแดง
ขนาดไม่เล็กกว่าตัวพิมพ์โป้ง
32 พอยท์
ให้เห็นได้ชัดบนหนังสือและบนซอง

30. กรณีต้องการให้หนังสือส่งถึงผู้รับภายในเวลาที่กำหนด ควรระบุอะไรบ้าง

- ระบุคำว่า ด่วนภายใน
แล้วลง วัน เดือน ปี
และกำหนดเวลาที่ต้องการให้หนังสือนั้นไปถึงผู้รับ กับให้เจ้าหน้าที่ส่งถึงผู้รับซึ่งระบุบนหน้าซองภายในเวลาที่กำหนด

31. “ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์หมายความว่า

- การรับส่งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือผ่านระบบสื่อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์

32. หนังสือที่ใช้ติดต่อราชการระหว่างส่วนราชการหรือส่วนราชการกับบุคคลภายนอกคือหนังสือใด

- หนือสือภายนอก

-หนังสือประทับตรา

33. ผู้มีอำนาจให้บุคคลภายนอกยืมหนังสือคือใคร

- กระทำมิได้

34. ผู้มีอำนาจให้บุคคลภายนอกดูหรือคัดลอกหนังสือ คือใคร

- หัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้นไป
หรือผู้ทีได้รับมอบหมาย

1.ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ใช้บังคับแก่ใคร

- ใช้บังคับแก่ส่วนราชการ (
ส่วนราชการใดมีความจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติงานสารบรรณนอกเหนือไปจากที่ได้กำหนดไว้ในระเบียบนี้
ให้ขอทำความตกลงกับผู้รักษาการตามระเบียบนี้)


red;">คู่มือเตรียมสอบ ภาค ข ตำแหน่งเจ้าพนักงานธุรการ 1,2. พนักงานส่วนท้องถิ่น
รายละเอียดในไฟล์ E-book และหนังสือ ประกอบด้วย  
  

- ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
- แนวข้อสอบ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
- แนวข้อสอบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ _office
- แนวข้อสอบท้องถิ่น อบต. เทศบาล อบจ.ที่ ม.ราม ออกให้  ใช้สอบทั่วประเทศ
- แนวข้อสอบพนักงานธุรการ
- แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม
- สรุปสาระสำคัญระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ _สูตรและเทคนิคการจำ_
- สาระสำคัญของพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540


สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 
ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
decho ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
11111111111111
decho ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
1111111111111111
decho ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
1111111111111111
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
00000000000
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
1.    รถราชการในข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๙ มีกี่ประเภท
ก.    2  ประเภท                    ค.  3  ประเภท
ข.    4  ประเภท                    ง.  5  ประเภท
ตอบ    ค.  3  ประเภท
2.    รถราชการในข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๙ ได้แก่รถอะไรบ้าง
ก.    รถรับจ้าง      รถรับรอง    รถส่วนกลาง
ข.    รถส่วนกลาง    รถรับรอง   รถเฉพาะตำแหน่ง
ค.    รถส่วนกลาง    รถรับรอง   รถประจำตำแหน่ง
ง.    รถรับจ้าง      รถส่วนตัว     รถประจำตำแหน่ง
ตอบ   ข. รถส่วนกลาง    รถรับรอง   รถประจำตำแหน่ง
3.    รถยนต์หรือรถจักรยานยนต์ที่จัดไว้เพื่อใช้ราชการของกรุงเทพมหานคร คือ
จ.    รถรับจ้าง                    ค. รถรับรอง
ฉ.    รถประจำตำแหน่ง                ง. รถส่วนกลาง
ตอบ  ง. รถส่วนกลาง
4.    รถยนต์ที่จัดไว้เป็นพาหนะรับรองชาวต่างประเทศซึ่งเป็นแขกของกรุงเทพมหานคร คือ
ก.    รถรับจ้าง                    ค. รถรับรอง
ข.    รถประจำตำแหน่ง                ง. รถส่วนกลาง
ตอบ  ค. รถรับรอง
5.    รถยนต์ที่ทางราชการจัดให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่ง คือ
ก.    รถรับจ้าง                    ค. รถรับรอง
ข.    รถประจำตำแหน่ง                ง. รถส่วนกลาง
ตอบ  ก. รถประจำตำแหน่ง



6.    รถประจำตำแหน่งในกรุงเทพมหานครจัดให้แก่ใคร
ก.    ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ข.    รองประธานสภากรุงเทพมหานคร
ค.    ปลัดกรุงเทพมหานคร
ง.    ถูกทุกข้อ
ตอบ   ง. ถูกทุกข้อ
7.    ผู้มีสิทธิได้รถประจำตำแหน่งให้รับเงินค่าตอบแทนแทนการใช้รถประจำตำแหน่งเท่าใด
ก.    เป็นรายเดือน                    ค. เป็นรายวัน
ข.    เหมาจ่ายเป็นรายเดือน                ง. เป็นรายสัปดาห์
ตอบ   ข. เหมาจ่ายเป็นรายเดือน    
8.    ในกรณีจำเป็นอาจงดจ่ายเงินค่าตอบแทนเหมาจ่ายเป็นรายเดือนแก่ผู้มีสิทธิโดยให้ใช้รถใดแทน
ก.    รถรับรอง                    ค. รถส่วนกลาง
ข.    รถส่วนตัว                    ง. รถใดก็ได้
ตอบ  ค. รถส่วนกลาง
9.    รถใดที่ต้องมีการติดตราเครื่องหมายประจำกรุงเทพมหานคร
ก.    รถส่วนตัว                    ค. รถประจำตำแหน่ง
ข.    รถส่วนกลาง                    ง. รถรับรอง
ตอบ    ข. รถส่วนกลาง
10.    ใครมีหน้าที่จัดทำบัญชีแยกประเภทรถราชการ    
ก.    ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร            ค. หน่วยงานเจ้าของรถ
ข.    ปลัดกรุงเทพมหานคร                ง. ใครก็ได้
ตอบ  ค. หน่วยงานเจ้าของรถ
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

สามารถอัพโหลดไฟล์แนบ สำหรับโพสได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้