ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : แนวข้อสอบแผนพัฒนาสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบแผนพัฒนาสำนักงานตำรวจแห่งชาติ

แชร์กระทู้นี้

แผนพัฒนาสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
http://08de1337.linkbucks.com
แนวข้อสอบ
วิชาแผนพัฒนาสำนักงานตำรวจแห่งชาติ  พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔
  ข้อ 1  แผนพัฒนาสำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2550 – 2554 ฉบับนี้มีสิ่งใดบ้างเป็นกรอบแนวคิด?
 ก.พระบรมราโชวาทของ รัชกาลที่ 5 ที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของตำรวจ ข.พระบรมราโชวาทของ รัชกาลที่ 9 ที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของตำรวจ
 ค.ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 ง.ถูกหมดทุกข้อ
ตอบ  ง. ถูกหมดทุกข้อ  (อ้างจากคำนำ )
(  สำนักงานตำรวจแห่งชาติ  จึงได้อัญเชิญพระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่  ๕ และแพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวราชการปัจจุบัน  ที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของตำรวจ  และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นกรอบแนวคิด  ตลอดจนได้นำนโยบายของรัฐบาล  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ  ฉบับที่ ๑๐ ( พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔ ) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย ( พ.ศ. ๒๕๔๖ – ๒๕๕๐ ) ผสมผสานกับปรัชญาการพัฒนา  เป็นพื้นฐานในการจัดทำ “แผนพัฒนาสำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔ ”  ฉบับนี้ขึ้น  โดยได้รับความเห็นชอบร่วมกันจากผู้บังคับบัญชาระดับสำนักงานตำรวจแห่งชาติทุกท่าน  ที่ต่างต้องการให้สำนักงานตำรวจแห่งชาติมีความเจริญก้าวหน้า  เป็นที่ศรัทธาของประชาชนอย่างแท้จริง)
ข้อ 2  แผนพัฒนาสำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2550 – 2554 ฉบับนี้ ใช้อะไรมาเป็นพื้นฐานในการจัดทำ ?
 ก.นโยบายของรัฐบาล
 ข.แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 ( 2550 -2554 )
 ค.แผนยุทธ์ศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (2546-2550)
 ง.ถูกหมดทุกข้อ
ตอบ  ง. ถูกหมดทุกข้อ (อ้างจากคำนำ )
(  สำนักงานตำรวจแห่งชาติ  จึงได้อัญเชิญพระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่  ๕ และแพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวราชการปัจจุบัน  ที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของตำรวจ  และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นกรอบแนวคิด  ตลอดจนได้นำนโยบายของรัฐบาล  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ  ฉบับที่ ๑๐ ( พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔ ) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย ( พ.ศ. ๒๕๔๖ – ๒๕๕๐ ) ผสมผสานกับปรัชญาการพัฒนา  เป็นพื้นฐานในการจัดทำ “แผนพัฒนาสำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔ ”  ฉบับนี้ขึ้น  โดยได้รับความเห็นชอบร่วมกันจากผู้บังคับบัญชาระดับสำนักงานตำรวจแห่งชาติทุกท่าน  ที่ต่างต้องการให้สำนักงานตำรวจแห่งชาติมีความเจริญก้าวหน้า  เป็นที่ศรัทธาของประชาชนอย่างแท้จริง)
ข้อ 3  ความมุ่งหวังของ สตช.ที่ต้องการให้ ผู้บังคับบัญชาทุกระดับศึกษาแผนพัฒนา สำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2550 – 2554   ฉบับนี้ เพื่อนำไปพิจรณาดำเนินการตามแผนและกำหนดโครงงาน และกิจกรรมในรายละเอียดตามอำนาจและหน้าที่ ของแต่ละหน่วยงานซึ่งจะนำไปสู่ข้อใด ?
 ก. การจัดทำคำของบประมาณ
 ข.การขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ
 ค. การติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
 ง.ถูกหมดทุกข้อ
ตอบ  ง. ถูกหมดทุกข้อ (อ้างจากคำนำ )
( สำนักงานตำรวจแห่งชาติ    มุ่งหวังให้ผู้บังคับบัญชาทุกระดับหน่วยได้ศึกษา “แผนพัฒนาสำนักงานตำรวจแห่งชาติ  พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔”  ฉบับนี้  และพิจารณาดำเนินการตามแผน และกำหนดโครงการงาน กิจกรรมในรายละเอียดเพิ่มเติมตามอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วย  และนำไปสู่การจัดทำคำของบประมาณ  ตลอดจนขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ และการติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบต่อไป )
ข้อ 4  การกำหนดแนวทางและแผนการปฏิบัติราชการของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ  ให้เป็นไปตามนโยบาย  และแนวทางการปฏิบัติราชการที่นายกรัฐมนตรี  คณะกรรมการนโยบายตำรวจแห่งชาติ  กำหนดไว้  รวมทั้งกำชับ  เร่งรัด  ติดตาม  และประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ  โดยมีเป้าประสงค์สูงสุด  คือ  อะไร ?
 ก. ความมั่งคงของชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
 ข. ความสงบสุขของสังคมและชุมชน
 ค. ประสิทธิภาพสูงสุดในการรักษาความสงบเรียบร้อย  ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็นสำคัญ
 ง.ถูกหมดทุกข้อ
ตอบ  ง. ถูกหมดทุกข้อ (อ้างจากคำ)
ตามพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗  ได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติไว้หลายประการ  โดยมีผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ  เป็นหัวหน้าส่วนราชการ  รับผิดชอบควบคุมราชการประจำในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ  กำหนดแนวทางและแผนการปฏิบัติราชการของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ  ให้เป็นไปตามนโยบาย  และแนวทางการปฏิบัติราชการที่นายกรัฐมนตรี  คณะกรรมการนโยบายตำรวจแห่งชาติ  กำหนดไว้  รวมทั้งกำชับ  เร่งรัด  ติดตาม  และประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ  โดยมีเป้าประสงค์สูงสุด  คือ  ความมั่นคงของชาติ  ศาสนา  และพระมหากษัตริย์  ความสงบสุขของสังคมและชุมชน  ตลอดจนประสิทธิภาพสูงสุดในการรักษาความสงบเรียบร้อย  ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็นสำคัญ

****************************************
 ตามพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗  ได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติไว้หลายประการ  โดยมีผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ  เป็นหัวหน้าส่วนราชการ  รับผิดชอบควบคุมราชการประจำในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ  กำหนดแนวทางและแผนการปฏิบัติราชการของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ  ให้เป็นไปตามนโยบาย  และแนวทางการปฏิบัติราชการที่นายกรัฐมนตรี  คณะกรรมการนโยบายตำรวจแห่งชาติ  กำหนดไว้  รวมทั้งกำชับ  เร่งรัด  ติดตาม  และประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ  โดยมีเป้าประสงค์สูงสุด  คือ  ความมั่นคงของชาติ  ศาสนา  และพระมหากษัตริย์  ความสงบสุขของสังคมและชุมชน  ตลอดจนประสิทธิภาพสูงสุดในการรักษาความสงบเรียบร้อย  ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็นสำคัญ
  สำนักงานตำรวจแห่งชาติ  จึงได้อัญเชิญพระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่  ๕ และแพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวราชการปัจจุบัน  ที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของตำรวจ  และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นกรอบแนวคิด  ตลอดจนได้นำนโยบายของรัฐบาล  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ  ฉบับที่ ๑๐ ( พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔ ) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย ( พ.ศ. ๒๕๔๖ – ๒๕๕๐ ) ผสมผสานกับปรัชญาการพัฒนา  เป็นพื้นฐานในการจัดทำ “แผนพัฒนาสำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔ ”  ฉบับนี้ขึ้น  โดยได้รับความเห็นชอบร่วมกันจากผู้บังคับบัญชาระดับสำนักงานตำรวจแห่งชาติทุกท่าน  ที่ต่างต้องการให้สำนักงานตำรวจแห่งชาติมีความเจริญก้าวหน้า  เป็นที่ศรัทธาของประชาชนอย่างแท้จริง
 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ    มุ่งหวังให้ผู้บังคับบัญชาทุกระดับหน่วยได้ศึกษา “แผนพัฒนาสำนักงานตำรวจแห่งชาติ  พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔”  ฉบับนี้  และพิจารณาดำเนินการตามแผน และกำหนดโครงการงาน กิจกรรมในรายละเอียดเพิ่มเติมตามอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วย  และนำไปสู่การจัดทำคำของงบประมาณ  ตลอดจนขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ และการติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบต่อไป
                           
                                                     *****************************
ข้อ 5           ข้อใด ไม่ใช่ เหตุที่มาของแผนพัฒนา สำนักงานตำรวจแห่งชาติ  พ.ศ. 2550 – 2554 ?
               ก.  นโยบายของรัฐบาล พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี
 ข.  แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ.2550 – 2554
 ค. มติของคณะรัฐมนตรี , มิติของคณะกรรมการนโยบายตำรวจแห่งชาติ , มติของคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ
 ง.มติของคณะกรรมกรรมการข้าราชการตำรวจ
ตอบ  ง. มติของคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ  ( จะตอบข้อเดียวไม่ได้ )
 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ  ได้มีคำสั่งที่  ๒๕/๒๕๕๐  ลงวันที่  ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐  แต่งตั้ง พลตำรวจเอก เสรีพิสุทธิ์  เตมียาเวส  เป็นผู้รักษาราชการแทนผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ  ทั้งนี้  ตั้งแต่วันที่  ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐  เป็นต้นไป
 ด้วยเหตุนี้  เพื่อให้การบริหารราชการของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ  บังเกิดประสิทธิภาพสูงสุด  เป็นไปตามนโยบายของรัฐบาล  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ  ฉบับที่  ๒๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔ ) มติของคณะรัฐมนตรี  มติของคณะกรรมการนโยบายตำรวจแห่งชาติ  มติของคณะกรรมการข้าราชการตำรวจและอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยตำรวจแห่งชาติ  จึงได้จัดทำ “แผนพัฒนาสำนักงานตำรวจแห่งชาติ  ”  ฉบับนี้ขึ้น  เพื่อให้ทุกส่วนราชการในสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ  ได้นำไปศึกษาทำความเข้าใจในแนวคิด  หลักการ  แนวทางดำเนินงาน  และนำไปสู่การกำหนดแผนงาน  โครงการ  และกิจกรรมต่าง ๆ ของหน่วยในรายละเอียด  รวมทั้งขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ  และตรวจสอบติดตามประเมินผลต่อไป
  ข้อ 6       เมื่อทุกฝ่ายในสังกัด สำนักงานตำรวจแห่ง่ชาติ ได้รับแผนพัฒนาสำนักงานตำรวจแห่งชาติแล้วควรนำแผนไปปฏิบัติ ตามขั้นตอนอย่างไร?
               ก.  นำไปศึกษาทำความเข้าใจในแนวคิดหลักการแนวทางดำเนินงาน
 ข.  นำไปสู่การกำหนดแผนงานโครงการและกิจกรรมต่างๆของหน่วย
 ค.  ขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ และตรวจสอบติดตามประเมินผล
 ง.   ถูกหมดทุกข้อ
ตอบ  ง. ถูกหมดทุกข้อ  ( จะตอบข้อเดียวไม่ได้ )
 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ  ได้มีคำสั่งที่  ๒๕/๒๕๕๐  ลงวันที่  ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐  แต่งตั้ง พลตำรวจเอก เสรีพิสุทธิ์  เตมียาเวส  เป็นผู้รักษาราชการแทนผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ  ทั้งนี้  ตั้งแต่วันที่  ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐  เป็นต้นไป
 ด้วยเหตุนี้  เพื่อให้การบริหารราชการของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ  บังเกิดประสิทธิภาพสูงสุด  เป็นไปตามนโยบายของรัฐบาล  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ  ฉบับที่  ๒๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔ ) มติของคณะรัฐมนตรี  มติของคณะกรรมการนโยบายตำรวจแห่งชาติ  มติของคณะกรรมการข้าราชการตำรวจและอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยตำรวจแห่งชาติ  จึงได้จัดทำ “แผนพัฒนาสำนักงานตำรวจแห่งชาติ  ”  ฉบับนี้ขึ้น  เพื่อให้ทุกส่วนราชการในสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ  ได้นำไปศึกษาทำความเข้าใจในแนวคิด  หลักการ  แนวทางดำเนินงาน  และนำไปสู่การกำหนดแผนงาน  โครงการ  และกิจกรรมต่าง ๆ ของหน่วยในรายละเอียด  รวมทั้งขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ  และตรวจสอบติดตามประเมินผลต่อไป
ข้อ 7      ข้อใดเป็นพระบรมราโชวาทของ รัชกาลที่ 5 ให้แก่ตำรวจ ?
               ก.  ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว
 ข.  “ พฤษาสร ” อีกกุญชรอันปลดปลง
 ค.  “ในบ้านนั้นมีทั้งคนดี และคนไม่ดี ไม่มีใครจะทำให้คนทุกคนเป็นคนดีได้หมด”
 ง.  “การจับผู้ร้ายนั้นไม่ถือเป็นความชอบ  เป็นแต่นับว่าผู้นั้นได้กระทำการครบถ้วนแก่หน้าที่เท่านั้น  ”
ตอบ  ง.  “ การจับผู้ร้ายนั้น ไม่ถือเป็นความชอบ เป็นแต่ผู้นั้นได้กระทำการครบถ้วนแก่หน้าที่เท่านั้น
กรอบแนวคิด
 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน  ได้พระราชทานพระบรมราโชวาท  สำหรับข้าราชการตำรวจ  ไว้ความตอนหนึ่งว่า  “....  ผู้ที่จะเป็นตำรวจ  จำเป็นต้องฝึกฝนอบรมตนเองให้แข็งแกร่งเสมอ  ทั้งในด้านความรู้  กำลัง  และจิตใจ  พร้อมกับมีอุดมคติ  มีความมั่นคงในความคิดอย่างสูง  จึงจะสามารถปฏิบัติการ  ให้มีประสิทธิภาพเต็มที่ได้...”
 ส่วนที่เกี่ยวกับการบริหารปกครองบ้านเมือง  ได้พระราชทานพระบรมราโชวาทไว้ความตอนหนึ่งว่า  “...ในบ้านเมืองนั้น  มีทั้งคนดี  และคนไม่ดี  ไม่มีใครจะทำให้คนทุกคนเป็นคนดีทั้งหมด  การทำให้บ้านเมืองมีความปกติสุขเรียบร้อย  จึงมิใช่การทำให้ทุกคนเป็นคนดี  หากแต่อยู่ที่การส่งเสริมคนดี  ให้คนดีได้ปกครองบ้านเมือง  และควบคุมคนไม่ดีไม่ให้มีอำนาจ  ไม่ให้ก่อความเดือดร้อนวุ่นวายได้...”
 สำหรับการปฏิบัติหน้าที่ตำรวจนั้น  พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  ได้พระราชทานพระบรมราโชวาท  สำหรับข้าราชการตำรวจไว้ความตอนหนึ่งว่า   “...การจับผู้ร้ายนั้นไม่ถือเป็นความชอบ  เป็นแต่นับว่าผู้นั้นได้กระทำการครบถ้วนแก่หน้าที่เท่านั้น  แต่จะถือเป็นความชอบต่อเมื่อได้ปกครองป้องกันเหตุร้ายให้ชีวิตและทรัพย์สินของข้าแผ่นดินในท้องที่นั้น  อยู่เย็นเป็นสุขพอสมควร...”
ข้อ 8      ข้อใดถือว่าเป็นความชอบตามพระบรมราโชวาทของ รัชกาลที่ 5 ให้แก่ตำรวจ ?
               ก. ปกครองป้องกันเหตุร้ายให้ชีวิตและทรัพย์สินของข้าแผ่นดินในท้องที่นั้น  อยู่เย็นเป็นสุขพอสมควร
 ข.  ปราบปรามมิชฉาชีพและทุจริตชน
 ค.  “ส่งเสริมคนดีให้ปกครองบ้านเมือง ”
 ง.  “การจับผู้ร้ายที่เป็นภัยต่อแผ่นดิน”
ตอบ  ก. ปกครองป้องกันเหตุร้ายให้ชีวิตและทรัพย์สินของข้าแผ่นดินในท้องที่นั้น  อยู่เย็นเป็นสุขพอสมควร
               สำหรับการปฏิบัติหน้าที่ตำรวจนั้น  พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  ได้พระราชทานพระบรมราโชวาท  สำหรับข้าราชการตำรวจไว้ความตอนหนึ่งว่า   “...การจับผู้ร้ายนั้นไม่ถือเป็นความชอบ  เป็นแต่นับว่าผู้นั้นได้กระทำการครบถ้วนแก่หน้าที่เท่านั้น  แต่จะถือเป็นความชอบต่อเมื่อได้ปกครองป้องกันเหตุร้ายให้ชีวิตและทรัพย์สินของข้าแผ่นดินในท้องที่นั้น  อยู่เย็นเป็นสุขพอสมควร...”
ข้อ 9      สำนักงานนายกรัฐมนตรี มีคำสั่งที่ 25 / 2550 ลง  5 ก.พ.50 แต่งตั้ง พล.ต.อ.เสรีพิศุกธ์  เตมีเวส เป็นผู้รักษาการแทน ผบ.ตร.เมื่อใด?
               ก.   4 กพ.50
 ข.   5 กพ.50
         ค.   6 กพ.50
        ง.   7 กพ.50
ตอบ   ข. 5 กพ.50
 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ  ได้มีคำสั่งที่  ๒๕/๒๕๕๐  ลงวันที่  ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐  แต่งตั้ง พลตำรวจเอก เสรีพิสุทธิ์  เตมียาเวส  เป็นผู้รักษาราชการแทนผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ  ทั้งนี้  ตั้งแต่วันที่  ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐  เป็นต้นไป
ข้อ 10     ข้อใดเป็นพระบรมราโชวาทของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยุ่หัว รัชกาลปัจจุบัน ได้พระราชทานแก่ข้าราชการตำรวจ ?
               ก.   ในบ้านเมืองมีทั้งคนดีและคนไม่ดีไม่มีใครทำให้ทุกคนเป็นคนดีได้ทั้งหมด
 ข.  ผู้ที่จะเป็นตำรวจจำเป็นต้องฝึกฝนอบรมตนเองให้แข็งแกร่งเสมอทั้งในด้านเสมอ  ทั้งในด้านความรู้  กำลัง  และจิตใจ  พร้อมกับมีอุดมคติ  มีความมั่นคงในความคิดอย่างสูง  จึงจะสามารถปฏิบัติการ  ให้มีประสิทธิภาพเต็มที่ได้
 ค.  “ในบ้านนั้นมีทั้งคนดี และคนไม่ดี ไม่มีใครจะทำให้คนทุกคนเป็นคนดีได้หมด”
 ง. การส่งเสริมคนดี  ให้คนดีได้ปกครองบ้านเมือง  และควบคุมคนไม่ดีไม่ให้มีอำนาจ  ไม่ให้ก่อความเดือดร้อนวุ่นวายได้
ตอบ    ข.  ผู้ที่จะเป็นตำรวจจำเป็นต้องฝึกฝนอบรมตนเองให้แข็งแกร่งเสมอทั้งในด้านเสมอ  ทั้งในด้านความรู้  กำลัง  และจิตใจ  พร้อมกับมีอุดมคติ  มีความมั่นคงในความคิดอย่างสูง  จึงจะสามารถปฏิบัติการ  ให้มีประสิทธิภาพเต็มที่ได้ 
 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน  ได้พระราชทานพระบรมราโชวาท  สำหรับข้าราชการตำรวจ  ไว้ความตอนหนึ่งว่า  “....  ผู้ที่จะเป็นตำรวจ  จำเป็นต้องฝึกฝนอบรมตนเองให้แข็งแกร่งเสมอ  ทั้งในด้านความรู้  กำลัง  และจิตใจ  พร้อมกับมีอุดมคติ  มีความมั่นคงในความคิดอย่างสูง  จึงจะสามารถปฏิบัติการ  ให้มีประสิทธิภาพเต็มที่ได้...”
ข้อ 11.  “ในบ้านเมืองนั้น  มีทั้งคนดี  และคนไม่ดี  ไม่มีใครจะทำให้คนทุกคนเป็นคนดีทั้งหมด  การทำให้บ้านเมืองมีความปกติสุขเรียบร้อย  จึงมิใช่การทำให้ทุกคนเป็นคนดี  หากแต่อยู่ที่การส่งเสริมคนดี  ให้คนดีได้ปกครองบ้านเมือง  และควบคุมคนไม่ดีไม่ให้มีอำนาจ  ไม่ให้ก่อความเดือดร้อนวุ่นวายได้...”
ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับข้อความดังกล่าว
 ก.พระบรมราโชวาทของ รัชกาลที่ 9 ที่พระราชทานแก่ข้าราชการตำรวจ
 ข.พระบรมราโชวาทของ รัชกาลที่ 9 ที่พระราชทานเกี่ยวกับการปกครองบ้านเมือง
 ค.พระบรมราโชวาทของ รัชกาลที่ 5 ที่พระราชทานแก่ข้าราชการตำรวจ
 ง.พระบรมราโชวาทของ รัชกาลที่ 5 ที่พระราชทานเกี่ยวกับการปกครองบ้านเมือง
ตอบ    ข.พระบรมราโชวาทของ รัชกาลที่ 9 ที่พระราชทานเกี่ยวกับการปกครองบ้านเมือง
ส่วนที่เกี่ยวกับการบริหารปกครองบ้านเมือง  ได้พระราชทานพระบรมราโชวาทไว้ความตอนหนึ่งว่า  “...ในบ้านเมืองนั้น  มีทั้งคนดี  และคนไม่ดี  ไม่มีใครจะทำให้คนทุกคนเป็นคนดีทั้งหมด  การทำให้บ้านเมืองมีความปกติสุขเรียบร้อย  จึงมิใช่การทำให้ทุกคนเป็นคนดี  หากแต่อยู่ที่การส่งเสริมคนดี  ให้คนดีได้ปกครองบ้านเมือง  และควบคุมคนไม่ดีไม่ให้มีอำนาจ  ไม่ให้ก่อความเดือดร้อนวุ่นวายได้...”
ข้อ 12.   “...การจับผู้ร้ายนั้นไม่ถือเป็นความชอบ  เป็นแต่นับว่าผู้นั้นได้กระทำการครบถ้วนแก่หน้าที่เท่านั้น  แต่จะถือเป็นความชอบต่อเมื่อได้ปกครองป้องกันเหตุร้ายให้ชีวิตและทรัพย์สินของข้าแผ่นดินในท้องที่นั้น  อยู่เย็นเป็นสุขพอสมควร...”
              ก.พระบรมราโชวาทของ รัชกาลที่ 9 ที่พระราชทานแก่ข้าราชการตำรวจ
 ข.พระบรมราโชวาทของ รัชกาลที่ 9 ที่พระราชทานเกี่ยวกับการปกครองบ้านเมือง
 ค.พระบรมราโชวาทของ รัชกาลที่ 5 ที่พระราชทานแก่ข้าราชการตำรวจ
 ง.พระบรมราโชวาทของ รัชกาลที่ 5 ที่พระราชทานเกี่ยวกับการปกครองบ้านเมือง
ตอบ   ค.พระบรมราโชวาทของ รัชกาลที่ 5 ที่พระราชทานแก่ข้าราชการตำรวจ
สำหรับการปฏิบัติหน้าที่ตำรวจนั้น  พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  ได้พระราชทานพระบรมราโชวาท  สำหรับข้าราชการตำรวจไว้ความตอนหนึ่งว่า   “...การจับผู้ร้ายนั้นไม่ถือเป็นความชอบ  เป็นแต่นับว่าผู้นั้นได้กระทำการครบถ้วนแก่หน้าที่เท่านั้น  แต่จะถือเป็นความชอบต่อเมื่อได้ปกครองป้องกันเหตุร้ายให้ชีวิตและทรัพย์สินของข้าแผ่นดินในท้องที่นั้น  อยู่เย็นเป็นสุขพอสมควร...”
 ข้อ 13.   นอกเหนือจากนโยบายรัฐบาลและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (2550 -2554 ) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (2546 – 2550) แล้วได้สิ่งใดมาเป็นเป็นแนวปฏิบัติในการบริหารและพัฒนาประเทศ  ?
              ก.ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 ข.ปรัชญาการบริหารราชการแผ่นดิน
               ค.คำขวัญนโยบายตำรวจแห่งชาติ
              ง.การบริหารกิจการตำรวจไทย
 ตอบ               ก.ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นอกจากนั้น  นโยบายของรัฐบาล  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ  ฉบับที่  ๑๐  ( พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๔)  แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. ๒๕๔๖ – ๒๕๕๐ ) มีความเห็นพ้องร่วมกันอัญเชิญ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”  ในรพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่  มาเป็นแนวปฏิบัติในการบริหารและพัฒนาประเทศ  ทั้งยังให้ความสำคัญในการพัฒนาคนให้สมบูรณ์ทั้งร่างกาย  จิตใจ  สติปัญญา  คุณธรรม  จริยธรรม  อารมณ์  มีความสามารถ  ในการแก้ไขปัญหา  มีทักษะในการประกอบอาชีพ  มีความมั่นคงในการดำรงชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรี  และอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข  รวมทั้งเสริมสร้างสังคม  ให้เข้มแข็งยั่งยืน  เพื่อให้ประเทศไทยเป็นสังคมคุณภาพ  สังคมคุณธรรม   และสังคมที่สมดุล  โดยเฉพาะด้านการบริหารราชการประการหนึ่งนั้น  มุ่งที่จะพัฒนาระบบราชการไทย  ให้มีความเป็นเลิศ  สามารถรองรับการพัฒนาประเทศในยุโลกาภิวัตน์  โดยยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีและประโยชน์สุของประชาชน  เป็นสำคัญ
ข้อ 14.   เป้าหมายสูงสุดของปรัชญาการพัฒนาคืออะไร?
              ก.การพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 ข.การพัฒนาเศรษฐกิจ
               ค.คุณภาพชีวิต
              ง.พัฒนาจิตใจคน
 ตอบ               ค.คุณภาพชีวิต
   ปรัชญาการพัฒนา
 ในการพัฒนาประเทศชาตินั้น  มีปรัชญาการพัฒนาที่สำคัญ คือ
 “ จะปลูกพืชต้องเตรียมดิน  จะกินต้องเตรียมอาหาร
 จะพัฒนาการต้องเตรียมประชาชน  จะพัฒนาคนต้องพัฒนาที่จิตใจ
 จะพัฒนาใครเขาต้องพัฒนาตัวเราก่อน
 ผ่อนปรนสู่การพัฒนาสิ่งแวดล้อม  น้อมนำสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ
 คุณภาพชีวิตคือ...เป้าหมายสูงสุด..”
ข้อ 15.   เป้าหมายของการพัฒนาคนต้องพัฒนาอะไรบ้าง ?
              ก.ใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย
 ข.ขยันอย่างฉลาด ปราศจากอบายมุข
               ค.ร่วมมือร่วมใจช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
              ง.ถูกหมดทุกข้อ
 ตอบ               ง.ถูกหมดทุกข้อ
    สำหรับเป้าหมายของการพัฒนาคน  ต้องพัฒนาทั้งตำรวจและครอบครัว  เพื่อให้มีอุดมการณ์แห่งชีวิต  และมีรูปแบบวิถีชีวิตที่ดีงาม  โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ไม่ฟุ้งเฟ้อฟุ่มเฟือย
 ให้ใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย  ประหยัด  ซื่อสัตย์สุจริต  ไม่ฟุ้งเฟ้อฟุ่มเฟือย
 มีคุณธรรม  จริยธรรม
 มีจิตสำนึกที่รับผิดชอบต่อตนเอง  ครอบครัว และหน้าที่การงาน
 ขยันอย่างฉลาด  ปราศจากอบายมุข
 พึ่งตนเองด้วยศักดิ์ศรี  มีวินัย
 ร่วมมือร่วมใจช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

[font=arial                              ]ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 

ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com



จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

สามารถอัพโหลดไฟล์แนบ สำหรับโพสได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้