ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : เเนวข้อสอบพระราชบัญญัตฺวิธีปฎิบัติราชการปกครอง พ.ศง2539
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

เเนวข้อสอบพระราชบัญญัตฺวิธีปฎิบัติราชการปกครอง พ.ศง2539

แชร์กระทู้นี้

1.  กฎหมายวิธีปฎิบัติราชการปกครองใช้บังคับในกรณีใด

        ก.  การพิจารณาของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีในงานทางนโยบายโดยตรง

        ข.  รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี

        ค.  การพิจารณาพิพากษาคดีของศาล

        ง.  ไม่มีข้อใดถูด

2.    กรณีใดที่เจ้าหน้าที่ทำการพิจารณาทางการปกครองได้

        ก.  เป็นคู่กรณีเอง

        ข.  เป็นเพื่อนของคู่สมรส

        ค.  เป็นคู่หมั้นหรือคู่สมรสของคู่กรณี

        ง.  เป็นเจ้าหนี้หรือลูกหนี้ของคู่กรณี

3.    ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับ เอกสารที่จะใช้พิจารณาการปกครอง

        ก.  ต้องเป็นภาษาไทยเท่านั้น

        ข.  ถ้าเป็นเอกสารที่เป็นภาษาต่างประเทศต้องมีคำแปลภาษาไทยและมีการรับรองที่ถูกต้อง

        ค.  เป็นภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศก็ได้

        ง.  ต้องเป็นภาษาไทยและต่างประเทศ

4.    ข้อใดเป็นรูปแบบของคำสั่งการปกครอง

ก.  สื่อความต่าง ๆ ที่ชัดเจนเพียงพอที่จะเข้าใจได้

        ข.  วาจา

        ค.  หนังสือ

        ง.  เป็นทุกข้อ

5.    กรณีใดที่คำสั่งทางการปกครอง ไม่สมบูรณ์

ก.  ออกคำสั่งโดยยังไม่มีผู้ยื่นคำขอ

        ข.  คำสั่งที่ต้องการได้รับความเห็นชอบจากเจ้าหน้าอื่นก่อน

        ค.  พิจารณาโดยไม่รับฟังคู่กรณี

        ง.  ทุกข้อ

6.    กรณีทั่วไป คู่กรณีอาจอุทธรณ์คำสั่งทางการปกครองได้ภายใน

        ก.  7 วัน

        ข.  15 วัน

        ค.  30 วัน

        ง.  1 ปี

7.    คำสั่งทางการปกครองที่อาจอุทธรณ์โต้งแย้งได้ ถ้าไม่มีการระบุระยะเวลาในการอุทธรณ์ไว้ ระยะเวลาในการ     อุทธรณ์เริ่มนับแต่วันที่ได้รับทราบคำสั่งทางการปกครอง ภายใน

ก.  7 วัน

        ข.  15 วัน

        ค.  30 วัน

        ง.  1 ปี

8.    ผู้ว่าราชการจังหวัด มีคำสั่งให้นายแดงกรรมการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งหนึ่ง พ้นจากตำแหน่ง นายแดงต้องการอุทธรณ์ จะยื่นอุทธรณ์ต่อใคร  Act.

        ก.  ผู้ว่าราชการจังหวัดที่ออกคำสั่งนั้น

        ข.  ปลัดกระทรวงมหาดไทย

        ค.  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

        ง.  ศาลปกครอง

9.    เจ้าหน้าที่ได้ออกคำสั่งไม่อนุญาตให้ก่อสร้างอาคารตามคำขอของเอกชนรายหนึ่ง ต่อมาเจ้าหน้านั้นเห็นว่า         คำสั่งที่ไม่อนุญาตของตนไม่ถูกต้อง เพราะความเข้าใจผิดของนเอง เจ้าหน้าผู้นั้นจะแก้ไขคำสั่งของตนได้           หรือไม่

        ก.  ไม่ได้ ต้องให้ผู้บังบัญชาสั่งจึงจะแก้ไขได้

        ข.  ไม่ได้ ถ้าเขาไม่อุทธรณ์

        ค.  ไม่ได้ แม้เขาจะอุทธรณ์ก็ต้องให้ผู้มีอำนาจพิจารณาสั่งอุทธรณ์แก้ไข

        ง.  ได้เสมอ ถ้าเห็นว่าไม่ถูกต้อง

10.  กรมสรรพากรได้ทำการแต่งตั้งนายรักษ์ไทยนิติกร 6 ให้เป็นนิติกร 7 โดยกำหนดตำแหน่งเองตามอัตรากำลัง 3 ปี             ต่อมาสำนักงาน ก.พ. ได้แจ้งว่าการกำหนดตำแหน่งไม่ชอบ กรมสรรพากรจึงยกเลิกการกหนดตำแหน่งของ       วิชัย ให้กรมสรรพากรเรียกเงินคืนในส่วนที่เกินไป กรณีใดเป็นแนวปฏิบัติ ที่ถูกต้อง Act.

        ก.  กรมสรรพากรแจ้งให้นายรักษ์ไทยทราบ และทำการหักเงินเดือน

        ข.  ตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยเกี่ยวกับการได้รับเงินเดือนไม่ชอบและหักเงินเดือนวิชัย

        ค.  ส่งเรื่องให้กระทรวงการคลังพิจารณาเพื่อหาตัวผู้รับผิดทางละเมิด

ง.  อธิบดีแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดขึ้น เพื่อหาตัวผู้กระทำความผิดและ         จำนวนค่าสินไหมทดแทน
11.  คำสั่งทางการปกครองที่อ่จอุทธรณ์ต่อไปได้ แต่เจ้าหน้าที่ที่มิได้แจ้งสิทธิ์การอุทธรณ์ และระยะเวลาอุทธรณ์ไว้   ในคำสั่งดังกล่าว จะมีผลอย่างไร  Act.

        ก.  คำสั่งนั้นเป็นโมฆะ

        ข.  คำสั่งนั้นไม่สมบูรณ์

        ค.  ต้องดำเนินการออกคำสั่งใหม่ให้ถูกต้อง

        ง.  ระยะเวลาอุทธรณ์เริ่มนับใหม่ นับแต่ได้แจ้งสิทธิดังกล่าว

12.  กรณีใดเป็น "คำสั่งทางการปกครอง"  Act.

        ก.  ประกาศของราชการกำหนดว่าการยื่นขอต่อใบอนุญาต โรงงานต้องส่งรายงานวิเคราะห์ผลกระทบ                                    สิ่งแวดล้อมด้วย

        ข.  คำสั่งของผู้อำนวยการธนาคารออมสิน สั่งซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่ง

        ค.  ไฟจราจร (เขียว แดง) ที่สี่แยกแห่งหนึ่ง

        ง.  รายงานผลการสอบวินัยข้าราชการผู้หนึ่งที่คณะกรรมการการสอบสวนวินัยเสนอต่ออธิบดี
1.กฏหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองใช้บังคับกรณีใด

      ก. การพิจาณาของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีในงานทางนโยบายโดยตรง

      ข. รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี

      ค. การพิจารณาพิพากษาคดีของศาล

      ง. ไม่มีข้อใดถูก

2. กรณีใดที่เจ้าหน้าที่ทำการพิจารณาทางปกครอง

ก. เป็นคู่กรณีเอง

      ข. เป็นเพื่อน ของคู่สมรส

      ค. เป็นคู่หมั้นของคู่สมรสของคู่กรณี

      ง. เป็นเจ้าหนี้หรือลูกหนี้ของคู่กรณี

3. ข้อใดถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับเอกสารที่จะใช้ในการพิจาณาทางปกครอง

      ก. ต้องเป็นภาษาไทยเท่านั้น

      ข. ถ้าเป็นเอกสารที่เป็นภาษาต่างประเทศต้องมีคำแปลภาษาไทยและมีการรับรองถูกต้อง

      ค. เป็นภาษาไทยหรือต่างประเทศก็ได้

      ง. ต้องเป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ

4. ข้อใดเป็นรูปแบบของคำสั่งทางปกครอง

      ก. สื่อความหมายต่างๆที่ชัดเจนเพียงพอที่จะเข้าใจได้

      ข. วาจา

      ค. หนังสือ

      ง. เป็นทุกข้อ

5. กรณีใดที่คำสั่งทางปกครอง ไม่สมบูรณ์

      ก. ออกคำสั่งโดยยังไม่มีผู้ยื่นขอ

ข. คำสั่งที่ต้องได้รับความเห็นชอบจากเจ้าหน้าที่อื่นก่อน

       ค. พิจารณาโดยไม่ได้รับฟังคู่กรณี

       ง. ทุกข้อ

 6. กรณีทั่วไป คุ่กรณีอาจอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองได้ภายใน

       ก.  7  วัน                 ข.  15  วัน              

ค.  30  วัน               ง.  1  ปี

7. คำสั่งทางปกครองที่อาจอุทธรณ์โต้แย้งได้ ถ้าไม่มีการระบุระยะเวลาในการอุทธรณ์ไว้ ระยะเวลาในการอุทธรณ์เริ่ม

    นับแต่วันได้รับทราบคำสั่งทางปกครอง

       ก.  7  วัน                 ข.  15  วัน              

ค.  30  วัน               ง.  1  ปี

8. ผู้ว่าราชการจังหวัด มีคำสั่งให้นายแดงกรรมการ อ.บ.ต. แห่งหนึ่ง พ้นจากตำแหน่ง นายแดงต้องการอุทธรณ์

     จะยื่นอุทธรณ์ต่อใคร

      ก.ผู้ว่าราชการจังหวัดที่ออกคำสั่งนั้น

       ข. ปลัดกระทรวงมหาดไทย

       ค. รัฐมนตรีว่ากรกระทรวงมหาดไทย

       ง. ศาลปกครอง

9. เจ้าหน้าที่ได้ออกคำสั่งไม่อนุญาตให้ก่อสร้างอาคารตามคำขอของเอกชนรายหนึ่ง ต่อมาเจ้าหน้าที่นั้นเห็นว่าคำสั่งที่ไม่ 

    อนุญาตของตนนั้นไม่ถูกต้อง เพราะความเข้าใจผิดของตนเอง เจ้าหน้าที่ผู้นั้นจะแก้ไขคำสั่งของตนได้หรือไม่

ก.ไม่ได้ต้องให้ผู้บังคับบัญชาสั่งจึงจะแก้ไขได้

ข. ไม่ได้ถ้าเขาไม่อุทธรณ์

ค. ไม่ได้ แม้เขาจะอุทธรณ์ก็ต้องให้ผู้มีอำนาจพิจารณาอุทธรณ์สั่งแก้ไข

ง. ได้เสมอ ถ้าเห็นว่าไม่ถูกต้อง

10. กรมการปกครองได้ทำการแต่งตั้ง วิชัย  นิติกร 6  ให้เป็นนิติกร 7  โดยกำหนดตำแหน่งเองตามอัตรากำลัง 3 ปี ต่อมา

      สำนักงาน ก.พ. ได้แจ้งว่าการกำหนดแต่งจั้งไม่ชอบ กรมการปกครองจึงยกเลิกการกำหนดตำแหน่งของ วิชัย ทำให้

      กรมการปกครองต้องเรียกเงินเดือนคืนในส่วนที่เกิน  กรณีใดเป็นแนวปฏิบัติที่ถูกต้อง

ก.กรมการปกครองแจ้งให้ วิชัย ทราบและทำการหักเงินเดือน

ข. แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยเกี่ยวกับการได้รับเงินเดือนไม่ชอบและหักเงินเดือน วิชัย

ค. ส่งเรื่องให้กระทรวงการคลังพิจารณาเพื่อหาตัวผู้รับผิดทางละเมิด

ง. อธิบดีแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงความรับผิดชอบทางละเมิดขึ้น เพื่อหาตัวผู้กระทำความผิดและจำนวน

    ค่าสินไหมทดแทน

11. คำสั่งทางปกครองที่อาจอุทธรณ์ต่อไปได้ แต่เจ้าหน้าที่มิได้แจ้งสิทธิ์การอุทธรณ์ และระยะเวลาอุทธรณ์ ไว้ในคำสั่งดังกล่าว จะมีผลอย่างไร

ก.คำสั่งนั้นเป็นโมฆะ

      ข. คำสั่งนั้นไม่สมบูรณ์

ค. ต้องดำเนินการออกคำสั่งใหม่ให้ถูกต้อง

      ง. ระยะเวลาอุทธรณ์เริ่มนับใหม่ นับแต่ได้แจ้งสิทธิ์ดังกล่าว

12. กรณีใดเป็น  “ คำสั่งทางปกครอง ”

ก. ประกาศของราชการกำหนดว่าการยื่นขอต่อไปอนุญาตโรงงานต้องส่งรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้วย

      ข. คำสั่งของผู้อำนวยการธนาคารออมสิน สั่งซื้อหุ้นสามัญ เพิ่มทุนของธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่ง

      ค. ไฟจราจร ( เขียว แดง ) ที่สี่แยกแห่งหนึ่ง

      ง. รายงานผลการสอบวินัยข้าราชการผู้หนึ่งที่คณะกรรมากรสอบสวนวินัยเสนอต่ออธิบดี



แนวข้อสอบ
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง  พ.ศ. 2539


1.    พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ไม่ใช่บังคับองค์กรหรือหน่วยราชการตามข้อใด

        ก.  รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี

        ข.  การดำเนินงานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา

        ค.  การดำเนินกิจการทางศาสนา

        ง.  ถูกทุกข้อ

2.    ข้อใดเป็นคำสั่งทางปกครอง

        ก.  คำสั่งของเจ้าหน้าที่ซึ่งใช้อำนาจตามกฎหมายในการสั่งและมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่                    ของบุคคล

        ข.  การอนุญาตหรือไม่อนุญาตอันก่อให้เกิดสิทธิหรือระงับซึ่งสิทธิของบุคคล

        ค.  การวินิจฉัยของเจ้าหน้าที่อันมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล

        ง.  ถูกทุกข้อ

3.    คำว่า "กฎ" ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง หมายถึงข้อใด

        ก.  พระราชกฤษฎีกา                                                                  ข.  กฎกระทรวง

        ค.  ประกาศกระทรวง และข้อบังคับท้องถิ่น                         ง.  ถูกทุกข้อ

4.    บุคคลตามข้อใดเป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

        ก.  นายกรัฐมนตรี                                                                       ข.  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

        ค.  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม                                     ง.  อธิบดีกรมการปกครอง

5.    บุคคลตามข้อใดเป็นประธานในคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง

        ก.  นายกรัฐมนตรี                                                                       ข.  รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

        ค.  ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี                                                   ง.  บุคคลซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง

6.    ผู้ดำรงตำแหน่งประธานในคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ต้องเป็นบุคคลตามข้อใด

        ก.  เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง

ข.  ต้องเป็นผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวง

        ค.  ต้องเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญในทางนิติศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ รัฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ หรือการบริหา                          ราชการแผ่นดิน

        ง.  ต้องอายุไม่เกิน 50 ปีบริบูรณ์

7.    ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวิธีการปฏิบัติราชการทางปกครอง กำหนดจำนวนไว้ตามข้อใด

        ก.  ไม่น้อยกว่า 3 คน แต่ไม่เกิน 5 คน                                   ข.  ไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 7 คน

        ค.  ไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 9 คน                                   ง.  ไม่น้อยกว่า 7 คน แต่ไม่เกิน 9 คน

8.    บุคคลข้อใดที่ทำตามหน้าที่เลขานุการในคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง

        ก.  เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา

        ข.  เลขาธิการคณะรัฐมนตรี

        ค.  ข้าราชการของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาที่เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาแต่งตั้ง

        ง.  ข้าราชการของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาที่เลขาธิการคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง

9.    กรรมการในคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งมีวาระการดำรงตำแหน่ง           คราวละกี่ปี

        ก.  2 ปี                           ข.  3 ปี                                   ค.  4 ปี                                   ง.  5 ปี

10.  หน่วยงานที่ทำหน้าที่สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง คือหน่วยงานใน     ข้อใด

        ก.  สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา                                    ข.  สำนักงานคณะกรรมการรัฐมนตรี

        ค.  สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน                  ง.  กรมการปกครอง

11.  ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง

        ก.  สอดส่องดูแลและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้

        ข.  เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎีกาและการออกกฎกระทรวงหรือประกาศตามพระราชบัญญัตินี้

        ค.  พิจารณาคดีทางการปกครอง

        ง.  จัดทำรายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้เสนอนายกรัฐมนตรี

12.  เจ้าหน้าที่ตามข้อใดทำการพิจารณาทางปกครองได้

        ก.  เป็นคู่กรณีในคดี                                                                    ข.  เป็นเจ้าหนี้หรือลูกหนี้ หรือเป็นนายจ้างของคู่กรณี

        ค.  เป็นผู้บังคับบัญชาของคู่กรณี                                             ง.  เป็นผู้บังคับบัญชาของคู่กรณีในคดี

13.  บุคคลตามข้อใดเป็นคู่กรณีในการพิจารณาปกครองได้

        ก.  บุคคลธรรมดา                       ข.  คณะบุคคล ค.  นิติบุคคล                                        ง.  ถูกทุกข้อ

14.  บุคคลตามข้อใดเป็นตัวแทนร่วมของคู่กรณี ในกรณีที่มีคู่กรณีเกิน 50 คนยื่นคำขออย่างเดียวกันได้

ก.  บุคคลธรรมดา                               ข.  คณะบุคคล                     ค.  นิติบุคคล                                        ง.  ถูกทุกข้อ
15.  กรณีที่คำขอหรือคำแถลงของคู่กรณีในการพิจารณาทางปกครอง มีข้อบกพร่องอันเกิดจากความไม่รู้ของคู่กรณี เจ้าหน้าที่จะดำเนินการตามข้อใด
        ก.  ให้จำหน่ายเรื่องออกการพิจารณา
        ข.  ให้เจ้าหน้าที่แนะนำให้คู่กรณีแก้ไขเพิ่มเติมให้ถูกต้อง
        ค.  ให้เจ้าหน้าที่แก้ไขให้ถูกต้อง
        ง.  ให้พิจารณาไปตามข้อเท็จจริงเพียงเท่าที่มีอยู่
16.  ในการพิจารณาทางปกครอง เจ้าหน้าที่สามารถดำเนินการได้ตามข้อใด
        ก.  สามารถตรวจสอบข้อเท็จจริงตามความเหมาะสม
        ข.  ไม่ผูกพันอยู่กับคำขอของคู่กรณี
        ค.  ไม่ต้องผูกพันกับพยานหลักฐานของคู่กรณี
        ง.  ถูกทุกข้อ
17.  ในการจัดพิจารณาพยานหลักฐานเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริง เจ้าหน้าที่มีอำนาจดำเนินการตามข้อใด
        ก.  แสวงหาพยานหลักฐานทุกอย่างที่เกี่ยวข้อง
        ข.  ขอให้ผู้ครอบครองเอกสารส่งเอกสารที่เกี่ยวข้อง
        ค.  ออกไปตรวจสถานที่
        ง.  ถูกทุกข้อ
18.  การดำเนินการของเจ้าหน้าที่ตามข้อใดไม่ถูกต้องในกรณีที่คำสั่งทางการปกครองจะกระทบถึงสิทธิของคู่กรณี
        ก.  เจ้าหน้าที่ให้คู่กรณีมีโอกาสได้ทราบข้อเท็จจริง และมีโอกาสโต้แย้งแสดงพยานหลักฐานของตน
        ข.  เจ้าหน้าที่ไม่ให้โอกาสคู่กรณีทราบข้อเท็จจริงเนื่องจากเป็นมาตรการบังคับทางการปกครอง
        ค.  เจ้าหน้าที่ให้โอกาสคู่กรณีโต้แย้งพยานหลักฐานถึงแม้ว่าจะก่อให้เกิดผลเสียหายอย่างร้ายต่อประโยชน์                             สาธารณะ
        ง.  เจ้าหน้าที่ไม่ให้โอกาสคู่กรณีได้ทราบข้อเท็จจริงเนื่องจากจะทำให้ระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดไว้ในการทำ      คำสั่งทางปกครองต้องล่าช้าออกไป
19.  คู่กรณีมีสิทธิขอตรวจดูเอกสารที่จำเป็นต้องรู้เพื่อการโต้แย้งสิทธิหรือชี้แจงหรือป้องกันสิทธิของตนได้ การขอ   ดังกล่าวไม่รวมถึงการขอในข้อใด
ก.  ขอตรวจดูเอกสารต้นร่างคำวินิจฉัย ในขณะที่ยังไม่ได้ทำคำสั่งทางปกครอง
        ข.  ขอสำเนาเอกสารที่เป็นพยานหลักฐานทั้งหมด
        ค.  ขอดูหลักฐานที่เจ้าหน้าที่เก็บรักษาไว้
       ง.  มีสิทธิขอดูได้ทุกกรณี
20.  รูปแบบคำสั่งทางการปกครองในข้อใดไม่ถูกต้อง
        ก.  ทำเป็นหนังสือ
        ข.  เป็นคำสั่งด้วยวาจาก็ได้
        ค.  สั่งทางจดหมายอิเล็คทรอนิกส์
        ง.  คำสั่งทางปกครองอาจใช้รูปแบบได้ทั้งข้อ ก , ข และข้อ ค
21.  ในกรณีคำสั่งทางปกครองเป็นคำสั่งด้วยวาจา ถ้าผู้รับสั่งร้องขอภายในกี่วันนับแต่วันมีคำสั่งเจ้าหน้าที่ต้อง           ยืนยันคำสั่งนั้นเป็นหนังสือ
        ก.  3 วัน                                        ข.  5 วัน                                                ค.  7 วัน                                                                ง.  15 วัน
22.  เหตุผลที่ต้องจัดให้มีไว้ในคำสั่งทางปกครองที่ทำเป็นหนังสือ คือข้อใด
        ก.  ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญ
        ข.  กฎหมายที่ใช้อ้างอิง
        ค.  ข้อพิจารณาและข้อสนับสนุนในการใช้ดุลยพินิจ
ง.  ต้องมีเหตุผลทั้งในข้อ ก ข และ ค
23.  ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง

        ก.  ให้คู่กรณีอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองต่อเจ้าหน้าที่ทำคำสั่งภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำสั่ง

        ข.  การอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองสามารถอุทธรณ์ด้วยวาจาได้

        ค.  การอุทธรณ์ไม่เป็นเหตุให้ทุเลาการบังคับตามคำสั่งทางปกครอง

        ง.  เจ้าหน้าที่ต้องพิจารณาคำอุทธรณ์และแจ้งผู้อุทธรณ์ภายในไม่เกิน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับการอุทธรณ์

24.  ในการพิจารณาอุทธรณ์ เจ้าหน้าที่มีอำนาจพิจารณาในประเด็นตามข้อใด

        ก.  พิจารณาในประเด็นปัญหาข้อเท็จจริง

        ข.   พิจารณาประเด็นปัญหาข้อกฎหมาย

        ค.  พิจารณาความเหมาะสมของการทำคำสั่งทางการปกครอง

        ง.  ถูกทุกข้อ

25.  การเพิกถอนคำสั่งทางการปกครองที่มีลักษณะเป็นการให้ประโยชน์ต้องกระทำภายในกี่วันนับแต่ได้รู้ถึงเหตุ

        ที่จะให้เพิกถอนคำสั่งทางการปกครองนั้น

        ก.  30 วัน                      ข.    60 วัน                           ค.  90 วัน                              ง.  120 วัน

26.  เมื่อคู่กรณีมีคำขอ เจ้าหน้าที่อาจเพิกถอนหรือแก้ไขเพิ่มเติมคำสั่งทางปกครองที่พ้นกำหนดอุทธรณ์

        ก.  มีพยานหลักฐานใหม่อันอาจทำให้ข้อเท็จจริงที่ฟังเป็นข้อยุติแล้วนั้นเปลี่ยนแปลงไปในสาระสำคัญ

        ข.  คู่กรณีที่แท้จริงไม่ได้เข้ามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครองหรือได้เข้ามาในกระบวนการ

        ค.  เจ้าหน้าที่ไม่มีอำนาจที่จะทำคำสั่งทางการปกครอง

        ง.  ถูกทุกข้อ

27.  คำสั่งทางปกครองที่กำหนดใช้ชำระเงิน ถ้าถึงกำหนดแล้วไม่มีการชำระโดยถูกต้องครบถ้วน ให้เจ้าหน้าที่มี      หนังสือเตือนให้ชำระภายในเวลาที่กำหนด โดยจะต้องให้มีเวลาไม่น้อยกว่ากี่วัน

        ก.  7 วัน                                        ข.  15 วัน                              ค.  30 วัน                              ง.  45 วัน

28.  คำสั่งทางปกครองที่กำหนดให้ละเว้นการกระทำ ถ้าผู้อยู่ในบังคับของคำสั่งฝ่าฝืน เจ้าหน้าที่อาจบังคับให้ไป       ชำระค่าปรับทางปกครองได้ โดยจำนวนเงินที่กำหนดต้องไม่เกินอัตราตามข้อใด

        ก.  500 บาทต่อวัน                                                                      ข.  1,000 บาทต่อวัน

        ค.  2,000 บาทต่อวัน                                                                  ง.  20,000 บาทต่อวัน

29.  ก่อนใช้มาตรการบังคับทางปกครอง เจ้าหน้าที่จะต้องมีคำเตือนเป็นหนังสือให้มีการกระทำหรือละเว้นการ        กระทำตามคำสั่งทางปกครองภายในระยะเวลาที่กำหนด คำเตือนดังกล่าวจะต้องระบุตามข้อใด

        ก.  มาตรการบังคับทางการปกครองที่จะใช้

        ข.  ค่าใช้จ่ายในการที่เจ้าหน้าที่เข้าดำเนินการด้วยตนเอง

        ค.  จำนวนค่าปรับทางปกครอง

        ง.  ถูกทุกข้อ

30.  การแจ้งคำสั่งทางปกครองโดยวิธีส่งทางไปรณีย์ตอบรับ ให้ถือว่าได้รับแจ้งเมื่อครบกำหนดเวลาตามข้อใด

        ก.  5 วันนับแต่ส่งสำหรับกรณีภายในประเทศ หรือ 7 วันนับแต่วันที่ส่งสำหรับกรณีส่งไปยังต่างประเทศ

        ข.  7 วันนับแต่วันส่งสำหรับกรณีภายในประเทศ หรือ 15 วันนับแต่วันส่งสำหรับกรณีส่งไปยังต่างประเทศ

        ค.  15 วันนับแต่วันส่งสำหรับกรณีภายในประเทศ หรือ 30 วันนับแต่วันส่งสำหรับกรณีส่งไปยังต่างประเทศ

        ง.  20 วันนับแต่วันส่งสำหรับกรณีภายในประเทศ หรือ 45 วันนับแต่วันส่งสำหรับกรณีส่งไปยังต่างประเทศ


เฉลยแนวข้อสอบ
พระราชบัญญัติระเบียบการปกครอง พ.ศ. 2539

1.  ง       2.  ง       3.  ง       4.  ก       5.  ง       6.  ค       7.  ค       8.  ค
          9.  ข     10.  ก     11.  ค    12.  ค     13.  ง    14.  ก    15.  ข    16.  ง  
17.  ง     18.  ค     19.  ก     20.  ง     21.  ค     22.  ง     23.  ข     24.  ง
                                           25.  ค     26.  ง     27.  ก   28.  ง     29.  ง     30.  ข



สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลยในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 
ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
dokken ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ใช้ระดับ I
รายละเอียดผู้ใช้ 
THANK YOU...นะคร๊าบบบ..!
pornjung ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ใช้ระดับ I
รายละเอียดผู้ใช้ 
ขอบคุณมากนะคะที่โพส ขอให้เฮงๆ เช่นกันนะ
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

กรุณาใช้ข้อความที่สุภาพ คุณสามารถบันทึกฉบับร่างได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้