ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : แนวข้อสอบองค์การบริหารส่วนตำบล อบต.
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบองค์การบริหารส่วนตำบล อบต.

แชร์กระทู้นี้

001:งบประมาณรายจ่ายประจำปีขององค์การบริหารส่วนตำบลจัดทำเป็น
1. :ข้อบังคับ
2. :ระเบียบ
3. :ข้อบัญญัติ
4. :พระราชบัญญัติ:3

002:ข้อใดคือนิยามของ "งบประมาณ" ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีงบประมาณขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
1. :กิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงานที่กำหนดไว้ในแต่ละแผน
2. :แผนงาน หรืองานสำหรับงบประมาณการด้านรายรับและรายจ่ายแสดงตัวเลขจำนวนเ งิน การตั้งงบประมาณ คือ การแสดงแผนดำเนินงานออกเป็นตัวเลขจำนวนเงิน
3. :ภารกิจ แต่ละด้านที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้ว ยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละรูปแบบ
4. :ถูกทุกข้อ:2

003:ข้อใดคือนิยามของ "แผนงาน" ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีงบประมาณขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น พ.ศ.2541
1. :กิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงานที่กำหนดไว้ในแต่ละแผน
2. :แผนงาน หรืองานสำหรับงบประมาณการด้านรายรับและรายจ่ายแสดงตัวเลขจำนวนเ งิน การตั้งงบประมาณ คือ การแสดงแผนดำเนินงานออกเป็นตัวเลขจำนวนเงิน
3. :ภารกิจ แต่ละด้านที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้ว ยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละรูปแบบ
4. :ถูกทุกข้อ:1

004:ในกรณีที่งบประมาณประจำปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ออกใช้ไม่ทันปีงบประมาณใหม่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นจะดำเนินการอย่างไร
1. :ไม่มีการเบิกจ่ายใดๆ ทั้งสิ้น
2. :นำร่างงบประมาณรายจ่ายประจำปีของปีที่ล่วงมาแล้วมาใช้ไปพลางก่ อน
3. :นำงบประมาณรายจ่ายประจำปีของปีที่ล่วงมาแล้วมาใช้ไปพลางก่อน
4. :นำร่างงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่กำลังอยู่ในระหว่างพิจารณามาใ ช้ไปพลางก่อน:3
005:บุคคลในตำแหน่งใด เป็น เจ้าหน้าที่งบประมาณ
1. :นายกองค์การบริหารส่วนตำบล
2. :ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล
3. :เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน
4. :เจ้าหน้าที่พัสดุ:2
006:ข้อใดไม่ใช้รายจ่ายประจำ ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีงบประมาณขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น พ.ศ.2541
1. :หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ
2. :หมวดค่าจ้างชั่วคราว
3. :หมวดเงินค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ
4. :หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง:4
007:ข้อใดคือรายจ่ายเพื่อการลงทุน ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีงบประมาณขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น พ.ศ.2541
1. :หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ
2. :หมวดค่าจ้างชั่วคราว
3. :หมวดเงินค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ
4. :หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง:4
008:ข้อใดสามารถเบิกจ่ายได้ แม้งบประมาณรายจ่ายประจำปี ออกใช้ไม่ทัน
1. :ค่าครุภัณฑ์
2. :งบลงทุน
3. :ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
4. :ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ:4
009:ข้อใด ไม่ใช่ หน่วยงานราชการส่วนท้องถิ่น
1. :อำเภอ
2. :เทศบาล
3. :องค์การบริหารส่วนตำบล
4. :องค์การบริหารส่วนจังหวัด:1
010:งบประจำรายจ่ายประจำปีขององค์การบริหารส่วนตำบลจัดทำเป็น
1. :พระราชบัญญัติ
2. :ข้อบัญญัติ
3. :ระเบียบ
4. :ข้อบัญญัติ:2
011:บุคคลใดมีอำนาจสั่งยุบสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
1. :ประธานกรรมการบริหาร
2. :ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
3. :นายอำเภอ
4. :ผู้ว่าราชการจังหวัด:4
012:องค์กรบริหารส่วนตำบลมีฐานะเป็น
1. :ราชการส่วนท้องถิ่น
2. :ราชการส่วนภูมิภาค
3. :องค์กรอิสระ
4. :ราชการส่วนกลาง:1
013: ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละกี่ป ี
1. :1 ปี
2. :2 ปี
3. :3 ปี
4. :4 ปี:4
014:ถ้าองค์การบริหารส่วนตำบลหนึ่งมีจำนวน 2 หมู่บ้าน จะมีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลได้กี่คน
1. :4 คน
2. :6 คน
3. :10 คน
4. :12 คน:2
015:ข้อใดไม่ใช่ส่วนบริหารราชการส่วนกลาง
1. :กรุงเทพมหานครฯ
2. :สำนักนายกรัฐมนตรี
3. :กระทรวง ทบวง
4. :กรม:1
016:ใครมีอำนาจกำกับดูแลการปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วนตำบล
1. :นายอำเภอ
2. :ผู้ว่าราชการจังหวัด
3. :รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
4. :อธิบดีกรมการปกครอง:1
017: ใครมีอำนาจเรียกประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบลสมัยสามัญประจำป ี
1. :นายอำเภอ
2. :ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
3. :ผู้ว่าราชการจังหวัด
4. :ประธานกรรมการบริหาร:2
018:ข้อใดเป็นรายได้ที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล
1. :ภาษีบำรุงท้องที่
2. :ภาษีโรงเรือนและที่ดิน
3. :ภาษีสรรพสามิต
4. :ถูกทุกข้อ :4
019:การประชุมสภา อบต.สมัยสามัญหนึ่งๆ ให้มีกำหนดไม่เกินสิบห้าวัน แต่สามารถขยายเวลาออกไปอีกจะต้องได้รับอนุญาติจากใคร
1. :นายอำเภอ
2. :ประธานสภา อบต.
3. :ผู้ว่าราชการจังหวัด
4. :อธิบดีกรมการปกครอง:1
020:ข้อใดเป็นอำนาจหน้าที่ของสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
1. :ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาตำบล
2. พิจารณาและให้ความเห็นชอบร่างข้อบังคับตำบล
3. :ควบคุมการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริหาร
4. :ถูกทุกข้อ:4
021: ในปีหนึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลจะมีสมัยประชุมสามัญไม่เกินกี่ส มัย
1. :2 สมัย
2. :3 สมัย
3. :4 สมัย
4. :5 สมัย:3
022: ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบ ลต้องมีอายุกี่ปี
1. :อายุไม่ต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์
2. :อายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์
3. :อายุไม่ต่ำกว่า 30 ปีบริบูรณ์
4. :อายุไม่ต่ำกว่า 35 ปีบริบูรณ์:2
023:ข้อใดไม่ใช่วิธีการในการจัดซื้อจัดจ้างของส่วนราชการ
1. :ตกลงราคา
2. :สอบราคา
3. :จ้างเหมาราคา
4. :ประกวดราคา:3
024:การจัดซื้อจัดจ้างโดยวีธีตกลงราคาจะต้องมีวงเงินไม่เกินเท่าไร
1. :10,000 บาท
2. :50,000 บาท
3. :100,000 บาท
4. :500,000 บาท:3
025:ข้อใดเป็นรายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบล
1. :เงินอุดหนุนจากรัฐบาล
2. :ภาษีอากร
3. :ค่าธรรมเนียม ค่าปรับ ค่าใบอนุญาต ตามกฎหมายกำหนด
4. :ถูกทุกข้อ:4
026: "หนังสือภายใน" หมายถึง
1. :หนังสือที่ติดต่อภายในจังหวัดเดียวกัน
2. :หนังสือที่ติดต่อภายในกรมเดียวกัน
3. :หนังสือที่ติดต่อภายในกระทรวงเดียวกัน
4. :ถูกทุกข้อ:4
027:ข้อใดเป็นหนังสือประชาสัมพันธ์
1. :บันทึกข้อความ
2. :ข้อบังคับ
3. :ประกาศ
4. :คำสั่ง:3
028:ลักษณะของผู้ที่จะทำงานสารบรรณได้ดีคือ
1. :ผู้มีความรู้ภาษไทยดี
2. :ผู้รู้ระเบียบงานสารบรรณดี
3. :ผู้ที่สามารถติดต่อ โต้ตอบ ประสานงานคล่องแคล่ว ว่องไว
4. :ถูกทุกข้อ:4
029:ในงานสารบรรณ "หนังสือ" หมายถึง
1. :หนังสือเรียน
2. :หนังสือราชการ
3. :หนังสือนอกหลักสูตร
4. :หนังสือทุกประเภท:2
030: บรรดาข้อความทั้งหลายที่ผู้มีอำนาจหน้าที่กำหนดใช้โดยอาศัยอำนา จของกฎหมายเรียกว่าอะไร
1. :คำสั่ง
2. :ข้อบังคับ
3. :ระเบียบ
4. :กฎกระทรวง:1
031: บรรดาข้อความทั้งหลายที่ทางราชการเห็นสมควรเผยแพร่ให้ประชาชนทร าบโดยทั่วไป เรียกว่าอะไร
1. :แถลงการณ์
2. :ประกาศ
3. :คำสั่ง
4. :ข่าว:2
032:หนังสือติดต่อระหว่างส่วนราชการ หรือส่วนราชการถึงหน่วยงานอื่นซึ่งมิใช่หน่วยงานราชการหรือมีถึ งบุคคลภายนอก คือ
1. :หนังสือภายใน
2. :หนังสือภายนอก
3. :หนังสือประทับตรา
4. :หนังสือที่เจ้าหน้าที่จัดทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐาน:2
033:การเก็บเอกสารที่ดีที่สุดควรปฏิบัติอย่างไร
1. :เก็บเอกสารที่มีระบบเดียวตลอด
2. :เก็บเอกสารที่มีอุปกรณ์พร้อม
3. :เก็บเอกสารไว้อย่างเป็นระบบ
4. :เก็บเอกสารให้เป็นปัจจุบัน:4
034: จุดประสงค์ที่สำคัญในการจัดเก็บเอกสารอย่างมีระบบไว้ในที่เดียว กัน คือ
1. :ค้นหาเอกสารได้ทันท่วงที
2. :เพื่อความปลอดภัยและเอกสารจะอยู่อย่างเป็นระเบียบ
3. :เพื่อรวบรวมเอกสารไว้ในแหล่งที่มีผู้รับผิดชอบเป็นสัดส่วน
4. :ถูกทุกข้อ:4
035:จดหมายราชการ ไม่ควรใช้สำนวนในข้อใด
1. :ภาษานักประพันธ์หรือภาษาพูด
2. :ถูกต้องตามสากลนิยม
3. :เรียบร้อย
4. :สุภาพ:1
036:คำตอบในข้อใดที่จัดไม่เข้าพวกกับคำตอบในข้ออื่น ๆ
1. :ตี
2. :ตบ
3. :เตะ
4. :ต่อย:3
037:คำตอบในข้อใดที่จัดไม่เข้าพวกกับคำตอบในข้ออื่น ๆ
1. :โต
2. :จิ๋ว
3. :นิด
4. :เล็ก:1
038:คำตอบในข้อใดที่จัดไม่เข้าพวกกับคำตอบในข้ออื่น ๆ
1. :ฉิ่ง
2. :ซอ
3. :กลอง
4. :ระนาด:2
039:คำตอบในข้อใดที่จัดไม่เข้าพวกกับคำตอบในข้ออื่น ๆ
1. :มะขาม
2. :มะยม
3. :มะปราง
4. :มะนาว:4
040:คำตอบในข้อใดที่แตกต่างจากข้ออื่น
1. :น้ำพึ่งเรือเสือพึ่งป่า
2. :ลิ้นกับฟัน
3. :ขิงก็ราข่าก็แรง
4. :เกลือจิ้มเกลือ:1
041:พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่เท่าไร
1. :21
2. :22
3. :23
4. :24:3
042:สมาชิกวุฒิสภาชุดปัจจุบันมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละกี่ปี
1. :4 ปี
2. :6 ปี
3. :7 ปี
4. :9 ปี:2
043:จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน มี
1. :500 คน
2. :400 คน
3. :200 คน
4. :700 คน:1
044:ใครดำรงตำแหน่งประธานรัฐสภา
1. :ประธานศาลรัฐธรรมนูญ
2. :ประธานศาลฎีกา
3. :ประธานวุฒิสภา
4. :ประธานสภาผู้แทนราษฎร:4
045:ข้อใดเป็นตำแหน่งข้าราชการการเมือง
1. :เลขานุการนายกรัฐมนตรี
2. :เลขานุการคณะรัฐมนตรี
3. :ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
4. :ปลัดกระทรวง:1
046:คณะรัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันมีกี่คน
1. :34
2. :35
3. :36
4. :40:3
047: ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำและประสานแผนพัฒนาขององค์ กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2546 ได้ปรับปรุงมาจากระเบียบใด
1. :ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการวางแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น พ.ศ. 2540
2. :ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการวางแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น พ.ศ. 2541
3. :ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการวางแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
4. :ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการวางแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น พ.ศ. 2543:2
048: ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำและประสานแผนพัฒนาขององค์ กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2546 เมื่อมีการประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้ใช้เมื่อพ้นกำหนดกี่วัน
1. :30 วัน
2. :60 วัน
3. :90 วัน
4. :180 วัน:3
049:"องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น" ใน ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำและประสานแผนพัฒนาขององค์ กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2546 ไม่ได้หมายความถึงข้อใด
1. :องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล
2. :องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล เมืองพัทยา
3. :องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง
4. :องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล เมืองพัทยา กรุงเทพมหานคร:4
050: ในระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำและประสานแผนพัฒนาองค์ก รปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2546 คำว่า "แผนพัฒนา" ไม่ได้หมายถึง
1. :แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
2. :แผนพัฒนาห้าปี
3. :แผนพัฒนาสามปี
4. :ไม่มีข้อถูกต้อง:2

051:องค์กรจัดทำแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล คณะกรรมการชุดใดไม่เกี่ยวข้องด้วย
1. :คณะกรรมการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล
2. :คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล
3. :คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล
4. :ถูกทุกข้อ:3
052:คณะกรรมการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล มีประธานกรรมการคือ
1. :ประธานสภา อบต.
2. :ปลัด อบต.
3. :นายก อบต.
4. :ผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับคัดเลือก:3
053: คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลมีประ ธานคือ
1. :ประธานสภา อบต.
2. :ปลัด อบต.
3. :นายก อบต.
4. :ผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับคัดเลือก:2
054:คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา อบต. มีประธานกรรมการคือ
1. :ประธานสภา อบต.
2. :ปลัด อบต.
3. :นายก อบต.
4. :ผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับคัดเลือก:1
055:คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น มีประธานกรรมการคือ
1. :นายก อบต.
2. :นายก อบจ.
3. :ประธานสภา อบต.
4. :ประธานสภา อบจ.:2
056:คณะอนุกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นระดับอำเภอ มีประธานกรรมการคือ
1. :นายอำเภอ
2. :ผู้ว่าราชการจังหวัด
3. :ผู้บริหารท้องถิ่นที่ได้รับเลือก
4. :หัวหน้าส่วนราชการที่ได้รับแต่งตั้ง:1
057: การจัดทำและทบทวนแผนพัฒนาสามปีให้แล้วเสร็จภายในเดือนใดก่อนงบป ระมาณประจำปี
1. :มิถุนายน
2. :ตุลาคม
3. :สิงหาคม
4. :ธันวาคม:1
058:ผู้มีอำนาจขยายเวลาการจัดทำแผนพัฒนาสามปี คือผู้ใด
1. :นายอำเภอ
2. :ผู้บริหารท้องถิ่น
3. :สภาท้องถิ่น
4. :ผู้ว่าราชการจังหวัด:4
059:การแก้ไขแผนพัฒนาเป็นอำนาจของใคร
1. :นายอำเภอ
2. :ผู้บริหารท้องถิ่น
3. :สภาท้องถิ่น
4. :ผู้ว่าราชการจังหวัด:2
060:ผู้ประกาศใช้แผนพัฒนาที่ได้รับการอนุมัติแล้วคือผู้ใด
1. :ผู้บริหารท้องถิ่น
2. :นายอำเภอ
3. :สภาท้องถิ่น
4. :ผู้ว่าราชการจังหวัด:1
061:แผนปฏิบัติการให้จัดทำแล้วเสร็จภายในเดือนใดของปีงบประมาณนั้น
1. :มิถุนายน
2. :ตุลาคม
3. :สิงหาคม
4. :ธันวาคม:4
062:การแก้ไขแผนปฏิบัติการเป็นอำนาจของใคร
1. :นายอำเภอ
2. :ผู้บริหารท้องถิ่น
3. :สภาท้องถิ่น
4. :ผู้ว่าราชการจังหวัด:2
063:ผู้มีอำนาจขยายเวลาการจัดทำแผนปฏิบัติการคือผู้ใด
1. :ผู้ว่าราชการจังหวัด
2. :นายอำเภอที่ได้รับมอบอำนาจจากผู้ว่าราชการจังหวัด
3. :ผู้บริหารท้องถิ่นตามมติสภาท้องถิ่น
4. :ถูกเฉพาะข้อ ก และ ข:4
064: คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่นให้มีอำนาจหน้าที ่ต้องรายงานผลและเสนอความเห็น และต้องประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาให้ประชาชนในท้อง ถิ่นทราบอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้งภายในเดือนใดของทุกปี
1. :มิถุนายน
2. :ตุลาคม
3. :สิงหาคม
4. :ธันวาคม:4
065: คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่นให้มีอำนาจหน้าที ่ต้องรายงานผลและเสนอความเห็น และต้องประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาให้ประชาชนในท้อง ถิ่นทราบอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้งต้องติดประกาศโดยเปิดเผยไม่น้อ ยกว่ากี่วัน
1. :7 วัน
2. :10 วัน
3. :15 วัน
4. :30 วัน:4
066: ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำและประสานแผนองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2546 ให้ผู้ใดเป็นผู้มีอำนาจยกเว้น หรือผ่อนผันการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นภายในเขตจังหวัด ในกรณีที่มีเหตุจำเป็น
1. :ปลัดกระทรวงมหาดไทย
2. :ผู้ว่าราชการจังหวัด
3. :อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
4. :ประธานคณะกรรมการประสานแผนท้องถิ่น:2
067:ข้อใดถูกต้องที่สุด
1. :เงินสะสม หมายความว่าเงินที่เหลือจ่ายจากปีก่อน ๆ
2. :ใบสำคัญคู่จ่าย หมายความว่าหลักฐานที่เป็นใบเสร็จรับเงิน
3. :ตู้นิรภัย หมายถึงตู้เหล็กซึ่งใช้เก็บรักษาเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ ่น
4. :หลักฐานการจ่าย หมายความว่า หลักฐานแสดงว่าได้มีการจ่ายให้แก่ผู้รับหรือเจ้าหนี้ตามข้อผูกพ ันแล้ว:4
068:ข้อใดถูกต้องที่สุด
1. :การรับชำระเงินทุกประเภท จะต้องออกใบเสร็จรับเงินให้แก่ผู้นำมาชำระทุกครั้งและให้ใช้ใบเ สร็จรับเงินเล่มเดี่ยวกันทุกประเภท
2. :หน่วยงานคลังบันทึกเงินที่ได้รับในบัญชีเงินสดหรือบัญชีเงินฝา กวันใดก็ได้ในหนึ่งเดือนที่มีการรับเงิน
3. :หน่วยงานคลังจัดให้มีการตรวจสอบจำนวนเงินที่เจ้าหน้าที่จัดเก็ บและนำส่งพร้อมกับหลักฐานและรายการที่บันทึกไว้ในบัญชีเงินสดหร ือบัญชีเงินฝากธนาคารว่าถูกต้องครบถ้วนหรือไม่
4. :เงินประเภทใดมีใบเสร็จเงินหลายฉบับไม่สามารถจะรวมรับเงินประเภ ทนั้นตามสำเนาใบเสร็จทุกฉบับมาบันทึกในบัญชีรายการเดียวได้:3
069: การเจาะปรุหรือประทับตราเลิกใช้ใบเสร็จรับเงินจะกระทำเมื่อใด
1. :เมื่อต้องการยกเลิกใบเสร็จ
2. :เมื่อสิ้นปีงบประมาณ
3. :เมื่อใบเสร็จบางฉบับในหนึ่งเล่มสูญหาย
4. :เมื่อใช้ใบเสร็จไม่หมดทั้งเล่มในหนึ่งเดือน:2
070: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถเก็บรักษาเงินสดไว้ในตู้นิรภัยไ ด้จำนวนไม่เกินเท่าใด
1. :10,000 บาท
2. :20,000 บาท
3. :40,000 บาท
4. :50,000 บาท:2
071:ใครเป็นผู้เก็บรักษาลูกกุญแจตู้นริภัย
1. :รองนายก อบต.
2. :กรรมการเก็บรักษาเงิน
3. :ปลัด อบต.
4. :หัวหน้าส่วนการคลัง:2
072: การแต่งตั้งกรรมการเก็บรักษาไว้ ณ สำนักงานต้องแต่งตั้งอย่างน้อยจำนวนเท่าใด
1. :2 คน
2. :3 คน
3. :4 คน
4. :5 คน:
073: การแต่งตั้งพนักงานส่วนท้องถิ่นเป็นคณะกรรมการเก็บรักษาเงินจะต ้องแต่งตั้งพนักงานส่วนท้องถิ่นระดับใดขึ้นไปเป็นคณะกรรมการ
1. :ระดับ 3 ขึ้นไป
2. :ระดับ 4 ขึ้นไป
3. :ระดับ 5 ขึ้นไป
4. :ระดับ 6 ขึ้นไป:2
074: กรณีในวันใดมีจำนวนเงินเกินอำนาจที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะ เก็บรักษาไว้ได้จะต้องดำเนินการอย่างไร
1. :ให้นายก อบต.เก็บรักษาไว้ ในวันรุ่งขึ้นให้มอบให้เจ้าหน้าที่การเงินนำฝากธนาคาร
2. :ให้หัวหน้าส่วนการคลังเก็บรักษาไว้ในวันรุ่งขึ้นให้ นำเงินฝากธนาคาร
3. :ให้นำฝากให้เสร็จสินภายในวันนั้น ถ้าฝากในวันนั้นไม่ทันให้นำฝากตู้นิรภัยและวันรุ่งขึ้นหรือวันเ ปิดทำการถัดไปให้นำฝากธนาคาร
4. :ให้ปลัด อบต.เก็บรักษาไว้ ในวันรุ่งขึ้นให้มอบให้เจ้าหน้าที่การเงินนำฝากธนาคาร:3
075:การรับส่งเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็นเงินสดครั้งหนึ่งมีจำนวนเท่าใดให้ผู้บริหารท้องถิ่นแต่ งตั้งพนักงานส่วนท้องถิ่นตั้งแต่ระดับ 3 หรือเทียบเท่าขึ้นไปอย่างน้อยสองคนเป็นกรรมการรับผิดชอบร่วมกัน ควบคุมการรับส่งเงิน
1. :10,000 บาท
2. :20,000 บาท
3. :30,000 บาท
4. :40,000 บาท:3
076:ผู้ใดมีอำนาจในการถอนเงินฝากขององค์การบริหารส่วนตำบล
1. :นายก อบต. กับ ปลัด อบต.
2. :นายก อบต. กับ หัวหน้าส่วนการคลัง
3. :นายก อบต. หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย กับ ปลัด อบต. หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
4. :นายก อบต. หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย กับ รองนายก อบต. หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย:3
077:เงินที่เบิก ถ้าไม่ได้จ่ายหรือจ่ายไม่หมด ให้หน่วยงานผู้เบิกนำส่งคืนหน่วยงานคลังภายในกี่วัน
1. :10 วัน
2. :15 วัน
3. :20 วัน
4. :25 วัน:2
078: การเบิกเงินเพื่อจ่ายเป็นค่าซื้อทรัพย์สินหรือจ้างทำของให้มีเอ กสารประกอบฎีกา ดังนี้
1. :สัญญาซื้อทรัพย์สินหรือจ้างทำของหรือเอกสารอื่นอันเป็นหลักฐาน แห่งหนี้
2. :ใบแจ้งหนี้ หรือใบส่งมอบทรัพย์หรือมอบงาน
3. :เอกสารการตรวจรับทรัพย์สิน หรือตรวจรับงาน
4. :ถูกทุกข้อ:4
079: กรณีที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ก่อหนี้ผู้พันไว้ก่อนสิ้นปี โดยการสั่งซื้อ หรือสั่งจ้าง ถ้าเห็นว่าจะเบิกเงินไปชำระหนี้ผูกพันนั้นไม่ทันภายในปีให้ขออน ุมัติเบิกตักปีต่อใคร
1. :นายก อบต.
2. :นายอำเภอ
3. :ผู้ว่าราชการจังหวัด
4. :หัวหน้ากลุ่มส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด:1
080: การเบิกตัดปีจะกระทำได้ภายในเงื่อนไขใด
1. :เป็นรายจ่ายงบกลาง หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุเฉพาะรายจ่ายที่เกี่ยวกับการบำรุงดูแลรักษาที่ดิ นและสิ่งก่อสร้างและหมวดค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
2. :ต้องทำสัญญากันไว้เรียบร้อยแล้วและมีกำหนดการสิ้นสุดแห่งสัญญา นั้นไม่เกินเดือนกันยายนของปีใหม่
3. :ให้วางฎีกาเบิกตัดปี ตามแบบที่กรมการปกครองกำหนดก่อนวันสิ้นปีอย่างน้อยสามสิบวัน
4. :ถูกทุกข้อ:4

สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 
ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
081: ผู้ใดมีหน้าที่ในการตรวจฎีกาขององค์การบริหารส่วนตำบล
1. :นายก อบต.
2. :ปลัด อบต.
3. :หัวหน้าส่วนการคลังหรือเจ้าหน้าที่การเงินที่ได้รับมอบหมาย
4. :เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี:3
082:ผู้ใดเป็นผู้อนุมัติฎีกาขององค์การบริหารส่วนตำบล
1. :หัวหน้าส่วนการคลัง
2. :ปลัด อบต.
3. :นายก อบต.
4. :นายอำเภอ:3
083:องค์การบริหารส่วนตำบลจ่ายให้แก่ผู้มีสิทธิรับเงินด้วยวิธีใด
1. :จ่ายเป็นเงินสดเท่านั้น
2. :จ่ายเป็นเช็ค
3. :จ่ายเป็นพันธบัตรรัฐบาล
4. :จ่ายเป็นเช็คและเงินสด:2
084: ถ้าผู้มีสิทธิรับเงินไม่สามารถรับเงินด้วยตนเองได้จะมอบฉันทะให ้ผู้อื่นเป็นผู้รับแทนจะต้องได้รับอนุญาตจากใคร
1. :นายก อบต.
2. :ปลัด อบต.
3. :หัวหน้าหน่วยงานคลัง
4. :นายอำเภอ:3
085: การจ่ายเงินในข้อใดต่อไปนี้ให้ผู้จ่ายเงินทำใบรับรองการจ่ายเงิ นโดยไม่ต้องทำบันทึกแจ้งเหตุผล
1. :การจ่ายเงินรายหนึ่ง ๆ เป็นจำนวนเงินไม่ถึงสิบบาท
2. :การจ่ายเงินค่ารถ หรือเรือนั่งรับจ้าง
3. :การจ่ายเงินเป็นค่าโดยสารรถไฟ รถยนต์ประจำทางหรือเรือยนต์ประจำทาง
4. :ถูกทุกข้อ:4
086: ผู้ใดเป็นผู้มีอำนาจในการอนุมัติให้ยืมเงินขององค์การบริหารส่ว นตำบลได้
1. :หัวหน้าส่วนการคลัง
2. :ปลัด อบต.
3. :นายก อบต.
4. :นายอำเภอ:3
087:การจ่ายยืมเงินขององค์การบริหารส่วนตำบลจะกระทำได้ก็ต่อเมื่อ
1. :เมื่อพนักงานส่วนตำบลเป็นหนี้
2. :มีงบประมาณเพื่อการนั้นแล้ว
3. :ผู้ยืมได้ทำสัญญาการยืมเงินและรับรองว่าจะปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับหรือคำสั่งที่ได้กำหนดไว้สำหรับเรื่องนั้น
4. :ข้อ ข และ ค ถูก:4
088: การยืมเงินเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการให้ผู้ยืมส่ งใบสำคัญและเงินที่เหลือจ่ายภายในกำหนดกี่วัน
1. :15 วัน
2. :20 วัน
3. :25 วัน
4. :30 วัน:1
089: ในกรณีจำเป็นเร่งด่วนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจยืมเงินสะสมใน ส่วนที่เก็บรักษาไว้เองทดรองจ่ายในกิจการที่อยู่อำนาจหน้าที่ขอ งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยได้รับอนุมัติจากใคร
1. :นายก อบต.
2. :คณะผู้บริหารท้องถิ่น
3. :สภาท้องถิ่น
4. :นายอำเภอ:3
090:ข้อใดถูกต้องที่สุด
1. :องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจจ่ายขาดเงินสะสมได้เมื่อได้รับอนุ มัติจากนายอำเภอเท่านั้น
2. :องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจจ่ายขาดเงินสะสมได้เมื่อได้รับอนุ มัติจากผู้ว่าราชการจังหวัดเท่านั้น
3. :เมื่อได้กันเงินสะสมไว้เพียงพอที่จะสำรองจ่ายเป็นเงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทนไม่น้อยกว่าระยะเวลาที่เหลือ แต่ทั้งนี้ต้องไม่น้อยกว่าสามเดือนและอีกร้อยละยี่สิบห้าของยอด เงินสะสมคงเหลือเพื่อสำรองจ่ายกรณีฉุกเฉินอื่น ๆ
4. :ไม่มีข้อใดถูก:4
091: หัวหน้าหน่วยงานคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องจัดทำงบแสด งฐานะการเงิน และงบอื่น ๆ ตามแบบที่กรมการปกครองกำหนดเพื่อส่งให้สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน ภูมิภาคตรวจสอบภายในกี่วันนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ
1. :30 วัน
2. :60 วัน
3. :90 วัน
4. :120 วัน:3
092: เมื่อลงรายการจำนวนในใบเสร็จรับเงินผิดพลาดเมื่อต้องแก้ไขจะทำอ ย่างไร
1. :ขีดฆ่าแล้วเขียนใหม่ทั้งจำนวนพร้อมลงลายมือชื่อกำกับ
2. :ขีดฆ่าแล้วเขียนใหม่
3. :ทำลายทิ้งทั้งฉบับยกเว้นสำเนา
4. :ยกเลิกทั้งฉบับ:4
093:เงินในข้อใดต่อไปนี้ไม่ต้องนำส่งเป็นเงินรายได้
1. :เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ
2. :เงินที่ผู้อุทิศให้กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งโดยมีวัตถุประสงค ์ไว้แล้ว
3. :เงินที่จัดหาขึ้นเพื่อกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งโดยไม่ใช้งบปร ะมาณ
4. :ถูกทุกข้อ:4
094:ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
1. :ใบเสร็จรับเงินเล่มใด ใช้สำหรับรับเงินของปีใด ให้ใช้รับเงินภายในปีนั้นเท่านั้น เมื่อขึ้นไปใหม่ก็ให้ใช้ใบเสร็จเล่มใหม่ ใบเสร็จรับเงินฉบับใดที่ยังไม่ใช้ให้คงติดไว้กับเล่มแต่เจาะปรุ รูหรือ ประทับตราเลิกใช้เพื่อให้เป็นที่สังเกตมิให้นำมาใช้รับเงินได้ต ่อไป
2. :ใบเสร็จรับเงินเล่มใดใช้สำหรับรับเงินของปีนั้น เมื่อสิ้นปีให้ใช้ต่อไปได้และจัดทำรายงานสรุปเลขที่ใบเสร็จให้ป ลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทราบ
3. :ใบเสร็จรับเงินห้ามขูด ลบ แก้ไข เพิ่มเติมจำนวน
4. :หน่วยงานคลังต้องจัดทำทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงิน เพื่อทราบและตรวจสอบจำนวนที่จัดพิมพ์:4
095: การยืมเงินขององค์การบริหารส่วนตำบลบุคคลใดเป็นผู้ลงนามในสัญญา การยืมเงิน
1. :นายก อบต.
2. :ปลัด อบต.
3. :หัวหน้าส่วนการคลัง
4. :ถูกทุกข้อ:1
096:การขออนุมัติเบิกตัดปีต้องมีเงื่อนตามข้อใด
1. :ได้ก่อหนี้ผูกพันไว้ก่อนสิ้นปีงบประมาณ
2. :ได้ก่อหนี้ผูกพันไว้แล้วและสัญญาสิ้นสุดไม่เกินเดือนกันยายนขอ งปีใหม่
3. :วางฏีกาเบิกเงินก่อนสิ้นปีงบประมาณไม่น้อยกว่า 30 วัน
4. :ถูกทุกข้อ:4
097: ระเบียบงานสารบรรณฉบับปัจจุบันเริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่เมื่อใ ด
1. :1 มกราคม 2526
2. :1 มิถุนายน 2526
3. :1 ตุลาคม 2526
4. :1 เมษายน 2526:2
098: ผู้รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบงานสารบรรณคือใคร
1. :นายกรัฐมนตรี
2. :เลขาธิการ ก.พ.
3. :ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
4. :รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย:3
099: หนังสือราชการมีกี่ชนิด
1. :3 ชนิด
2. :4 ชนิด
3. :5 ชนิด
4. :6 ชนิด:4
100: หนังสือราชการคืออะไร
1. :เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ
2. :เอกสารที่เป็นหนังสือสำคัญ
3. :เอกสารที่เจ้าหน้าที่เรียกร้องให้นำส่ง
4. :เอกสารที่ส่งทางไปรษณีย์โดยไม่ต้องติดแสตมป์:1
101: ตัวครุฑที่ใช้กระดาษราชการมี 2 ขนาด คือ ครุฑกลางสูง 3 ซม. ครุฑเล็กสูงเท่าใด
1. :2.5 ซม.
2. :2.0 ซม.
3. :1.5 ซม.
4. :1.0 ซม.:3
102: การรับหนังสือมีวิธีการปฏิบัติตามลำดับขั้นตอนอย่างใดตามลำดับก ่อนหลัง
1. :เปิดซองแล้วตรวจ ลงชื่อรับหนังสือ ประทับตรารับหนังสือ ลงทะเบียนรับ ลงเลขที่ทะเบียนรับที่ตรารับ
2. :เปิดซองแล้วตรวจ ลงทะเบียนรับ ประทับตราหนังสือ ลงเลขที่ทะเบียนรับที่ตรารับ ลงชื่อรับหนังสือ
3. :เปิดซองแล้วตรวจ ประทับตรารับหนังสือ ลงทะเบียนรับ ลงชื่อรับหนังสือ ลงเลขที่ทะเบียนรับที่ตรารับ
4. :เปิดซองแล้วตรวจ ประทับตรารับหนังสือ ลงเลขที่ทะเบียนรับที่ตรารับ ลงทะเบียนรับ ลงชื่อรับหนังสือ:4
103: หนังสือราชการคือ
1. :เอกสารทางราชการ
2. :เอกสารที่ราชการทำขึ้น
3. :เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ
4. :เอกสารโต้ตอบในราชการ :3
104: หนังสือภายนอกให้ใช้กระดาษชนิด
1. :กระดาษบันทึกข้อความ
2. :กระดาษตราครุฑ
3. :กระดาษบันทึกหรือตราครุฑก็ได้
4. :กระดาษที่ราชการกำหนด:2
105: หนังสือประทับตราแทนการลงชื่อให้ใช้ได้ในกรณีใด
1. :การส่งสิ่งของเอกสารหรือบรรณสารระหว่างส่วนราชการ
2. :คำแนะนำ
3. :แถลงการณ์
4. :หนังสือที่ไม่เกี่ยวกับราชการ:1
106: หนังสือที่ต้องเก็บไว้เป็นหลักฐานทางราชการตลอดไป เช่น
1. :เรื่องที่เกี่ยวกับการเงิน
2. :เรื่องที่เกี่ยวกับระเบียบ
3. :เรื่องที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์
4. :ถูกทุกข้อ:3
107: กรรมการดำเนินการทำลายหนังสือประกอบขึ้นด้วยบุคคลอย่างน้อยกี่ค น
1. :2 คน
2. :3 คน
3. :4 คน
4. :เท่าใดก็ได้:2
108: ถ้าผู้รับหนังสือเป็นรัฐมนตรี คำขึ้นต้นให้ใช้คำว่า
1. :กราบเรียน
2. :เรียน
3. :เสนอ
4. :ขอประธานกราบเรียน:2
109: การจดบันทึก หรือรายงานการประชุมอาจทำได้กี่วิธี
1. :1 วิธี
2. :2 วิธี
3. :3 วิธี
4. :4 วิธี:3
110: หนังสือประทับตรา คืออะไร
1. :หนังสือที่หัวหน้าส่วนราชการเป็นคนลงนาม
2. :หนังสือติดต่อราชการที่เป็นพิธีน้อยกว่าหนังสือภายนอกและภายใน
3. :หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการระดับ กรมขึ้นไป
4. :หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการระดับ กองขึ้นไป:3
111: หนังสือสั่งการมีกี่ชนิด
1. :2 ชนิด
2. :3 ชนิด
3. :4 ชนิด
4. :5 ชนิด:2
112: หนังสือประชาสัมพันธ์มีกี่ชนิด
1. :1 ชนิด
2. :2 ชนิด
3. :3 ชนิด
4. :4 ชนิด:3
113: ประกาศจัดเป็นหนังสือชนิดใด
1. :หนังสือสั่งการ
2. :หนังสือประชาสัมพันธ์
3. :หนังสือประทับตรา
4. :หนังสือแถลงการณ์:2
114: หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ มีกี่ชนิด
1. :1 ชนิด
2. :2 ชนิด
3. :3 ชนิด
4. :4 ชนิด:4
115: หนังสือที่ต้องปฏิบัติเร็วกว่าปกติแบ่งออกเป็นกี่ประเภท
1. :1 ประเภท
2. :2 ประเภท
3. :3 ประเภท
4. :4 ประเภท:3
116: หนังสือราชการภาษาอังกฤษ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1. :หนังสือที่ลงชื่อและหนังสือที่มิต้องลงชื่อ
2. :หนังสือที่เป็นแบบพิธีและหนังสือที่ไม่เป็นแบบพิธี
3. :หนังสือโต้ตอบและหนังสือแถลงข่าว
4. :บันทึกช่วยจำ และบันทึกเตือนความจำ:1
117: การพิจารณาหนังสือที่จะขอทำลายเป็นหน้าที่ของ
1. :หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม
2. :ผู้ที่หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมมอบอำนาจให้ปฏิบัติราชการแทน
3. :คณะกรรมการที่หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมแต่งตั้ง
4. :คณะกรรมการที่ปลัดกระทรวงแต่งตั้งโดยการเสนอของหัวหน้าส่วนราช การระดับกรม:3
118: คำว่า "คำสั่ง" คือ
1. :คำสั่งด้วยวาจา คำสั่งที่เป็นลายลักษณ์อักษรและเป็นคำสั่งที่บันทึกถึงตัวผู้ปฏ ิบัติโดยเฉพาะ
2. :การสั่งด้วยบันทึก ทางจดหมายและด้วยสื่อนำสาร
3. :บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฏิบัติโดยชอบด้วยกฎห มาย
4. :การกระทำด้วยหนังสือหรือเรียกเจ้าหน้าที่มาพบเพื่อสั่งการแต่ล ะเรื่อง:3
119: การเก็บหนังสือแบ่งออกเป็น
1. :เก็บเข้าแฟ้มเพื่อสะดวกในการค้นหาเรื่องเดิม,เก็บเพื่อเป็นหลักฐานและเก็บเพื่ออ้างอิงในการปฏิบัติ
2. :การเก็บระหว่างปฏิบัติ, เก็บเมื่อปฏิบัติแล้วเสร็จและการเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบตล อดจนกำหนดระยะเวลาทำลายไว้
3. :เก็บโดยมิดชิดปลอดภัยและกำหนดการเร่งด่วนในการขอย้าย
4. :เก็บให้เป็นระเบียบเพื่อการค้นหาได้สะดวก:2
120: การเก็บหนังสือราชการโดยปกติให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่ากี่ปี
1. :5 ปี
2. :10 ปี
3. :15 ปี
4. :ไม่มีข้อใดถูก:2
121: ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการเก็บหนังสือ สำรวจหนังสือที่อายุครบการเก็บในปีนั้น จัดทำบัญชีหนังสือขอทำลายเสนอหัวหน้าส่วนราชการเพื่อทำลายหนังส ือภายในกี่วัน หลังจากวันสิ้นปีปฏิทิน
1. :30 วัน
2. :60 วัน
3. :120 วัน
4. :1 ปี:2
122: ระเบียบคือหนังสือชนิดหนึ่งที่จัดอยู่ในหนังสือประเภทใด
1. :หนังสื่อสั่งการ
2. :หนังสือประทับตรา
3. :หนังสือภายใน
4. :หนังสือภายนอก:1
123: คำสรรพนาม สำหรับเจ้าของหนังสือที่ว่า "ข้าพระพุทธเจ้า" นอกจากจะใช้กับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชิน ีแล้ว ยังใช้กับ
1. :สมเด็จพระบรมราชชนนี
2. :สมเด็จเจ้าฟ้า
3. :พระบรมวงศ์ชั้นพระองค์เจ้า
4. :ถูกทุกข้อ:4
124: งานสารบรรณ คือ
1. :งานที่เกี่ยวกับระเบียบการร่างโต้ตอบหนังสือและเสนอความเห็น
2. :งานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการติดต่อกับหน่วยราชการทั้งภายในและ ภายนอกหน่วย
3. :งานที่ปฏิบัติด้วยหนังสือ นับตั้งแต่ คิด ร่าง เขียน แต่งพิมพ์ จดจำ ทำสำเนา ส่ง รับ บันทึกย่อเรื่อง เสนอสั่งการ ตอบ เก็บเข้าที่และค้นหา
4. :งานเกี่ยวกับธุรการทุกชนิด ที่ผู้บังคับบัญชามอบหมายให้รับผิดชอบ:3
125: การปฏิบัติกับหนังสือที่ต้องเก็บไว้ตลอดไป คือ
1. :ให้เก็บโดยมิดชิด ปลอดภัยและกำหนดความเร่งด่วนในการขนย้าย
2. :เก็บใส่ตู้เอกสารที่มั่นคงแข็งแรงและกำหนดชั้นความลับ
3. :ให้ประทับตราคำว่า "ห้ามทำลาย" ด้วยหมึกสีแดงที่หน้าแฟ้มเรื่องนั้น
4. :เก็บให้เป็นระเบียบ แล้วแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบทั่วกัน:3
126: ผู้ที่มีอำนาจตีความและวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับระเบียบสำนักนายก รัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ คือใคร
1. :หัวหน้าส่วนราชการนั้น ๆ
2. :สำนักงาน ก.พ.
3. :ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
4. :ปลัดกระทรวงนั้น ๆ:3
127: ประกาศ หรือแถลงการณ์ เป็นหนังสือชนิดใด
1. :หนังสือสั่งการ
2. :หนังสือประชาสัมพันธ์
3. :หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นเพื่อให้ทุกฝ่ายถือปฏิบัติตามนโยบ าย
4. :หนังสือประทับตรา:2
128: ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีตายหรือขาดคุณสมบัติ คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งปฏิบัติ ดังนี้
1. :รักษาราชการแทน
2. :ปฏิบัติราชการแทน
3. :ปฏิบัติหน้าที่แทน
4. :ทำการแทน:3
129: คำขึ้นต้นของหนังสือภายในถึงบุคคลธรรมดา ใช้คำขึ้นต้นอย่างไร
1. :เรียน
2. :ขอประทานเสนอ
3. :ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของบุคคล
4. :ถึง:1
130: บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่ได้วางไว้ เพื่อถือเป็นหลักปฏิบัติงานเป็นประจำ เรียกว่า
1. :คำสั่ง
2. :ระเบียบ
3. :ข้อบังคับ
4. :ประกาศ:2
131: ข้อความใด ถูกต้องเกี่ยวกับข้อบังคับ
1. :รายละเอียดของข้อบังคับมีหัวข้อเหมือนกับคำสั่ง
2. :ผู้ออกข้อบังคับไม่จำเป็นจะต้องพิมพ์ชื่อเต็มไว้ด้วย
3. :การเขียนข้อบังคับต้องมีชื่อส่วนราชการอยู่ด้วย
4. :การเขียนวันที่ของข้อบังคับต้องเขียนเต็มโดยมี วันที่ เดือน พ.ศ.:3
132: หนังสือราชการต่อไปนี้ ข้อใดต้องใช้กระดาษตราครุฑ
1. :ข่าว
2. :ประกาศ
3. :แถลงการณ์
4. :ข้อ ก และ ข ถูก:4
133: หนังสือรับรอง คือหนังสือที่ส่วนราชการออกให้
1. :รับรองบุคคล
2. :รับรองนิติบุคคล
3. :รับรองหน่วยงาน
4. :ถูกทุกข้อ:4
134: หนังสือที่เจ้าหน้าที่ต้องปฏิบัติทันทีที่ได้รับ
1. :หนังสือด่วนมาก
2. :หนังสือด่วน
3. :หนังสือด่วนที่สุด
4. :หนังสือลับ:3
135: ข้อใดคือลักษณะของหนังสือเวียน
1. :หนังสือถึงผู้รับเป็นจำนวนมาก
2. :มีใจความอย่างเดียวกัน
3. :มีรหัสตัวพยัญชนะ " ว "ที่หน้าเลขทะเบียนหนังสือส่ง
4. :ถูกทุกข้อ:4
136: ข้อใดมิใช่ส่วนประกอบของตรารับหนังสือ
1. :เลขที่
2. :วันที่
3. :เวลา
4. :ลงชื่อผู้รับ:4
137: ตรารับหนังสือราชการเป็นรูปสีเหลี่ยมผืนผ้าตามขวาง มีขนาดมาตรฐานเท่าใด
1. :2" X 2.5"
2. :2" X 3"
3. :2.5 X 5 ซม.
4. :5 X 2.5 ซม.:3
138: มาตรฐานของกระดาษ A 4 มีขนาดเท่าใด
1. :148 มม. X 210 มม.
2. :229 มม. X 324 มม.
3. :52 มม. X 74 มม.
4. :210 มม. X 297 มม.:4
139: ตราครุฑที่ใช้เป็นแบบพิมพ์ ในระเบียบงานสารบรรณขนาดใหญ่ มีความสูงเท่าใด
1. :3 ซม.
2. :2 ซม.
3. :1.5 ซม.
4. :5 ซม.:1
140: ซองที่ใช้ในระเบียบงานสารบรรณมีกี่ขนาด
1. :4 ขนาด
2. :5 ขนาด
3. :6 ขนาด
4. :7 ขนาด:1
141: การประทับตรารับหนังสือเพื่อลง วันที่ เดือน พ.ศ. จะต้องประทับตราที่ใด
1. :มุมบนด้นขวา
2. :มุมขนด้านซ้าย
3. :มุมล่างด้านขวา
4. :มุมล่างด้านซ้าย:1
142: คำลงท้ายถึงประธานองคมนตรี ใช้คำว่าอะไร
1. :ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง
2. :ขอแสดงความนับถืออย่างสูง
3. :ขอแสดงความนับถือยิ่ง
4. :ไม่มีข้อใดถูก:1
143: หนังสือที่เป็นเรื่องธรรมดาสามัญซึ่งไม่มีความสำคัญ และเป็นเรื่องทีเกิดขึ้นเป็นประจำ เมื่อดำเนินการเสร็จแล้วให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่ากี่ปี
1. :6 เดือน
2. :1 ปี
3. :1 ปี 6 เดือน
4. :2 ปี:2
144: " ใต้ฝ่าละอองพระบาท" เป็นสรรพนามที่ไม่ใช้สำหรับ
1. :สมเด็จพระบรมราชินีนาถ
2. :สมเด็จพระบรมราชชนนี
3. :สมเด็จพระยุพราช
4. :สมเด็จพระบรมราชกุมารี:1
145: ข้อใดคือคำย่อของกระทรวงมหาดไทย
1. :มห.
2. :มท.
3. :มหท.
4. :มด.:2
146: ข้อใดคือคำขึ้นต้นและลงท้ายที่ใช้กับพระภิกษุสงฆ์ทั่วไป
1. :นมัสการ – ขอนมัสการด้วยความเคารพ
2. :กราบเรียน – กราบเรียนด้วยความเคารพ
3. :การนมัสการ – ขอแสดงความเคารพ
4. :นมัสการ - ขอแสดงความเคารพ:1
401:พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษาเมื่อใด และมีผลบังคับใช้เมื่อใด
1. :2 กุมภาพันธ์ 2537 มีผลบังคับใช้ 2 พฤษภาคม 2537
2. :2 มีนาคม 2537 มีผลบังคับใช้ 2 มีนาคม 2537
3. :2 พฤศจิกายน 2537 มีผลบังคับใช้ 2 พฤศจิกายน 2537
4. :2 ธันวาคม 2537 มีผลบังคับใช้ 2 มีนาคม 2538:4
402:พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล(ฉบับที่ 5) พ.ศ.2546 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อใด และมีผลบังคับใช้เมื่อไหร่
1. :2 กุมภาพันธ์ 2546 มีผลบังคับใช้ 2 พฤษภาคม 2546
2. :22 กุมภาพันธ์ 2546 มีผลบังคับใช้ 22 กุมภาพันธ์ 2546
3. :2 ธันวาคม 2546 มีผลบังคับใช้ 3 ธันวาคม 2546
4. :22 ธันวาคม 2546 มีผลบังคับใช้ 23 ธันวาคม 2546:4
403: บุคคลใดเป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหา รส่วนตำบล พ.ศ.2537
1. :รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
2. :ปลัดกระทรวงมหาดไทย
3. :ผู้ว่าราชการจังหวัด
4. :นายกรัฐมนตรี:1
404:ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับสภาตำบล
1. :มีฐานะเป็นนิติบุคคล เป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
2. :สมาชิกสภาตำบลทุกคนมาจากการเลือกตั้ง
3. :มีฐานะเป็นนิติบุคคล
4. :สมาชิกสภาตำบลมีหมู่บ้านละ 2 คน:3
405:บุคคลใดต่อไปนี้มิได้เป็นสมาชิกสภาตำบลโดยตำแหน่ง
1. :กำนัน
2. :ผู้ใหญ่บ้าน
3. :แพทย์ประจำตำบล
4. :สารวัตรกำนัน:4
406:ผู้ใดมีหน้าที่จัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาตำบล
1. :กำนัน
2. :นายอำเภอ
3. :ผู้ว่าราชการจังหวัด
4. :คณะกรรมการจัดการเลือกตั้ง (กกต.):2
407:สมาชิกสภาตำบล ซึ่งได้รับการเลือกตั้งมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละกี่ปี
1. :2 ปี นับจากวันที่ได้รับการแต่งตั้ง
2. :2 ปี นับแต่วันที่เลือกตั้ง
3. :4 ปี นับแต่วันที่ได้รับการแต่งตั้ง
4. :5 ปี นับแต่วันที่เลือกตั้ง:3
408:บุคคลใดเป็นประธานสภาตำบล
1. :กำนัน
2. :ผู้ใหญ่บ้านที่ได้รับการคัดเลือก
3. :สมาชิกสภาตำบลที่ได้รับคัดเลือก
4. :ไม่มีข้อใดถูกต้อง:1
409:บุคคลใดเป็นเลขานุการสภาตำบล
1. :กำนัน
2. :ผู้ใหญ่บ้านที่ได้รับการคัดเลือก
3. :สมาชิกสภาตำบลที่ได้รับคัดเลือก
4. :ข้าราชการที่ปฏิบัติงานในตำบลนั้นหรือบุคคลอื่นที่มีคุณสมบัติ และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายกำหนด:4
410:บุคคลใดเป็นผู้แต่งตั้งและถอดถอนเลขานุการสภาตำบล
1. :ประธานสภาตำบล
2. :สภาตำบล
3. :นายอำเภอตามมติของสภาตำบล
4. :ผู้ว่าราชการจังหวัด:3
411:การประชุมสภาตำบล ข้อใดถูกต้อง
1. :ให้มีการประชุมสภาตำบลไม่น้อยกว่าเดือนละ 1 ครั้ง
2. :ให้มีการประชุมเดือนละ 1 ครั้ง
3. :ให้มีการประชุมตามกำหนดสมัยประชุมที่สภาตำบลกำหนด
4. :ไม่มีข้อใดถูกต้อง:1
412:การยกฐานะ อบต. เป็นเทศบาล ต้องตราเป็นกฎหมายใด
1. :พระราชกฤษฎีกา
2. :พระราชบัญญัติ
3. :ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
4. :ประกาศกระทรวงมหาดไทย:4
413:ในการจัดตั้ง อบต. ข้อใดถูกต้อง
1. :สภาตำบลที่มีรายได้ไม่รวมเงินอุดหนุนในปีงบประมาณที่ล่วงมาติด ต่อกันสามปี เฉลี่ยไม่ต่ำกว่าปีละหนึ่งแสนห้าหมื่นบาท โดยทำเป็นประกาศของกระทรวงมหาดไทย
2. :สภาตำบลที่มีรายได้ไม่รวมเงินอุดหนุนในปีงบประมาณที่ล่วงมาติด ต่อกันสามปี เฉลี่ยไม่ต่ำกว่าปีละหนึ่งแสนบาท โดยทำเป็นประกาศของกระทรวงมหาดไทย
3. :สภาตำบลที่มีรายได้ไม่รวมเงินอุดหนุนในปีงบประมาณที่ล่วงมาติด ต่อกันสามปี เฉลี่ยไม่ต่ำกว่าปีละสองแสนห้าหมื่นบาท โดยทำเป็นประกาศของกระทรวงมหาดไทย
4. :สภาตำบลที่มีรายได้ไม่รวมเงินอุดหนุนในปีงบประมาณที่ล่วงมาติด ต่อกันสามปี เฉลี่ยไม่ต่ำกว่าปีละสองแสนบาท โดยทำเป็นประกาศของกระทรวงมหาดไทย:1
414:องค์การบริหารส่วนตำบล ประกอบด้วย
1. :คณะผู้บริหาร และสมาชิกสภา อบต.
2. :สภา อบต. และนายก อบต.
3. :สภา อบต. และผู้บริหาร
4. :คณะผู้บริหารและผู้บริหาร:2
415:ข้อต่อไปนี้ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. :ให้กระทรวงมหาดไทยดำเนินการประกาศยุบสภาตำบลทั้งหมดและ อบต. ใดที่มีจำนวนประชากรไม่ถึงสองพันคน โดยให้รวมพื้นที่เข้ากับ อบต. หรือหน่วยงานบริหารราชการส่วนท้องถิ่นที่มีเขตติดต่อกันภายในเข ตอำเภอเดียวกันภายในเก้าสิบวันนับแต่ที่มีเหตุดังกล่าว
2. :อบต. มีจำนวนประชากรทั้งหมดไม่ถึง 1,500 คน ให้กระทรวงมหาดไทยประกาศยุบรวมได้ทันที
3. :อบต. มีฐานะเป็นนิติบุคคลและเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
4. :อาจจัดตั้ง อบต. ขึ้นเป็นเทศบาลได้:2
416:สภาองค์การบริหารส่วนตำบล ประกอบด้วยสมาชิกตามข้อใด
1. :สมาชิกสภา อบต. จำนวนหมู่บ้านละ 1 คน
2. :สมาชิกสภา อบต. จำนวนหมู่บ้านละ 2 คน
3. :สมาชิกสภา อบต. ตำบลละ 12 คน
4. :สมาชิกสภา อบต. ตำบลละ 24 คน:2
417:ในเขต อบต. ที่มีจำนวนเพียง 1 หมู่บ้าน ให้มีสมาชิกสภา อบต. ได้กี่คน
1. :4 คน
2. :6 คน
3. :8 คน
4. :10 คน:2
418:ในเขต อบต. ที่มีจำนวนเพียง 2 หมู่บ้าน ให้มีสมาชิกสภา อบต. จำนวนหมู่บ้านละกี่คน
1. :3 คน
2. :4 คน
3. :6 คน
4. :8 คน:1
419:สมาชิกสภา อบต. มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละกี่ปี
1. :4 ปี
2. :6 ปี
3. : 8 ปี
4. :10 ปี:1
420:เขต อบต. มีจำนวน 11 หมู่บ้าน จะมีสมาชิกสภา อบต. ได้กี่คน
1. :11 คน
2. :12 คน
3. : 22 คน
4. : 24 คน:3
421:ข้อใดเป็นอำนาจหน้าที่ของสภา อบต.
1. :ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนา อบต. เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารกิจการของ อบต.
2. :พิจารณาให้ความเห็นชอบร่างข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล ร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี และร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม
3. :ควบคุมการปฏิบัติงานของนายก อบต. ให้เป็นไปตามกฎหมาย นโยบายและแผนพัฒนา อบต. ข้อบัญญัติ ระเบียบ และข้อบังคับของทางราชการ
4. :ถูกทุกข้อ:4
422: ข้อใดมิได้เป็นลักษณะต้องห้ามของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป ็นสมาชิกสภา อบต.
1. :เป็นพนักงานในบริษัทเสริมสุขจำกัด
2. :เป็นลูกจ้างของกรุงเทพมหานคร
3. :เคยถูกไล่ออกจากการเป็นพนักงานของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไ ทย
4. :อยู่ระหว่างการเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง:1
423:ในกรณีตำแหน่งประธานสภา อบต. ว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกครบวาระให้เลือกตั้งประธาน สภา อบต. ขึ้นแทนภายในกี่วัน นับแต่วันที่ตำแหน่งนั้นว่าง
1. :15 วัน
2. :30 วัน
3. :45 วัน
4. :60 วัน:1
424:การเลือกตั้งสมาชิกสภา อบต. ขึ้นแทนตำแหน่งที่ว่าง จะไม่เลือกขึ้นแทนหากวาระของสมาชิกสภา อบต. เหลืออยู่ไม่ถึงกี่วัน
1. :60 วัน
2. :90 วัน
3. :120 วัน
4. :180 วัน:4
425:การลาออกสมาชิกสภา อบต. ที่ทำให้สมาชิกภาพสิ้นสุดต้องเป็นการยื่นหนังสือลาออกต่อบุคคลใ ด
1. :นายก อบต.
2. :ประธานสภา อบต.
3. :ปลัด อบต.
4. : นายอำเภอ:4
426:ในกรณีที่สภา อบต. มีมติให้สมาชิกสภา อบต. คนใดคนหนึ่งออกจากตำแหน่ง เนื่องจากมีความประพฤติเสื่อมเสีย มติของสมาชิกสภา อบต. ดังกล่าวต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเท่าใด
1. :หนึ่งในสาม
2. : กึ่งหนึ่ง
3. :สองในสาม
4. : สามในสี่:4
427:บุคคลใดเป็นผู้แต่งตั้งประธานสภา อบต.
1. :นายอำเภอตามมติสภา อบต.
2. :ผู้ว่าราชการตามคำเสนอของนายอำเภอ
3. :อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
4. :ปลัดกระทรวงมหาดไทย:1
428:ในปีหนึ่ง กฎหมาย อบต. ได้กำหนดให้มีสมัยประชุมสามัญปีละกี่สมัย
1. :สองสมัย
2. :สองไม่เกินสามสมัย
3. :สองสมัยหรือหลายสมัยแล้วแต่สภา อบต. กำหนดแต่ไม่เกินสี่สมัย
4. :สี่สมัย:3
429:การประชุมสภา อบต. ครั้งแรก ต้องกำหนดให้สมาชิกได้มาประชุมภายในระยะเวลาใด นับแต่วันประกาศผลการเลือกตั้ง
1. :45 วัน
2. :30 วัน
3. :25 วัน
4. :15 วัน:4
430:การประชุมสภาสามัญสมัยหนึ่ง ๆ ของ อบต. มีกำหนดระยะเวลาไม่เกินกี่วัน
1. :90 วัน
2. :60 วัน
3. :30 วัน
4. :15 วัน:4
431:ในการประชุมสภา อบต. สมัยสามัญนั้น ถ้ามีความจำเป็นต้องขยายเวลาออกไปอีกจะต้องได้รับการอนุญาตจากบ ุคคลใด
1. :ผู้ว่าราชการจังหวัด
2. :นายอำเภอ
3. :นายก อบต.
4. :ประธานสภา อบต.:2
432:บุคคลใดเป็นผู้เรียกประชุมสภา อบต. ตามสมัยประชุม และเป็นผู้เปิดหรือปิดการประชุม
1. :ผู้ว่าราชการจังหวัด
2. :นายอำเภอ
3. :นายก อบต.
4. :ประธานสภา อบต.:4
433:ในกรณีที่ยังไม่มีประธานสภา อบต. หรือประธานสภา อบต. ไม่เรียกประชุมตามกฎหมาย บุคคลใดเป็นผู้เรียกและเป็นผู้เปิดหรือปิดการประชุม
1. : ผู้ว่าราชการจังหวัด
2. :นายอำเภอ
3. :นายก อบต.
4. :ประธานสภา อบต.:2
434:นอกจากสมัยประชุมสามัญแล้ว เมื่อเห็นว่าเป็นการจำเป็นเพื่อประโยชน์แก่ อบต. บุคคลใดสามารถทำคำร้องขอให้เปิดประชุมสมัยวิสามัญได้
1. :ประธานสภา อบต.
2. :นายก อบต.
3. :สมาชิกสภา อบต. จำนวนไม่ต่ำกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกสภา อบต. เท่าที่มีอยู่
4. :ถูกทุกข้อ:4
435:บุคคลใดเป็นผู้ประกาศเรียกประชุมสภาสมัยวิสามัญ
1. :ผู้ว่าราชการจังหวัด
2. :นายอำเภอ
3. :นายก อบต.
4. :ประธานสภา อบต.:2
436:องค์ประชุมสภา อบต. ต้องมีจำนวนไม่น้อยกว่าเท่าใด
1. :กึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกสภา อบต. ทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
2. :กึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกสภา อบต. ทั้งหมดในที่ประชุม
3. :เท่าใดก็ได้แล้วแต่ที่ประชุมตกลงกันเอง
4. :ไม่มีข้อใดถูกต้อง:2
437: ผู้ใดเป็นผู้มีอำนาจให้ความเห็นชอบกรณีที่ อบต. ทำกิจการนอกเขตสภา อบต. หรือกรณีร่วมกับสภาตำบล อบต. หรืออบจ. หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นอื่นเพื่อทำกิจการร่วมกัน ได้
1. : สภา อบต.
2. :นายก อบต. โดยมติสภา
3. :นายอำเภอ
4. :ผู้ว่าราชการจังหวัด:2
438: ผู้ใดเป็นผู้มีอำนาจสั่งให้สมาชิกสภา อบต. ซึ่งได้รับการเลือกตั้งพ้นจากตำแหน่งเมื่อสอบสวนแล้วปรากฎว่าขา ดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย หรือมิได้ประจำในหมู่บ้านที่ไดรับเลือกตั้งเป็นเวลาติดต่อกันเก ิน 6 เดือน หรือขาดประชุมสภา อบต. ติดต่อกันสามครั้ง โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร
1. :ประธานสภา อบต.
2. :นายก อบต. โดยมติสภา
3. :นายอำเภอ
4. :ผู้ว่าราชการจังหวัด:3
439: ข้อใดเป็นคุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภ า อบต.
1. :มีชื่อในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรในหมู่บ้า นของตำบลที่สมัครรับเลือกตั้งเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่าหนึ่ งปีนับจนถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง
2. :สัญชาติไทยโดยการเกิด
3. :มีอายุไม่ต่ำกว่ายี่สิบห้าปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
4. :ถูกทุกข้อ:4
440: บุคคลผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา อบต. ต้องมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขต อบต. ติดต่อกันเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่าเท่าใด นับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง
1. :สามเดือนจนถึงวันเลือกตั้ง
2. :หกเดือนจนถึงวันเลือกตั้ง
3. :หนึ่งปีจนถึงวันเลือกตั้ง
4. :ไม่มีข้อใดถูก:3
441: ในกรณีที่สมาชิกสภา อบต. พ้นจากตำแหน่งเพราะครบวาระ จะต้องจัดให้มีการเลือกตั้งขึ้นใหม่ภายในระยะเวลากี่วันนับแต่ว ันที่ครบวาระ
1. :15 วัน
2. :30 วัน
3. :45 วัน
4. :60 วัน:3
442: การบริหารงานในรูปแบบ อบต. นายก อบต. อาจแต่งตั้งรองนายก อบต. ได้ไม่เกินกี่คน
1. :1 คน
2. :2 คน
3. :3 คน
4. :4 คน:2
443: บุคคลใดเป็นผู้เสนอร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี
1. :นายก อบต.
2. :พนักงานส่วนตำบล
3. :สมาชิกสภา อบต.
4. :ราษฎรในเขต อบต. ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น:1
444: สมาชิกสภา อบต. จำนวนไม่น้อยกว่ากี่คน ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ มีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปในการประชุมสภา อบต. เพื่อให้นายก อบต. แถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในปัญหาเกี่ยวกับการบริหาร อบต. โดยไม่มีการลงมติ
1. :หนึ่งในสอง
2. : หนึ่งในสาม
3. :สามในสี่
4. :สองในสาม:2
445: บุคคลใดมีอำนาจสั่งให้มีการยุบสภา อบต. ได้ ตามกฎหมาย
1. :ผู้ว่าราชการจังหวัด
2. :นายอำเภอ
3. :นายก อบต.
4. :ประธานสภา อบต.:1
446: ข้อใดเป็นรายได้ที่ อบต.จัดเก็บเอง
1. :ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย อากรฆ่าจ๋าจ๊ะและค่าธรรมเนียมรวมถึงผลประโยชน์อื่นอันเกิดจากการ ฆ่าจ๋าจ๊ะ
2. :ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์และล้อเลื่อน ภาษีธุรกิจเฉพาะ
3. :ค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดิน
4. :ภาษีมูลค่าเพิ่ม:1
447: ข้อใดเป็นประเภทรายจ่ายของ อบต.ตามกฎหมาย
1. :เงินเดือนและค่าจ้างประจำ
2. :ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ
3. :ค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
4. :ถูกทุกข้อ:4
448: บุคคลใดมีหน้าที่กำกับดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของ อบต. ตามกฎหมายนี้
1. :ผู้ว่าราชการจังหวัด
2. :นายอำเภอ
3. :นายก อบต.
4. :ประธานสภา อบต.:2
449: ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายของ อบต. เมื่อสภา อบต. เห็นชอบแล้วต้องเสนอบุคคลใดเป็นผู้อนุมัติก่อน อบต. นำไปประกาศใช้
1. :ผู้ว่าราชการจังหวัด
2. :นายอำเภอ
3. :นายก อบต.
4. :ประธานสภา อบต.:2
450: ในกรณีที่สภา อบต. ไม่รับร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี นายอำเภอต้องแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อพิจาณณาหาข้อยุติความขัดแย ้งกี่คน
1. :10 คน
2. : 9 คน
3. :7 คน
4. :5 คน:3
451: องค์การบริหารส่วนตำบลจัดเป็นราชการบริหารส่วนใด
1. :ส่วนกลาง
2. :ส่วนภูมิภาค
3. :ส่วนท้องถิ่น
4. : ไม่มีข้อใดถูกต้อง:3
452: ข้อใดมิได้เป็นเงินรายได้ของ อบต.
1. :เงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรให้
2. :รายได้จากทรัพย์สินของ อบต.
3. :เงินค่าธรรมเนียมที่เก็บจากผู้มาพักโรงแรม
4. :เงินค่าบริการน้ำประปาแก่ประชาชน:3
453: ตามกฎหมายระบุให้นายก อบต. จะต้องจัดทำรายงานแสดงผลการปฏิบัติงานตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่ อสภา อบต. อย่างไร
1. :เป็นประจำทุกปี
2. :ปีละ 2 ครั้ง
3. :ทุกรอบ 4 เดือน
4. :ทุกรอบ 2 ปี:2
454: กฎหมายที่ออกเพื่อใช้บังคับในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล เรียกว่า
1. :ข้อบังคับตำบล
2. :ข้อบังคับองค์การบริหารส่วนตำบล
3. :ข้อบัญญัติตำบล
4. :ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล:4
455: ผู้อนุญาตให้ อบต. ดั๊น้เงินจากกระทรวง ทบวง กรม องค์การหรือนิติบุคคลต่างๆ ได้ คือ
1. :นายก อบต.
2. :สภา อบต.
3. :นายอำเภอ
4. :ผู้ว่าราชการจังหวัด:2
456: การประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบล มีกี่ประเภท
1. :1 ประเภท
2. : 2 ประเภท
3. : 3 ประเภท
4. :4 ประเภท:2
457: การกำหนดสมัยประชุมสามัญประจำปี ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. :ให้ทำเป็นคำสั่งองค์การบริหารส่วนตำบล
2. :ให้ทำเป็นประกาศองค์การบริหารส่วนตำบล
3. :ให้ทำเป็นข้อบังคับองค์การบริหารส่วนตำบล
4. :ให้ทำเป็นข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล:2
458: การจัดระเบียบวาระการประชุม โดยปกติจัดลำดับการพิจารณาข้อปรึกษาในอันดับก่อนหลังดังนี้
1. :รับรองรายงานการประชุม , เรื่องด่วน , ญัตติร่างข้อบัญญัติที่ค้างพิจารณา , ญัตติร่างข้อบังคับที่เสนอใหม่ , ญัตติอื่นๆ
2. :เรื่องด่วน , ญัตติร่างข้อบัญญัติที่ค้างพิจารณา , ญัตติร่างข้อบังคับที่เสนอใหม่ , ญัตติอื่นๆ , รับรองรายงานการประชุม
3. :ญัตติร่างข้อบัญญัติที่ค้างพิจารณา , ญัตติร่างข้อบังคับที่เสนอใหม่ , เรื่องด่วน , ญัตติอื่นๆ , รับรองรายงานการประชุม
4. :เรื่องด่วน , ญัตติร่างข้อบังคับที่เสนอใหม่ , ญัตติอื่นๆ , รับรองรายงานการประชุม , ญัตติร่างข้อบัญญัติที่ค้างพิจารณา:1
459: การเสนอญัตติร่างข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบลข้อใด ถูกต้อง
1. :การเสนอญัตติร่างข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบลอื่นๆ ต่อประธานสภา อบต. จะต้องมีสมาชิกสภา อบต. รับรองอย่างน้อย 2 คน
2. :การเสนอญัติร่างข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบลใด ถ้าคณะผู้บริหาร อบต. เป็นผู้เสนอไม่ต้องมีผู้รับรอง
3. :ถ้าสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นผู้เสนอร่างข้อบังคับตำ บลเกี่ยวด้วยการเงินต้องให้นายก อบต. รับรอง
4. :ถูกทุกข้อ:4
460: ในการพิจารณาข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีหรือร่างข้อบัญญั ติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม สภา อบต. ต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จภายกี่วัน นับแต่วันที่ได้รับร่างข้อบัญญัตินั้น
1. :15 วัน
2. :30 วัน
3. :45 วัน
4. :60 วัน:4
461: หากปรากฏว่านายก อบต. รองนายก อบต. ประธานสภา อบต. หรือรองประธานสภา อบต. กระทำการฝ่าฝืนต่อความสงบเรียบร้อยหรือสวัสดิภาพของประชาชน หรือละเลยไม่ปฏิบัติตามหรือปฏิบัติไม่ชอบด้วยอำนาจหน้าที่ บุคคลใดดำเนินการสอบสวนได้
1. :นายอำเภอ
2. :ผู้วาราชการจังหวัด
3. :ปลัดกระทรวงมหาดไทย
4. :อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น:1
462: ในกรณีที่นายก อบต. ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองนายก อบต. ตามลำดับที่นายก อบต. แต่งตั้งไว้ เป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มีรองนายก หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้บุคคลใดเป็นผู้รักษาราชการแทน
1. :แต่งตั้งปลัด อบต. เป็นผู้รักษาราชการแทน
2. :แต่งตั้งพนักงานส่วนตำบลเป็นผู้รักษาราชการแทน
3. :แต่งตั้งประธานสภาเป็นผู้รักษาราชการแทน
4. :แต่งตั้งสมาชิกสภา อบต. คนหนึ่งเป็นผู้ว่าราชการแทน:1
463: ในเขต อบต. บุคคลใดมีอำนาจเปรียบเทียบปรับคดีละเมิดข้อบัญญัติ
1. :ประธานสภา อบต.
2. :สมาชิกสภา อบต.
3. :นายก อบต.
4. :เลขานุการสภา อบต.:3
464: บุคคลใดเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานส่วนตำบลและลูกจ้าง อบต.
1. :นายก อบต.
2. :ประธานสภา อบต.
3. :ปลัด อบต.
4. :รองนายก อบต.:1
465: กรณีใดดังต่อไปนี้ ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการพ้นจากตำแหน่งของนายก อบต.
1. :ลาออก โดยยื่นหนังสือลาออกต่อนายอำเภอ
2. :ถูกคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก
3. :ผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งให้พ้นจากตำแหน่ง เพราะกระทำการฝ่าฝืนต่อความสงบเรียบร้อยหรือสวัสดิภาพของประชาช น
4. :นายอำเภอสั่งให้พ้นจากตำแหน่ง เพราะละเลยไม่ปฏิบัติตามหรือปฏิบัติการไม่ชอบด้วยกฎหมาย:4
466: ก่อนนายก อบต. เข้ารับหน้าที่ให้ประธานสภา อบต. เรียกประชุมสภา อบต. เพื่อให้นายก อบต. แถลงนโยบายต่อสภา อบต. โดยไม่มีการลงมติภายในกี่วัน นับแต่วันประกาศผลการเลือกตั้งนายก อบต.
1. :15 วัน
2. :20 วัน
3. :30 วัน
4. :45 วัน:3
467: ข้อใดต่อไปนี้ คือคุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นนายก อบต.
1. :มีอายุไม่ต่ำกว่า 30 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
2. :สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือเคยเป็นสมาชิกสภาตำบล สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น หรือสมาชิกรัฐสภา
3. :ไม่เป็นผู้มีพฤติกรรมในทางทุจริต หรือพ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาตำบล สมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถิ่น หรือเลขานุการหรือที่ปรึกษาของผู้บริหารท้องถิ่น เพราะเหตุที่มีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาหร ือกิจการที่กระทำกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังไม่ถึงห้าปีนับ ถึงวันรับสมัครเลือกตั้ง
4. :ถูกทุกข้อ:4
468: นายก อบต. มีที่มา ตามขอใด
1. :มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน
2. :มาจากการแต่งตั้งของนายอำเภอ
3. :มาจากการเลือกตั้งโดยอ้อมของสมาชิกสภา อบต.
4. :มาจากการแต่งตั้งโดยตรงของสมาชิกสภา อบต.:1
469: บุคคลที่มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภา อบต. จะต้องมีอายุไม่ต่ำกว่าเท่าไหร่
1. :18 ปีบริบูรณ์ในวันที่ 1 มกราคมของปีที่มีการเลือกตั้ง
2. :18 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
3. :20 ปีบริบูรณ์ในวันที่ 1 มกราคมของปีที่มีการเลือกตั้ง
4. :20 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง:1
470: ในกรณีที่สภา อบต. ส่งร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีของ อบต. ให้นายอำเภออนุมัติ แต่ปรากฏล่วงเลยมา 20 วัน แล้วยังไม่มีคำตอบ จากนายอำเภอ ข้อบัญญัติดังกล่าวจะมีผลอย่างไร
1. :ให้ถือว่านายอำเภออนุมัติร่างข้อบัญญัติดังกล่าว
2. :สภา อบต. ทวงถามขอส่งร่างข้อบัญญัตินั้นคืนมาให้สภาทบทวน
3. :ร่างข้อบัญญัตินั้นเป็นอันตกไป
4. :สภา อบต. นำร่างข้อบัญญัตินั้นมาทบทวนถ้ายืนยันตามร่างเดิมด้วยคะแนนเสีย งไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของสมาชิกสภา อบต. เท่าที่มีอยู่ให้ส่งให้นายก อบต.ประกาศใช้ข้อบัญญัตินั้นได้เลย:1
471: ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการตั้งกระทู้ถามในการประชุมสภา อบต.
1. :กระทู้ถามไม่มีการอภิปรายและไม่มีการลงมติ
2. :ห้ามไม่ให้สมาชิกสภา อบต. ตั้งกระทู้ถามกันเอง
3. :คณะผู้บริหารจะต้องตอบกระทู้กระทู้ถามนั้นทุกครั้ง
4. :กระทู้ถามต้องทำเป็นหนังสือเสนอล่วงหน้าต่อประธานสภา อบต.:3
472: การกำหนดสมัยประชุมสามัญเพื่อพิจารณาร่างข้อบัญญัติงบประมาณราย จ่ายประจำปี ต้องพิจารณาในเดือนใด
1. :กุมภาพันธ์
2. :มิถุนายน
3. :สิงหาคม
4. :แล้วแต่สภา อบต. กำหนด:3
473: กรณีที่สภา อบต. ไม่รับหลักการร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่เสนอจะต้ องดำเนินการอย่างไร
1. :นายก อบต.ต้องพ้นจากตำแหน่ง
2. :นายก อบต. แต่งตั้งคณะกรรมการ เพื่อพิจารณาหาข้อยุติความขัดแย้ง โดยการแก้ไขปรับปรุงในข้อบัญญัตินั้น
3. :นายอำเภอประกาศยุบสภาให้มีการเลือกตั้งใหม่
4. :นายอำเภอแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อพิจารณาหาข้อยุติความขัดแย้ง โดยการแก้ไขปรับปรุงในข้อบัญญัตินั้น:4
474: ข้อบัญญัติขององค์การบริหารส่วนตำบล ที่มีการกำหนดค่าธรรมเนียมเรียกเก็บได้ จะกำหนดโทษปรับสำหรับผู้ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามข้อบัญญัติได้ไม่เก ินกี่บาท
1. :500 บาท
2. : ไม่เกิน 500 บาท
3. :1,000 บาท
4. : ไม่เกิน 1,000 บาท:
สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

[font=arial                              ]ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 

ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

สามารถอัพโหลดไฟล์แนบ สำหรับโพสได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้