107. สมรรถนะ
มีระดับความรู้ความสามารถ 5 ระดับ คือ
1. Knowledge รู้ เข้าใจ ทำได้ในเบื้องต้น
2. Comprehension เข้าใจลึกซึ้ง
จับหลักการสรุปประเด็นสำคัญได้
3. Application ประยุกต์ใช้ได้
4. Analysis & Synthesis วิเคราะห์ สังเคราะห์ได้
5. Evaluation ประเมินคุณค่า
ประเมินทางเลือกจัดทำนโยบายเชิงป้องกันได้
108. กรมการพัฒนาชุมชน
นำสมรรถนะมาใช้ในการบริหารงาน ในด้าน
1. การพัฒนาทรัพยากรบุคคล 2. การสรรหาและคัดเลือกบุคคล
3. การวางแผนก้าวหน้าทางอาชีพ 4. การให้ผลตอบแทน 5. การประเมินผล
109. ระบบบริหารจัดการงบประมาณมีดังนี้ 1. ระบบ GFMIS 2. ระบบ PART
110. ระบบ GFMIS(Government Fiscal Management
Information System) คือ โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารงานการเงิน
การคลังภาครัฐให้มีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพ
โดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ เพื่อปรับการดำเนินงาน
ด้านงบการบัญชี
การพัสดุและการบริหารทรัพยากรบุคคล
111. ระบบ
GFMIS มีประโยชน์ ดังนี้
1. เป็นเครื่องมือสำหรับ CFO ในการบริหารข้อมูลด้านการเงิน
การคลัง
2. ลดเวลาในการจัดทำรายงานฯ
การปิดบัญชีประจำวัน/เดือน/ปี
3. เพิ่มประสิทธิภาพในการวางแผน
บริหารและติดตามการรับจ่ายเงิน
4. รองรับการปฏิบัติงานในระบบบัญชีแบบเกณฑ์คงค้างและการบริหารต้นทุนการผลิต
5. เกิดความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง
6. ลดเอกสารและระยะเวลาในการรับจ่ายเงิน 7. มีข้อมูลการเงิน การคลัง
เพื่อติดตามตรวจสอบทั้งลักษณะและข้อมูลสะสมย้อนหลัง
112. ระบบPART ( Performance Assessment Rating Tool) คือ
เครื่องมือการวิเคราะห์และประเมินความสำเร็จในการใช้
งบประมาณ
113. กรมฯกำหนดให้พัฒนาการอำเภอมีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ในระดับ ใช้
internet และสามารถส่ง E-mail ได้
114. วันสื่อสารแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 4 สิงหาคม ของทุกปี
-12-
115. สัปดาห์ต่อต้านยาเสพติดแห่งชาติ
ตรงกับวันที่26 มิถุนายน – 2 กรกฎาคม
116. สัปดาห์รณรงค์ซ่อมสร้างภาชนะเก็บน้ำสะอาด
ตรงกับวันที่ 7 – 14 มกราคม ของทุกปี
117. วันเทคโนโลยีไทย ตรงกับวันที่ 19 ตุลาคม ของทุกปีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นบิดาแห่งเทคโนโลยีของไทย
118. ชื่อเว็บไซด์ ของกรมพัฒนาชุมชนคือ WWW.Cdd.go.th.
119. E – mail หมายถึง การส่งจดหมายอีเลคโทรนิคส์ ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์
120.Thailand International P.S.O. คือ ระบบมาตรฐานสากลของประเทศไทยด้านการจัดการและสัมฤทธิ์ผลของงานภาครัฐ
121. Thailand
International P.S.O. มี 10 ระบบ คือ 1. ระบบข้อมูล 2. ระบบการสื่อสาร
3. ระบบการตัดสินใจ 4. ระบบการพัฒนาบุคลากร 5. ระบบการตรวจสอบถ่วงดุล
6. ระบบการมีส่วนร่วม 7. ระบบการบริการภาคเอกชน ประชาชน 8.
ระบบการประเมินผล
9. ระบบการคาดคะเนและแก้ไขวิกฤติ 10.ระบบวัฒนธรรมและจรรยาวิชาชีพ
122. P.S.O.
และ I,S.O. แตกต่างกัน ดังนี้ P.S.O. เน้นสัมฤทธิ์ผลของภาคราชการทั้งระบบ I.S.O. เน้นองค์กรภาคเอกชนเฉพาะ
องค์การ
123. ครม. มีมติเห็นชอบให้ ก.พ. ดำเนินการระบบ P.S.O. เมื่อวันที่ 27 ต.ค. 2541
124. กรมฯได้ทำข้อตกลงกับสถาบันพัฒนามาตรฐานสากลภาครัฐแห่งประเทศไทย ในเรื่อง P.S.O.1101:ระบบข้อมูล และ
P.S.O.1106 :ระบบการมีส่วนร่วม
125. กรมฯ มอบให้สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดดำเนินกิจกรรมตามระบบ P.S.O.
คือ ระบบ 5 ส. ได้แก่ สะสาง :สะดวก :
สะอาด :สุขลักษณะ :สร้างนิสัย
126. แผนพัฒนาฯฉบับที่ 9 มุ่งเป้าหมายเพื่อสร้างสังคมเข้มแข็ง มีดุลยภาพ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืนและมีความอยู่ดีมีสุข
127. พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แบ่งส่วนราชการเป็น3 ส่วน คือ
1.ส่วนราชการส่วนกลาง 2.ส่วนราชการส่วนภูมิภาค 3. ส่วนราชการส่วนท้องถิ่น
128. สำนักนายกรัฐมนตรี มีฐานะเทียบเท่ากระทรวง
129. การมอบอำนาจ ตาม พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มี 2วิธี คือ
ปฏิบัติราชการแทน และ
รักษาราชการแทน
130. การปฏิบัติราชการแทน ใช้ในกรณี
1. เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชน ความรวดเร็วในการปฏิบัติราชการ 2. เพื่อกระจายความรับผิดชอบตามสภาพของตำแหน่งของผู้รับมอบอำนาจ
131. ผู้ดำรงตำแหน่งนั้น อาจมอบอำนาจให้ ผู้ดำรงตำแหน่งอื่นปฏิบัติราชการแทนได้ยกเว้น
ม. 38(9) ก็ได้
2. หัวหน้าส่วนราชการประจำอำเภอ มอบอำนาจให้หัวหน้าส่วนประจำกิ่งอำเภอไม่ได้
132. การรักษาราชการแทน ใช้ในกรณี 1. ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่ง 2. มีผู้ดำรงตำแหน่งแต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้
-13-
133. พัฒนาการอำเภอไม่อยู่
หรืออยู่แต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้ดำเนินการแต่งตั้งนักพัฒนาชุมชน 6 รักษาราชการแทน
โดยผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้แต่งตั้งตามที่อธิบดีฯ
มอบอำนาจ ตาม ม.38(7)
134. การรักษาการในตำแหน่งเป็นไปตาม พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 กรณี
1. ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่ง 2. มีผู้ดำรงตำแหน่ง
แต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้และไม่ได้บัญญัติเรื่องการมอบอำนาจ ไว้ใน
ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
135. การจัดตั้ง ยุบหรือเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัด ให้ตราเป็นพระราชบัญญัติ
136. การจัดตั้ง ยุบหรือเปลี่ยนแปลงเขตอำเภอ ให้ตราเป็น พระราชกฤษฎีกา
137. นายสมชายได้รับคำสั่งกรมฯ ให้ไปบรรจุที่ อ.สีคิ้ว จ.นครราชสีมา เมื่อไปรายงานตัวที่ สพจ.นครราชสีมา
ได้รับคำสั่ง
จังหวัดให้ไปปฏิบัติราชการที่ สพอ. โชคชัย เมื่อนายสมชาย ได้เดินทาง ไปรายงานตัวที่ อ.โชคชัย ให้ถือภูมิลำเนาราชการ
ครั้งแรกของนายสมชาย อยู่ที่ไ สพอ.โชคชัย
138. วันสิ่งแวดล้อมโลก ตรงกับวันที่ 5 มิถุนายน
ของทุกปี โดยมี คำขวัญว่า“เชื่อมโยงโลกกว้างช่วยสร้างสานสายใยชีวิต”
139. ข้าราชการพลเรือน ตามพ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน
พ.ศ. 2535 มี 3 ประเภท คือ
1.ข้าราชการพลเรือนสามัญ
2.ข้าราชการพลเรือนในพระองค์ 3.ข้าราชการประจำต่างประเทศพิเศษ
140. ข้าราชการพลเรือนต้องไม่เป็นโรคต้องห้ามตามกฎ ก.พ. ฉบับที่
3 ประกอบด้วย 1.
โรคเรื้อน
2. วัณโรค 3.โรคเท้าช้าง 4. ยาเสพติด 5.โรคพิษสุราเรื้อรัง
141.มาตรฐานการกำหนดตำแหน่งของ
ก.พ. ตาม พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มีดังนี้
ระดับ 6 เป็นตำแหน่งสำหรับ หัวหน้าหน่วยงานเทียบเท่ากอง
142. ผู้ว่าราชการจังหวัด มีอำนาจสั่งบรรจุแต่งตั้ง ตามมาตรา 52 แห่ง พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 ข้าราชการ
พลเรือนตั้งแต่ระดับ 7
ซึ่งมิใช่หัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัดลงมา (ในส่วนภูมิภาค)
143. ตามกฎ ก.พ. ฉบับที่ 10 จะเลื่อนขั้นเงินเดือนข้าราชการบรรจุใหม่ 2. มีเวลาปฏิบัติราชการมาเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 8 เดือน ได้ 1
ขั้น
144.โทษทางวินัย
มี 5 สถาน ได้แก่ ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน
ลดขั้นเงินเดือน ปลดออก ไล่ออก
145. พัฒนาการอำเภอ/พัฒนาการจังหวัด มีอำนาจลงโทษข้าราชการที่กระทำผิด ดังนี้ ความผิดไม่ร้ายแรง 1. ภาคทัณฑ์ 2. ตัดเงินเดือน ไม่เกิน
5% ไม่เกิน 1 เดือน/ครั้ง
146. หัวหน้าส่วนราชการสูงกว่ากอง
(ระดับ 9) มีอำนาจลงโทษข้าราชการ ดังนี้
ความผิดไม่ร้ายแรง 1. ภาคทัณฑ์ 2. ตัดเงินเดือน
ไม่เกิน 5% ไม่เกิน 2 เดือน/ครั้ง
147. ผู้ว่าราชการจังหวัด/อธิบดี/ปลัดกระทรวงมีอำนาจลงโทษข้าราชการ ดังนี้
ความผิดไม่ร้ายแรง 1. ภาคทัณฑ์ 2. ตัดเงินเดือน ไม่เกิน 5% ไม่เกิน 3 เดือน/ครั้ง
3. ลดขั้นเงินเดือน ไม่เกิน 1 ขั้น
148. ข้าราชการที่ถูกลงโทษความผิดร้ายแรง (ปลดออก,ไล่ออก) และ
มีประสงค์อุทธรณ์ ต้องยื่นอุทธรณ์ ภายใน 30
วัน
นับแต่วันรับทราบคำสั่ง
-14-
149. จรรยาบรรณของข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2537 มีดังนี้
- จรรยาบรรณต่อตนเอง
1. มีศีลธรรม ประพฤติตนเหมาะสม 2. ซื่อสัตย์ไม่แสวงหาผลประโยชน์
3. มีทัศนะคติที่ดี พัฒนาตนเอง
- จรรยาบรรณต่อหน่วยงาน
1. สุจริต เสมอภาค
ปราศจากอคติ 2. เต็มกำลัง รอบคอบ ขยันถูกต้องสมเหตุสมผล
3. ตรงต่อเวลา 4.ใช้ทรัพย์สินราชการอย่างประหยัด
5. ระมัดระวังมิให้เสียหาย
- จรรยาบรรณต่อผู้บังคับบัญชา
เพื่อนร่วมงาน
- จรรยาบรรณต่อประชาชน
และสังคม
1. ให้การบริการเอื้อเฟื้อมีนน้ำใจ สุภาพ อ่อนโยน 2. เป็นที่เชื่อถือของบุคคลทั่วไป
3. ละเว้นการรับทรัพย์เกินกว่าปกติวิสัย
150. กระทรวงมหาดไทย กำหนดจรรยาบรรณมหาดไทย เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2535 ไว้ดังนี้
1. ความสุจริต (ทางกาย ทางวาจา
ทางใจ)
2. ความถูกต้อง (ตามหลักวิชาการ, ตามหลักกฏหมาย)
3. ความถูกต้องตามหลักความชอบธรรม (ทศพิธราชธรรม อันได้แก่ ทาน
ศีล บริจาคะ อาชชวะ มัททวะ
ตะบะ อักโกรธะ
อวิหิงสา ขะขันติ อวิโรธนะ)
151. การลา ตามระเบียบฯว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ.2535 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่
2) พ.ศ.2539
มี 9 ประเภท ได้แก่
1. ลาป่วย 2. ลากิจส่วนตัว 3. ลาคลอดบุตร 4. ลาพักผ่อน
5. ลาอุปสมบท 6. ลาตรวจเลือก/ระดมพลทหาร 7. ลาศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน 8. ลาไปปฏิบัติงานองค์การระหว่างประเทศ
9. ลาติดตามคู่สมรส
152. การลาป่วย ลาได้ดังนี้
2. ลา 30 วันขึ้นไป ต้องมีใบรับรองแพทย์ (ไม่ถึง 30 วัน
ขึ้นอยู่กับผู้บังคับบัญชา)
153. การลากิจส่วนตัว ลาได้ดังนี้154. ลาคลอดบุตร ลาได้ไม่เกิน 90 วัน (นับจากวันเริ่มลาทุกวันแม้วันหยุด)
155. ลาอุปสมบท/พิธีฮัจย์ ไม่เกิน
120 วัน
ส่งใบลาก่อนวันบวช/วันไป ไม่น้อยกว่า 60 วัน ต่อปลัดกระทรวง
156. ลาศึกษาต่อ ฝึกอบรม ดูงาน/ลาไปปฏิบัติงานองค์การระหว่างประเทศ/ลาติดจามคู่สมรส ลาได้ไม่เกิน
4 ปี
157. พัฒนาการอำเภอ หัวหน้าฝ่าย (ระดับ 7) มีอำนาจอนุญาตให้ข้าราชการทุกตำแหน่งในฝ่าย
ลาป่วยครั้งที่หนึ่งไม่เกิน 30 วัน
ลากิจส่วนตัวครั้งหนึ่งไม่เกิน 15 วัน
-15-
158. นายอำเภอ/ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอมีอำนาจให้ข้าราชการทุกตำแหน่งในส่วนราชการ
ลาได้ดังนี้
159. ผู้ว่าราชการจังหวัด
มีอำนาจให้ข้าราชการในสังกัด ลาได้ ดังนี้
1.ลาป่วย 120 วัน , ลากิจ 45 วัน 160 การลาพักผ่อนมีแนวทางการดำเนินการ ดังนี้
2. ลาได้ 10 วัน/ปี
3. ลาสะสมได้ไม่เกิน 20 วัน/ปี เว้นแต่รับราชการ 10 ปี
มีวันลาสะสมได้ไม่เกิน 30 วัน
161. การนับวันลาตามระเบียบนี้ ให้นับตามปีงบประมาณ
162. การลากิจส่วนตัว, ลาพักผ่อน และลาป่วย
ที่มิใช่ลาป่วยตามกฎหมายว่าด้วยการสงเคราะห์ข้าราชการ
ผู้ได้รับอันตราย
หรือการเจ็บป่วยเพราะเหตุปฏิบัติราชการ ให้นับเฉพาะวันทำการ
163. การขออนุญาตไปต่างประเทศซึ่งอยู่ติดเขตแดนประเทศไทย
ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอำเภอใน
ท้องที่ที่มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศใด
มีอำนาจอนุญาตให้ข้าราชการในราชการบริหารส่วนภูมิภาค
ในสังกัดจังหวัด
หรืออำเภอนั้น ๆ ไปประเทศนั้นได้ โดย -
ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำนาจอนุญาตได้ครั้งหนึ่งไม่เกิน 7 วัน
-นายอำเภอมีอำนาจอนุญาตได้ครั้งหนึ่งไม่เกิน
3 วัน
164. การนับวันลา เพื่อประโยชน์ในการเสนอและจัดส่งใบลา
และอนุญาตให้ลาสำหรับการลาทุกประเภท
จะต้องวันต่อเนื่องกัน แต่ถ้าเพื่อประโยชน์ในการคำนวณให้นับตามข้อ ๙๗
165. การลาอุปสมบทหรือการลาไปประกอบพิธีฮัจย์ โดยปกติให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชา
ตามลำดับ
จนถึงผู้มีอำนาจพิจารณาหรืออนุญาตก่อนวันลาอุปสมบทหรือก่อนวันเดินทางไปประกอบ
พิธีฮัจย์ไม่น้อยกว่า 60 วัน แต่ถ้ามีเหตุพิเศษไม่อาจเสนอหรือจัดส่งใบลาได้
ให้ชี้แจงเหตุผลความ
จำเป็นประกอบการลา
และให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้มีอำนาจที่จะพิจารณาให้ลาหรือไม่ก็ได้
166.ข้าราชการที่ได้รับหมายเรียกเข้ารับการตรวจเลือกให้รายงานการลาต่อผู้บังคับบัญชาก่อนวันเข้ารับ
การตรวจเลือกไม่น้อยกว่า 48 ชั่วโมง
167. ข้าราชการทีได้รับหมายเรียกเข้ารับการเตรียมพล ให้รายงานต่อผู้บังคับบัญชาภายใน
48 ชั่วโมง
นับแต่เวลารับหมายเรียกเป็นต้นไป
168. การลาตามข้อ166,167
ข้าราชการผู้นั้นให้ไปเข้ารับการตรวจเลือก หรือเข้ารับการเตรียมพล
ตามวัน
เวลาในหมายเรียกนั้น โดยไม่ต้องรอรับคำสั่งอนุญาต
169. การลาติดตามคู่สมรส ข้าราชการซึ่งประสงค์จะลาให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชา
ตามลำดับ
จนถึงปลัดกระทรวง หรือหัวหน้าส่วนราชการชั้นตรงแล้วแต่กรณี เพื่อพิจารณาอนุญาตให้
ลาได้ไม่เกิน 2 ปี
และในกรณีจำเป็น อาจอนุญาตให้ลาต่อได้อีก 2 ปี ถ้าเกิน 4 ปี ให้ลาออกจาก
ราชการ
-16-
170. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ
“การพัสดุ”
หมายความว่า การจัดทำเอง การซื้อ การจ้าง การจ้าที่ปรึกษา
การจ้างออกแบบและควบคุมงาน
การแลกเปลี่ยน การเช่าการควบคุม การจำหน่าย การดำเนินการอื่นที่กำหนดไว้ในระเบียบ
171. “พัสดุ” หมายความ วัสดุครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
172. “หัวหน้าส่วนราชการ” หมายถึง
-สำหรับราชการบริหารส่วนกลาง หมายถึง
อธิบดีหรือหัวหน้าส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและ
มีฐานะเป็นนิติบุคคล
-สำหรับราชการส่วนภูมิภาค หมายถึง ผู้ว่าราชการจังหวัด
173. “หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ”
หมายถึง หัวหน้าหน่วยงานระดับกองหรือที่มีฐานะเทียบเท่ากอง
ซึ่งปฏิบัติงานในสายงานที่เกี่ยวกับพัสดุ
ตามองค์กรกลางบริหารงานบุคคลกำหนด หรือข้าราชการอื่น
ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการให้เป็นหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ
แล้วแต่กรณี
174. “เจ้าหน้าที่พัสดุ” หมายถึง
เจ้าหน้าที่ซึ่งดำรงตำแหน่งที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการพัสดุ หรือผู้ได้รับ
แต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการให้มีหน้าที่หรือปฏิบัติงานเกี่ยวกับการพัสดุ
175. การซื้อหรือการจ้างกระทำได้ 6 วิธี คือ 1) วิธีตกลงราคา
คือการซื้อหรือการจ้างครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาไม่เกิน 100,000
บาท
2) วิธีสอบราคา
คือการซื้อหรือการจ้างครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาเกิน 100,000 บาท แต่ไม่เกิน
2,000,000 บาท 3) วิธีประกวดราคา
คือการซื้อหรือการจ้างครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาเกิน 2,000,000 บาท
4) วิธีพิเศษ
5) วิธีกรณีพิเศษ
176. โดยปกติคณะกรรมการที่ดำเนินการตามระเบียบฯ ประกอบด้วยประธานกรรมการ 1 คน และ
กรรมการอย่างน้อย
2 คน โดยปกติให้แต่งตั้งจากข้าราชการระดับ 3 หรือเทียบเท่าขึ้นไป ในกรณี
จำเป็นหรือเพื่อประโยชน์ของทางราชการ
จะแต่งตั้งบุคคลที่มิใช่ข้าราชการร่วมเป็นกรรมการก็ได้
177. การซื้อหรือการจ้างในวงเงินไม่เกิน 10,000 บาท จะแต่งตั้งข้าราชการหรือลูกจ้างประจำคนหนึ่ง
ซึ่งไม่ใช่ผู้จัดซื้อหรือจัดจ้างเป็นผู้ตรวจรับพัสดุหรืองานจ้าง
โดยให้ปฏิบัติหน้าที่เช่นเดียวกับ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
178. การซื้อหรือการจ้างโดยวิธีตกลงราคา
ในกรณีจำเป็นและเร่งด่วนถ้าเกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดหมายไว้
ก่อนและไม่อาจดำเนินการตามปกติได้ทัน
ให้เจ้าหน้าที่พัสดุหรือเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการปฏิบัติ
ราชการนั้นดำเนินการไปก่อนแล้วรีบรายงานของความเป็นชอบต่อหัวหน้าส่วนราชการ
และเมื่อ
หัวหน้าส่วนราชการให้ความเป็นชอบแล้ว
ให้ถือว่ารายงานดังกล่าวเป็นหลักฐานการตรวจรับโดย
อนุโลม
179. การซื้อหรือการจ้างโดยวิธีสอบราคา ก่อนวันเปิดซองสอบราคาไม่น้อยกว่า ๑๐วัน สำหรับการสอบ
ราคาในประเทศ
หรือไม่น้อยกว่า ๔๕ วัน สำหรับการสอบราคานานาชาติ ให้เจ้าหน้าที่พัสดุส่ง
-17-
ประกาศเผยแพร่การสอบราคาและเอกสารสอบราคาไปยังผู้มีอาชีพขายหรือรับจ้างทำงานนั้น
โดยตรง
หรือโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้กับปิดประกาศไว้โดยเปิดเผย
ณ ส่วนราชการนั้น
180. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับ 6 พ.ศ. 2544
181. ผู้รักษาการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ
พ.ศ. 2535คือ ปลัดกระทรวงการคลัง
182. หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุและเจ้าหน้าที่พัสดุ
ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้แต่งตั้งในระดับภูมิภาค
183. คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ (กวพ.) ประกอบด้วยปลัดกระทรวงการคลัง เป็นประธานกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิ ไม่เกิน 5 คน
มีวาระคราวละ 2 ปี
184. การตรวจสอบพัสดุประจำปี ดำเนินการ
ก่อนสิ้นเดือนกันยายนทุกปี
ให้หัวหน้าส่วนราชการหรือหัวหน้าหน่วยงาน
แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ในส่วนราชการ
ซึ่งไม่ใช่เจ้าหน้าที่พัสดุคนหนึ่ง หรือหลายคนตามความจำเป็น เพื่อตรวจสอบการจ่าย
พัสดุ งวดตั้งแต่วันที่ 1
ตุลาคม ปีก่อน จนถึงวันที่
30 กันยายน ปีปัจจุบัน
185. จรรยาบรรณมหาดไทย
มีที่มาจาก
พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่พระราชทานแก่ข้าราชการ
กระทรวงมหาดไทย เนื่องในโอกาสที่กระทรวงมหาดไทย สถาปนาครบ
100 ปี
186. เหตุผลที่ไม่ให้สิทธิข้าราชการที่กระทำผิดในการอุทธรณ์คือ ความผิดปรากฏชัดแจ้ง
187. ผู้บังคับบัญชาสามารถพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชาได้โดยวิธีการ 1. สอนแนะงาน 2.
การฝึกอบรม 3. การมอบหมายงาน
188. การยืมเงินทดรองไปราชการ ต้องส่งหลักฐานใช้คืนเงินยืมภายใน 15
วัน หลังจากกลับจากราชการแล้ว
189. ข้าราชการ ซี 5
และพนักงานขับรถยนต์ไปราชการด้วยกัน
ระหว่างทางแบตเตอรี่เสีย
และได้จัดซื้อเปลี่ยนใหม่ เมื่อกลับมา
ใคร เป็นผู้ตรวจรับ
ตอบ ไม่ต้องตรวจรับ
โดยให้จัดทำเป็นบันทึกรายงานผู้บังคับบัญชาทราบเสมือนการตรวจรับ และแนบเบิกจ่ายพร้อม
รายงานการเดินทาง
190. ตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสาร ข้อมูลที่ไม่ต้องเปิดเผยคือ
ข้อมูลที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศและต่อ
สถาบันพระมหากษัตริย์
191. กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ จัดตั้งปี 2539 วัตถุประสงค์ เพื่อ 1. เป็นหลักประกันแก่ข้าราชการ
2. เพื่อส่งเสริมการออมทรัพย์ 3.
จัดสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ให้สมาชิก
192. คณะกรรมการ กบข. มี จำนวน 23 คน ปลัดกระทรวงการคลังเป็นประธาน193. สูตรการคำนวณเงินบำเหน็จของ กบข. คิดจาก เงินเดือน เดือนสุดท้าย
X เวลาราชการ
194. สูตรการคำนวณเงินบำนาญของสมาชิก กบข. คิดจาก เงินเดือนเฉลี่ยหกสิบเดือนสุดท้าย
X เวลาราชการ
50
แต่ได้รับไม่เกินร้อยละ 70 ของเงินเดือน
196. การใช้รถยนต์ส่วนกลางของทางราชการผุ้ใช้ต้องบันทึกการใช้รถตามแบบ 4198. หลักการพัฒนาชุมชน หลักการพัฒนาชุมชน ๔ ป คือ ประชาชน ประชาธิปไตย ประสานงาน ประหยัด ตรงกับเครื่องหมายกรมฯ
สีขาว สีน้ำเงิน สีเทา
สีแดง
199. 201. พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดินฉบับปัจจุบัน คือ
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 5
พ.ศ. 2545
202. พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2545 ประกาศใช้เมื่อ วันที่ 2ตุลาคม พ.ศ. 2545 มีผลใช้บังคับ
3 ตุลาคม พ.ศ. 2545
203. พ.ร.บ.ปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ประกาศใช้เมื่อ วันที่
2 ตุลาคม พ.ศ. 2545 มีผลใช้บังคับ 3 ตุลาคม
พ.ศ. 2545
204. ตาม พ.ร.บ.ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.2545 กำหนดให้มีกระทรวงและส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกระทรวง
จำนวน 20 กระทรวง
คือ 1 สำนักนายกรัฐมนตรี 19 กระทรวง
205. ตาม พ.ร.บ.ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
พ.ศ. 2545 ก่อให้เกิดกระทรวงใหม่ทั้งหมด
6 กระทรวง ได้แก่
1. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 2. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
3.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
5.กระทรวงพลังงาน 6.กระทรวงวัฒนธรรม
206. พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 กำหนดให้มีคณะกรรมการเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการ
และงานของรัฐขึ้นคณะหนึ่ง
มีชื่อว่า คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
เรียกโดยย่อว่า ก.พ.ร.
ประกอบด้วย
1. นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมาย เป็นประธาน
2. รัฐมนตรี 1 คนที่นายกรัฐมนตรีกำหนด เป็นรองประธาน
3.
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกิน 10 คน
ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งกรรมการโดยอย่างน้อย 3 คน
ต้องทำงานตามเวลา มี วาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 4 ปี
4. เลขาธิการ ก.พ.ร. เป็นกรรมการและเลขานุการโดยตำแหน่ง
207. กระทรวงมหาดไทย มีการแบ่งส่วนราชการมี 2สำนัก 6 กรม ดังนี้
1. สำนักงานรัฐมนตรี 2. สำนักงานปลัดกระทรวง
3. กรมการปกครอง 4. กรมการพัฒนาชุมชน 5. กรมที่ดิน 6.กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
7. กรมโยธาธิการและผังเมือง 8. กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
208. กรมการพัฒนาชุมชน
มีการแบ่งส่วนราชการตามกฎกระทรวงมหาดไทย
ประกาศใช้เมื่อ วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2545
209. กรมการพัฒนาชุมชน อยู่ในกลุ่มภารกิจด้านพัฒนาชุมชนและส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นของกระทรวงมหาดไทย210. ปปง. ย่อมาจากสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
-19-
211. TAMC คือ บรรษัทบริหารสินทรัพย์
212. IMET คือ มูลนิธิเพื่อสถาบันการศึกษาวิชาการจัดการแห่งประเทศไทย
214. การปฏิรูประบบราชการมีความจำเป็น
1. มิติทางด้านนานาชาติ 2.
มิติทางด้านเศรษฐกิจ
3. มิติทางด้านสังคม 4. มิติทางด้านการเมืองการปกครอง
215. มาตรา3/1 เป็นมาตราที่กำหนดกรอบความคิดในการบริหารราชการแผ่นดินยุคใหม่ อยู่ใน พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการ
แผ่นดิน (ฉบับที่
5) พ.ศ. 2545
216. มาตรา3/1 มีสาระสำคัญประกอบด้วย
1. การบริหารราชการต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
2.การเกิดผลสัมฤทธิ์ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ
3.การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
4. การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น
5. การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น
6.การกระจายอำนาจตัดสินใจ 7. มีเจ้าภาพรับผิดชอบผลงาน
8. การจัดสรรงบประมาณ การบรรจุแต่งตั้งบุคคลให้คำนึงถึงหลักการตาม ข้อ1-7
9. ใช้วิธีการบริหารกิจกรรมบ้านเมืองที่ดีโดยคำนึงถึง 9.1 ความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน 9.2 การมีส่วนร่วมของประชาชน
9.3การเปิดเผยข้อมูล
9.4 การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล
217. การปฏิรูประบบราชการทำให้เกิดสิ่งที่ดีงาม
1. บริการประชาชนที่ดี
(Good Service) 2. ขนาดพอเหมาะ (Good role and Size)
3. การตื่นตัว กระฉับกระเฉง ว่องไว (Good Capacity) 4. ระบบกิจการบริหารที่ดี (Good Governance)
218. ประชาชนได้อะไรจากการปฏิรูประบบราชการ
1. ทันสมัย (E-Government)
2. รวดเร็ว เช่น จากเดิม 7 วัน
เป็นเหลือ 7 ชั่วโมง
3. เที่ยงธรรม (เสมอภาค ไม่เห็นแก่เขาแก่เรา) 4. ประหยัด
(ทั้งรัฐ ประชาชน ประหยัดเงินทองและเวลา)
5. ชอบด้วยกฎหมาย
(เดิมบางคนปฏิบัติผิดกฎหมาย) 6. ประสิทธิภาพ (วัดได้ ประเมินผลได้ ตรวจสอบได้)
219. เป้าประสงค์หลักการพัฒนาระบบราชการไทยคือ
1. พัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนดีขึ้น (Better service quality)
2. ปรับบทบาทภารกิจและขนาดให้มีความเหมาะสม (Right sizing)
3. ยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทำงานให้อยู่ระดับสูงและเทียบเท่าสากล (High
performance)
4. ตอบสนองต่อการบริหารปกครองในระบบประชาธิปไตย
(Democratic Government)
-20-
220. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย
มีดังนี้
1. การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทำงาน 2. การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน
3. การรื้อปรับระบบการเงินและการงบประมาณ 4. การสร้างระบบบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทนใหม่
5. การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนะธรรมและค่านิยม 6. การเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัย
7. การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม
221. ก.พ.กับ ก.พ.ร.ทำงานแตกต่างกัน ดังนี้ ก.พ. พิจารณาและรับผิดชอบเกี่ยวกับคน ก.พ.ร. รับผิดชอบเกี่ยวกับโครงสร้าง
และระบบการบริหารราชการทั้งระบบ
222. กระทรวงมหาดไทยมีกลุ่มภารกิจ 3 กลุ่ม ดังนี้
1. กลุ่มภารกิจด้านกิจการความมั่นคงภายใน
ประกอบด้วยกรมการปกครองและกรมที่ดิน
2. กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาชุมชนและส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
ประกอบด้วยกรมการพัฒนาชุมชนและกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
3. กลุ่มภารกิจด้านสาธารณภัยและพัฒนาเมือง
ประกอบด้วยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและกรมโยธาธิการและผังเมือง
223. กรมการพัฒนาชุมชนได้จัดกลุ่มภารกิจและโครงสร้างส่วนราชการแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม
1. กลุ่มสนับสนุนการบริหาร
ประกอบด้วย สำนักการเลขานุการกรม กองการเจ้าหน้าที่ กองฝึกอบรม กองคลัง
หน่วยตรวจสอบภายใน กลุ่มพัฒนาระบบบริหารและกองประชาสัมพันธ์ (กองภายใน)
2. กลุ่มนโยบายและพัฒนาการพัฒนาชุมชน
ประกอบด้วย กองวิชาการและแผนงานและศูนย์สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน
3. กลุ่มส่งเสริมกระบวนการสร้างความเข้มแข็งชุมชน
ประกอบด้วย
สำนักส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพชุมชน
4. กลุ่มงานวิสาหกิจชุมชน
ประกอบด้วย สำนักส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
224. ข้าราชการในยุคปฏิรูประบบราชการจะต้องเป็นผู้มีวัฒนธรรมและค่านิยมในการทำงานตาม “ค่านิยมสร้างสรรค์
ข้าราชการ 5 ประการ”
ประกอบด้วย
1. การกล้ายืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง 2. มีความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ
3. มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ 4. ไม่เลือกปฏิบัติ
5. มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน
225. กรมการพัฒนาชุมชนได้วางระบบบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์โดยกำหนดอะไรเป็นเป้าหมายหลัก
คือ
1. ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ
(CSFs: Critical Success Factors)
2. ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก (KPIs: Key Performance Indicators)
สั่งซื้อที่
ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724 Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3 ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2
ธ.กสิกรไทย ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay
ผลงานการสอบได้ของลูกค้า
ติดตามข่าวการสอบราชการที่ https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่ www.ข้อสอบงานราชการไทย.com