1. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการกักขังออกตามกฎหมายฉบับใด
ก. พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พุทธศักราช 2479
ข. ปะมวลกฎหมายอาญา
ค. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ง. พระราชบัญญัติจัดตั้งสถานกักขัง
2. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการกักขังตามประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2506 มีผลบังคับใช้เมื่อใด
ก. วันที่ 5 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2506 ข. วันที่ 12 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2506
ค. วันที่ 13 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2506 ง. วันที่ 13 ธันวาคม พุทธศักราช 2506
3. ประเภทของสถานกักขัง มีกี่ประเภท และประเภทใดบ้าง
ก. มี 2 ประเภท คือ สถานกักขังประจำภาค และสถานกักขังจังหวัด
ข. มี 2 ประเภท คือ สถานกักขังกลาง และ สถานกักขังศูนย์ประจำภาค
ค. มี 3 ปะเภท คือ สถานกักขังกลาง สถานกักขังประจำภาค และสถานกักขังศูนย์ย่อยประจำภาค
ง. มี 3 ประเภท คือ สถานกักขังประจำภาค สถานกักขังศูนย์ย่อยประจำภาค และสถานกักขังจังหวัด
4. ผู้ต้องโทษกักขัง แบ่งออกเป็นกี่ประเภท ประเภทใดบ้าง
ก. มี 2 ประเภท คือ กักขังแทนค่าปรับ และโทษกักขัง
ข. มี 2 ประเภท คือ กักขังแทนค่าปรับ และเปลี่ยนจากโทษจำคุกเป็นโทษกักขัง
ค. มี 3 ปะเภท คือ กักขังแทนค่าปรับ โทษกักขัง และเปลี่ยนจากโทษจำคุกเป็นโทษกักขัง
ง. มี 3 ประเภท คือ โทษกักขัง กักขังแทนค่าปรับ และเปลี่ยนจากคุมประพฤติเป็นโทษกักขัง
5. อำนาจในการแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่และให้มีอำนาจออกระเบียบข้อบังคับและวินัยเกี่ยวกับการกักขังและวิธีปฏิบัติต่อผู้ต้องกักขังภายใต้บังคับแห่งกฎหมายอาญา เป็นอำนาจของผู้ใด
ก. อธิบดีกรมราชทัณฑ์ ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ค. ผู้อำนวยการสถานที่กักขัง ง. ผู้ว่าราชการจังหวัด
6. วิธีปฏิบัติต่อผู้ต้องกักขังภายใต้บังคับแห่งกฎหมายกฎหมายอาญา ตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการกักขังตามประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2506 ได้กำหนดวิธีปฏิบัติไว้กี่ประการ
ก. กำหนดวิธีปฏิบัติต่อผู้ต้องกักขังไว้ 7 ประการ
ข. กำหนดวิธีปฏิบัติต่อผู้ต้องกักขังไว้ 8 ประการ
ค. กำหนดวิธีปฏิบัติต่อผู้ต้องกักขังไว้ 9 ประการ
ง. กำหนดวิธีปฏิบัติต่อผู้ต้องกักขังไว้ 10 ประการ
7. พนักงานเจ้าหน้าที่อาจใช้อาวุธนอกจากอาวุธปืนแก่ผู้ต้องกักขังได้เท่าที่เหมาะสมแก่พฤติการณ์แห่งกรณีแต่ข้อใดมิใช่
ก. ผู้ต้องขังกำลังหลบหนีหรือพยายามจะหลบหนีและไม่มีทางจะป้องกันอย่างอื่นนอกจากใช้อาวุธ
ข. ผู้ต้องขังก่อความไม่สงบขึ้นและไม่ยอมเชื่อฟังพนักงานเจ้าหน้าที่ปราบปราม
ค. ผู้ต้องขังหลายคนก่อความวุ่นวาย หรือพยายามใช้กำลังเปิดหรือทำลายประตู รั้ว หรือกำแพง
ง. ผู้ต้องกักขังใช้กำลังทำร้ายหรือพยายามทำร้ายพนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้อื่น
8. พนักงานหน้าที่อาจใช้อาวุธปืนแก่ผู้ต้องกักขังได้ในกรณีตามข้อใด
ก. ผู้ต้องกักขังไม่ยอมวางอาวุธเมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่สั่งให้วาง
ข. ผู้ต้องกักขังตั้งแต่สามคนขึ้นไปกำลังหลบหนี ไม่ยอมหยุดในเมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่สั่งให้หยุด และไม่มีทางอื่นที่จะจับกุมได้
ค. ผู้ต้องกักขังตั้งแต่สามคนขึ้นไปกำลังหลบหนีโดยไม่มีอาวุธแม้แต่คนใดคนหนึ่ง ไม่ยอมหยุดเมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่สั่งให้หยุด และไม่มีทางอื่นที่จะจับกุมได้
ง. ผู้ต้องกักขังตั้งแต่สองคนขึ้นไปก่อความวุ่นวาย เปิดหรือพยายามเปิด ทำลาย หรือพยายามทำลายประตูรั้ว หรือกำแพงสถานกักขัง
9. ในกรณีมีเหตุอันอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภัยของผู้ต้องกักขัง ถ้าพนักงานเจ้าหน้าที่ไม่สามารถที่จะย้ายผู้ต้องขังไว้ที่อื่นได้ทันท่วงที จะปล่อยผู้ต้องกักขังไปชั่วคราวก็ได้ แต่ผู้ต้องกักขังที่ถูกปล่อยไปนั้นต้องกลับมารายงานตัวต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ สถานที่กักขังภายในยี่สิบสี่ชั่วโมง นับแต่เวลาที่ปล่อยไป หากผู้ต้องกักขังไม่ปฏิบัติโดยไม่มีเหตุหรือข้อแก้ตัวอันสมควรจะต้องระวางโทษตามข้อใด
ก. จำคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกิน 500 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ข. จำคุกหนึ่งปี หรือปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ค. จำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับ 1,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ง. จำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
10. สมพรได้ปืนกำแพงสถานที่กักขังเพื่อเข้าไปพบผู้ต้องกักขังหญิงแสงดาว พนักงานเจ้าหน้าที่กักขังจับกุมตัวได้ส่งตัวพนักงานสอบสวนเพื่อดำเนินคดี ในกรณีเช่นนี้ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการกักขังตามประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2506 จะต้องมีโทษตามข้อใด
ก. จำคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ข. จำคุกไม่เกิน 2 เดือน ปรับไม่เกิน 500 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ค. จำคุกไม่เกิน 3 เดือน ปรับไม่เกิน 500 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ง. จำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
11. มานิตย์ มีตำแหน่งเป็นผู้ช่วยพนักงานราชทัณฑ์ประจำสถานที่กักขัง รับผิดชอบงานด้านทะเบียนประวัติผู้ต้องขังสถานกักขังแห่งหนึ่ง ได้นำไพ่หนึ่งสำหรับไปให้ผู้ต้องขังชายสมใจ การกระทำดังกล่าวของมานิตย์เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติต่อผู้ต้องกักขังตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 10 จะต้องมีโทษตามข้อใด
ก. จำคุกไม่เกิน 3 เดือน ปรับไม่เกิน 500 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ข. จำคุกไม่เกิน 4 เดือน ปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ค. จำคุกไม่เกิน 5 เดือน ปรับไม่เกิน 500 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ง. จำคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
12. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องที่สุด ในส่วนเกี่ยวกับการปฏิบัติต่อผู้ต้องกักขังป่วย
ก. การอนุญาตให้ส่งตัวผู้ต้องกักขังป่วยออกไปรักษาตัวนอกสถานที่กักขังเป็นอำนาจของอธิบดี
ข. การอนุญาตให้ส่งตัวผู้ต้องกักขังป่วยออกไปรักษาตัวนอกสถานที่กักขังเป็นอำนาจของอธิบดี เหตุจำเป็นเร่งด่วนผู้อำนวยการสถานที่กักขังมีอำนาจอนุญาตให้ก่อนได้
ค. การอนุญาตให้ส่งตัวผู้ต้องกักขังป่วยออกไปรักษาตัวนอกสถานที่กักขังเป็นอำนาจของอธิบดี แต่มีเหตุจำเป็นเร่งด่วนผู้อำนวยการสถานที่กักขังมีอำนาจอนุญาตให้ก่อนได้ แต่ต้องรายงานอธิบดีเพื่ออนุมัติ
ง. การอนุญาตให้ส่งตัวผู้ต้องกักขังป่วยออกไปรักษาตัวนอกสถานที่กักขังเป็นอำนาจของผู้อำนวยการสถานที่กักขัง แล้วรายงานให้อธิบดีทราบ
13. โดยปกติการควบคุมผู้ต้องกักขังป่วยที่ออกไปรักษาตัวนอกสถานที่กักขัง ให้ใช้อัตราส่วนตามข้อใดในการควบคุมผู้ต้องกักขังป่วย
ก. ผู้ต้องกักขังป่วย 1 คน ต่อเจ้าหน้าที่ 2 คน
ข. ผู้ต้องกักขังป่วย 2 คน ต่อเจ้าหน้าที่ 3 คน
ค. ผู้ต้องกักขังป่วย 1 คน ต่อเจ้าหน้าที่ 1 คน
ง. ผู้ต้องกักขังป่วย 1 คน ต่อเจ้าหน้าที่ 3 คน
14. สถานที่กักขังจังหวัดเนินดิน มีผู้ต้องกักขังป่วยที่แพทย์ลงความเห็นว่า จะต้องส่งตัวออกไปรักษานอกสถานที่กักขัง จำนวน 3 คน ในคราวเดียวกัน ในกรณีเช่นนี้ สถานที่กักขังบ้านเนินดินจะต้องจัดให้พนักงานเจ้าหน้าที่รับผิดชอบในการควบคุมตามข้อใด
ก. ใช้อัตรากำลังเจ้าหน้าที่ 3 คน และมีพนักงานเจ้าหน้าที่ระดับผู้บังคับบัญชา 1 คน รวมเป็น 4 คน โดยไม่รวมพนักงานขับรถ
ข. ใช้อัตรากำลังเจ้าหน้าที่ 2 คน และมีพนักงานเจ้าหน้าที่ระดับผู้บังคับบัญชา 1 คน รวมเป็น 3 คน โดยไม่รวมพนักงานขับรถ
ค. ใช้อัตรากำลังเจ้าหน้าที่ 4 คน และมีพนักงานเจ้าหน้าที่ระดับผู้บังคับบัญชา 1 คน รวมเป็น 5 คน โดยไม่รวมพนักงานขับรถ
ง. ใช้อัตรากำลังเจ้าหน้าที่ 6 คน โดยไม่รวมพนักงานขับรถ
15. ข้อใดกล่าวถูกต้อง เกี่ยวกับการจัดอัตรากำลังพนักงานเจ้าหน้าที่ควบคุมผู้ต้องกักขังป่วยขณะรักษาตัวอยู่ภายนอกสถานที่กักขัง
ก. โดยปกติให้ใช้พนักงานเจ้าหน้าที่ 2 คน ควบคุมผู้ต้องกักขังป่วย 1 คน
ข. ผู้ต้องกักขังป่วยนอนพักตัวอยู่ในห้องเดียวกันมากกว่า 1 คน แต่ไม่เกิน 5 คน ให้ใช้พนักงานเจ้าหน้าที่ 2 คน ก็ได้
ค. ผู้ต้องกักขังป่วยนอนพักตัวอยู่ในห้องเดียวกันมากกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 10 คน ให้ใช้พนักงานเจ้าหน้าที่ 4 คน ก็ได้
ง. ถูกทุกข้อ
16. ระเบียบกรมราชทัณฑ์ ว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง พ.ศ. 2549 ข้อ 109 วรรคสาม “การควบคุมผู้ต้องกักขังที่ได้รับอนุญาตให้ออกไปรักษาตัวนอกสถานที่กักขัง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่อธิบดีกำหนด” อธิบดีกรมราชทัณฑ์ มีหนังสือ ที่ ยธ 0705/ว 23 ลงวันที่ 24 พฤศจิกายน 2549 เรื่องหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการควบคุมผู้ต้องกักขังป่วยออกไปรักษาตัวนอกสถานที่กักขัง ความในข้อใดเป็นข้อห้ามมิให้ปฏิบัติ
ก. ห้ามมิให้พนักงานเจ้าหน้าที่ชายควบคุมผู้ต้องกักขังหญิงโดดเด็ดขาด
ข. ห้ามมิให้จัดเจ้าพนักงานที่พยาบาลไปควบคุมผู้ต้องกักขังผู้ป่วย ที่ได้รับอนุญาตให้ออกไปรักษาพยาบาลนอกสถานที่กักขัง
ค. ห้ามมิให้พนักงานเจ้าหน้าที่ชายกับเจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่หญิงร่วมกันควบคุมผู้ต้องกักขังหญิงป่วย
ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
17. ในกรณีมีเหตุฉุกเฉินอันอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภัยของผู้ต้องกักขัง ในระหว่างที่ผู้ต้องกักขังอยู่รักษาตัว ณ โรงพยาบาลนอกสถานที่กักขัง ผู้ใดมีอำนาจนำตัวผู้ต้องกักขังออกจากที่เกิดเหตุ
ก. แพทย์ผู้ทำการรักษา ข. ผู้อำนวยการสถานที่กักขัง
ค. พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ควบคุม ง. อธิบดี
18. พนักงานเจ้าหน้าที่ หมายถึง ผู้ซึ่งอธิบดีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการกักขังตามประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2506 ปัจจุบันอธิบดีแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ไว้กี่ประเภท ประเภทใดบ้าง
ก. มี 2 ประเภท คือ หัวหน้าเจ้าพนักงานกักขัง และเจ้าพนักงานกักขัง
ข. มี 2 ประเภท คือ ผู้อำนวยสถานกักขัง และเจ้าพนักงานกักขัง
ค. มี 3 ประเภท คือ ผู้อำนวยการสถานกักขัง หัวหน้าเจ้าพนักงานกักขัง และเจ้าพนักงานกักขัง
ง. มี 4 ประเภท คือ ผู้อำนวยการสถานกักขัง สารวัตรสถานที่กักขัง หัวหน้าเจ้าพนักงานกักขัง และเจ้าพนักงานกักขัง
19. หัวหน้าเจ้าพนักงานกักขังมีอำนาจและหน้าที่รับผิดชอบในส่วนของการงานที่ได้รับมอบหมาย แต่ในกรณีที่ไม่ได้รับมอบหมายมีอำนาจหน้าที่ตามข้อใด
ก. ปกครองและควบคุมระเบียบวินัยของพนักงานเจ้าหน้าที่
ข. ดูแลรักษาบูรณะสถานที่ และทรัพย์สินของสถานกักขัง
ค. จัดการศึกษาตลอดจนการอบรมผู้ต้องขัง
ง. ถูกทุกข้อ
20. เจ้าพนักงานกักขัง มีอำนาจหน้าที่ตามข้อใด
ก. จัดการและควบคุมการทำงานของผู้ต้องขัง ข. จัดการศึกษาตลอดจนการอบรมผู้ต้องกักขัง
ค. ทำตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชา ง. ถูกทุกข้อ
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบผู้ช่วยพนักงานราชทัณฑ์ กรมราชทัณฑ์ ใหม่ล่าสุด
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ
- แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพิ่มเติม
- แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม
- แนวข้อสอบ การรักษาความลับของทางราชการ
- แนวข้อสอบความรู้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับตำแหน่ง
แนวข้อสอบ พ.ร.บ.ราชทัณฑ์ พ.ศ. 2479 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
แนวข้อสอบพระราบัญญัติวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการกักขังตามประมวลกฎหมายอาญา
แนวข้อสอบ กฎหมาย ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ.2547
แนวข้อสอบ เกี่ยวกับกรมราชทัณฑ์
แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับงานราชทัณฑ์
ประวัติการราชทัณฑ์
สั่งซื้อที่
ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724 Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3 ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2
ธ.กสิกรไทย ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay
ผลงานการสอบได้ของลูกค้า
ติดตามข่าวการสอบราชการที่ https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่ www.ข้อสอบงานราชการไทย.com