1. ข้อใดคือหนังสือราชการ
ก. เอกสารของทางราชการ ข. เอกสารโต้ตอบในราชการ
ค. เอกสารที่ทางราชการทำขึ้น ง. เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ
ตอบ ง. เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ
2. หนังสือประทับตราแทนการลงชื่อให้ได้ในกรณีใด
ก. คำแนะนำ
ข. แถลงการณ์
ค. หนังสือที่ไม่เกี่ยวกับราชการ
ง. การส่งของเอกสาร หรือ บรรสารระหว่างส่วนราชการ
ตอบ ง. การส่งของเอกสาร หรือ บรรสารระหว่างส่วนราชการ
3. ถ้าผู้รับหนังสือเป็นรัฐมนตรีคำขึ้นต้นให้ใช้คำว่าอะไร
ก. เรียน ข. เสนอ
ค. กราบเรียน ง. ขอประธานกราบเรียน
ตอบ ก. เรียน
4. “งานสารบรรณ” มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. งานที่เกี่ยวกับระเบียบการร่างโต้ตอบหนังสือและเสนอความคิดเห็น
ข. งานที่เกี่ยวข้องกับงานบริหารงานเอกสาร
ค. งานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการติดต่อกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกหน่วย
ง. งานที่ทำด้วยหนังสือนับตั้งแต่คิดร่าง , เขียน , แต่งพิมพ์ , จดจำ , ทำสำเนา , ส่งรับ, บันทึก ,
ย่อเรื่องเสนอ ,สั่งการ , ตอบ , เก็บเข้าที่และค้นหา
ตอบ ข. งานที่เกี่ยวข้องกับงานบริหารงานเอกสาร
5. หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการมี 6 ชนิด คือข้อใด
ก. หนังสือภายใน , หนังสือภายนอก , หนังสือที่มีไปมาระหว่างกระทรวง, ส่วนราชการมีถึง
บุคคลภายนอก และหนังสือที่ลงรับไว้เป็นหลักฐานแล้ว
ข. หนังสือภายใน , หนังสือประทับตราแทนการลงชื่อ , หนังสือสั่งการและโฆษณาหนังสือ
ราชการที่ส่งออก และหนังสือราชการสำคัญเกี่ยวกับการเงิน
ค. หนังสือภายนอก , หนังสือภายใน, หนังสือประทับตราแทนการลงชื่อ , หนังสือสั่งการ
โฆษณา และหนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไส้เป็นหลักฐาน
ง. ผิดทุกข้อ
ตอบ ง. ผิดทุกข้อ
6. กรรมการดำเนินการทำลายหนังสือประกอบขึ้นด้วยบุคคลอย่างน้อยกี่คน
ก. 2 คน ข. 3 คน
ค. 4 คน ง. เท่าใดก็ได้
ตอบ ข. 3 คน
7. ถ้าผู้รับหนังสือเป็นรัฐมนตรีคำลงท้ายให้ใช้คำว่าอะไร
ก. ขอแสดงความนับถือ ข. ของแสดงความเคารพนับถือ
ค. ขอแสดงความนับถืออย่างสูง ง. ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง
ตอบ ก. ขอแสดงความนับถือ
8. ระเบียบสำนักงานนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณฉบับฉบับที่ 2 มีการแก้ไขมาตั้งแต่เมื่อใด
ก. วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2506 ข. วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2516
ค. วันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2548 ง. วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2548
ตอบ ค. วันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2548
9. หนังสือเรื่องใดที่ต้องเก็บไว้เป็นหลักฐานทางราชการตลอดไป
ก. เรื่องที่เกี่ยวกับการเงิน ข. เรื่องที่เกี่ยวกับระเบียบ
ค. เรื่องที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ค. เรื่องที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์
10. “ประกาศ” จัดเป็นหนังสือชนิดใด
ก. หนังสือสั่งการ ข. หนังสือแถลงข่าว
ค. หนังสือแถลงการณ์ ง. หนังสือประชาสัมพันธ์
ตอบ ง. หนังสือประชาสัมพันธ์
11. หนังสือที่ต้องจัดส่งและดำเนินการทางสารบรรณ โดยเจ้าหน้าที่ปฏิบัติโดยเร็วนั้นจะต้องระบุตัวอักษรสีแดงให้เห็นชัดบนหนังสือและบนซองว่าอย่างไร
ก. ด่วน ข. ด่วนที่สุด
ค. ด่วนมาก ง. ด่วนภายใน
ตอบ ค. ด่วนมาก
12. หนังสือที่ต้องปฏิบัติด้วยความรวดเร็วเป็นพิเศษ ตรงกับข้อใด
ก. ด่วนมาก,ด้วนเฉพาะ และ ด่วนที่สุด
ข. ด่วนที่สุด, ด่วนมาก และ ด่วนที่สุด
ค. ด่วนภายในวันเวลาที่กำหนด และด่วนเฉพาะ
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ข. ด่วนที่สุด, ด่วนมาก และ ด่วนที่สุด
13. อายุของการเก็บหนังสือ มีวิธีการปฏิบัติตามข้อใด
ก. หนังสือที่เกี่ยวกับการเงินทุกกรณี ให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่า 10 ปี
ข. หนังสือที่ต้องสงวนเป็นความลับ โดยปกติให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่า 10 ปี
ค. หนังสือที่ปฏิบัติงานเสร็จสิ้นแล้ว และเป็นคู่สำเนาที่มีต้นเรื่องค้นได้จากที่อื่นให้เก็บไว้ไม่
น้อยกว่า 5 ปี
ง. หนังสือที่เป็นเรื่องธรรมดาและเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นเป็นประจำ เมื่อดำเนินการแล้วเสร็จให้เก็บ
รักษาไว้ไม่น้อยกว่า 3 ปี
ตอบ ค. หนังสือที่ปฏิบัติงานเสร็จสิ้นแล้ว และเป็นคู่สำเนาที่มีต้นเรื่องค้นได้จากที่อื่นให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่า 5 ปี
14. การลงวัน เดือน ปี ของหนังสือติดต่อราชการให้ปฏิบัติตามข้อใด
ก. หนังสือภายนอก ให้ลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือนและตัวเลข ของปีพุทธศักราชที่ออก
หนังสือ
ข. ส่วนหนังสือภายใน ให้ลงตัวเลขของวันที่ ชื่อย่อของเดือนและตัวเลขของปีพุทธศักราชที่
ออกหนังสือ
ค. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.
ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ ค. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.
15. รหัสตัวพยัญชนะหรับสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินและสำนักงานเลขาธิการรัฐสภากำหนดไว้ตามข้อใด
ก. สด และ สภ ข. ตง และ รส
ค. ตผ และ สภ ง. สตง และ สลร
ตอบ ค. ตผ และ สภ
16. คำสรรพนามสำหรับเจ้าของหนังสือว่า “ข้าพระพุทธเจ้า” นอกจากใช้กับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมราชินีนาถ แล้วยังใช้ได้ตามข้อใด
ก. สมเด็จพระบรมราชชนนี
ข. พระบรมวงศ์เธอชั้นพระองค์เจ้า
ค. สมเด็จพระยุพราช และ สมเด็จเจ้าฟ้าทุกพระองค์
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
17. คำว่า “คำสั่ง” มีความหมายตรงตามข้อใด
ก. คำสั่งด้วยวาจา, คำสั่งเป็นลายลักษณ์อักษร และคำสั่งที่บันทึกถึงตัวผู้ปฏิบัติโดยเฉพาะ
ข. การสั่งด้วยการบันทึกทางจดหมาย และด้วยสื่อนำสาร
ค. บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฏิบัติโดยชอบด้วยกฎหมาย
ง. การกระทำด้วยหนังสือหรือเรียกเจ้าหน้าที่พบเพื่อสั่งการแต่ละเรื่อง
ตอบ ค. บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฏิบัติโดยชอบด้วยกฎหมาย
18. ใครเป็นผู้รักษาการตามระเบียบว่าด้วยงานสารบรรณ
ก. เลขาธิการ ก.พ.
ข. ปลัดสำนักนายยกรัฐมนตรี
ค. เลขาคณะรัฐมนตรี
ง. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ตอบ ข. ปลัดสำนักนายยกรัฐมนตรี
19. หนังสือที่ปฏิวัติให้เร็วกว่าปกติแบ่งออกเป็น
ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท
ค. 4 ประเภท ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ ข. 3 ประเภท
20. เพื่อให้หน่วยราชการติดต่อประสานงานระหว่างหน่วยอย่างใกล้ชิดและรวดเร็วขึงให้ทุกกระทรวง ทบวง กรม ถือปฏิบัติอย่างไร
ก. พิมพ์หมายเลขโทรศัพท์ไว้ข้างบน
ข. พิมพ์หมายเลขโทรศัพท์ไว้ในที่ที่เห็นชัดเจน
ค. ไม่ต้องพิมพ์หมายเลขโทรศัพท์ไว้ก็ได้ เพราะได้ประทับตรายาง “ด่วน” อยู่แล้ว
ง. พิมพ์หมายเลขโทรศัพท์ของหน่วยเจ้าของเรื่อง ไว้ใต้ชื่อหน่วยงานที่มุมล่างซ้ายของหนังสือ ราชการ
ตอบ ง. พิมพ์หมายเลขโทรศัพท์ของหน่วยเจ้าของเรื่อง ไว้ใต้ชื่อหน่วยงานที่มุมล่างซ้ายของหนังสือราชการ