ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : แนวข้อสอบ วิเคราะห์นโยบายและแผน 3 กรมชลประทาน
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบ วิเคราะห์นโยบายและแผน 3 กรมชลประทาน

แชร์กระทู้นี้

ข้อสอบ วิชาเฉพาะตำแหน่ง วิเคราะห์นโยบายและแผน
1.ข้อต่อไปนี้ที่มิใช่หลักเกณฑ์ของการจำแนกประเภทของนโยบายสาธารณะ
ก.ขอบข่ายผลกระทบของนโยบาย ข.เนื้อหาและวัตถุประสงค์ของโยบาย
ค.กิจกรรมสำคัญของรัฐบาล ง.รูปแบบโดยทั่วไปของรัฐบาล
2. ประโยชน์อย่างหนึ่งของการจัดนโยบายสาธารณะ คือ
ก.ทำให้ทราบได้ว่ารัฐบาลหนึ่งๆควรประกอบด้วยบุคคลในปริมาณและคุณภาพเท่าใดจึงจะสามารถกำหนด นโยบายอย่างมีประสิทธิภาพ
ข.ทำให้สามารถคาดคะเนได้ว่า จะมีการเปลี่ยนแปลงวิธีการและขั้นตอนการกำหนดนโยบายเช่นใดบ้างในอนาคต
ค.ทำให้ทราบถึงขั้นตอน วิธีการและเทคนิคของการดำเนินต่างๆเกี่ยวกับนโยบายได้อย่างถูกต้อง
ง.ทำให้ทราบได้ว่าประชาชนได้รับประโยชน์จากนโยบายต่างๆที่ได้กำหนดขึ้นอย่างเต็มที่
3. ข้อใดที่ถือว่าเป็นนโยบายหลักที่ทุกประเทศจะต้องมีอยู่เหมือนกันและถือเป็นกิจกรรมสำคัญที่ทุกประเทศต้องปฏิบัติ
ก.นโยบายต่างประเทศ ข.นโยบายการประกันสังคม
ค.นโยบายเคหะสงเคราะห์ ง.นโยบายป้องกันและรักษาป่าไม้
4.นโยบายสาธารณะ หมายถึง แผนงาน หรือแนวทางการกระทำต่างๆ ทรรศนะข้างต้นนี้เป็นของใคร
ก.ชาร์ลส์ จาคอป ข.ฮาโรลด์ ลาสเวลล์ กับอับราแอม แคปแพลน
ค.ธอมัส ดาย ง.วิลเลี่ยม กรีนวูด
5. กรอบแนวคิดอย่างหนึ่งของวิธีการศึกษานโยบายสาธารณะ ได้แก่วิธีการศึกษาในแง่
ก.ผลกระทบของนโยบาย ข.การนำนโยบายไปปฏิบัติ
ค.ผลผลิตของนโยบาย ง.กระบวนนโยบาย
6. ข้อความต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง
ก.การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ได้มุ่งเน้นเป้าหมายในเรื่องความเป็นธรรมทางสังคมมาตั้งแต่ทศวรรษที่ 1960.
ข. การศึกษานโยบายสาธารณะตามแนวทางรัฐศาสตร์ประการหนึ่งคือการศึกษากำหนดนโนบายในแง่ที่เป็นกิจกรรมทางการเมืองอย่างหนึ่ง
ค.ขอบข่ายของการศึกษานโยบายสาธารณะในทรรศนะของสจวต เนเกล มีอยู่ 3 ประเด็นตามกระบานการของนโยบาย
ง.ความรู้เกี่ยวกับประเด็นของนโยบายเป็นความรู้เกี่ยวกับรูปแบบ วิธีการกำหนดนโยบายสาธารณะ
7.ข้อใดเป็นลักษณะประการหนึ่งของการศึกษานโยบายสาธารณะตามแนวรัฐประศาสนศาสตร์
ก.เป็นการศึกษาวิเคราะห์นโยบายโดยมุ่งเน้นที่ขั้นตอนการกำหนดนโยบาย
ข. เป็นการศึกษาโดยนักรัฐประศาสนศาสตร์โดยเฉพาะ
ค. เป็นการศึกษาถึงศาสตร์ว่าด้วยนโยบาย
ง. เป็นการศึกษาเพื่ออธิบายถึงสาเหตุและผลกระทบต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมของรัฐ
8. การกำหนดนโยบายสาธารณะและการตัดสินใจมีขั้นตอนการดำเนินงานที่เกือบจะเป็นอย่างเดียวกัน ข้อความข้างต้นเป็นทรรศนะของใคร
ก.เยเฮชเกิล ดรอร์ ข.ไอรา ชาร์แคนสกี
ค.ธอมัส ดาย ง. ริชาร์ด เกบิล
9. ขอบข่ายของการศึกษานโยบายสาธารณะในทรรศนะของสจ๊วต เนเกล คือ
ก.การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับนโยบาย ข. การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลผลิตของนโยบาย
ค.การนำนโยบายไปปฏิบัติ ค.การพัฒนานโยบาย
10. แนวคิดที่ว่าฝ่ายการเมืองควรมีบทบาทในการกำหนดและควบคุมนโยบาย และฝ่ายราชการประจำควรมีหน้าที่ในการนำนโยบายไปปฏิบัตินั่น เป็นแนวความคิดในเชิงใด
ก.รัฐศาสตร์ ข.ปทัสถาน
ค.รัฐประศาสนศาสตร์ ค.ประจักษ์
11. ตัวอย่างหนึ่งของตัวแบบนโยบายที่มีการนำมาใช้ศึกษานโยบายสาธารณะ คือตัวแบบอะไร
ก. การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ ข.ทฤษฎีทางการเมือง
ค.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ง.สถาบัน
12. การศึกษารัฐศาสตร์สมัยดั้งเดิมเป็นการศึกษาที่ให้ความสนใจในเรื่องใด
ก.นโยบายสาธารณะของประเทศต่างๆ ข.ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลของประเทศต่างๆ
ค.กระบวนการและพฤติกรรมการกำหนด นโยบายของรัฐบาลต่างๆ
ง. ภารกิจของพรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ
13. การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ก็คือการศึกษาการกำหนดนโยบายสาธารณะนั่นเอง เป็นทรรศนะของใคร
ก. ดับเบิลยู เฮนรี แลมไบรท์ ข.เอช จอร์จ เฟรเดอริคสัน
ค.ไอรา ชาร์แคนสกี ง.ชาร์ลส์ ลินบอล์ม
14. ปัจจัยสภาพแวดล้อมมีอิทธิพลต่อนโยบายสาธารณะอย่างไร
ก.มีอิทธิพลต่อการกำหนด นโยบายสาธารณะโดยตรง ข.มีอิทธิพลต่อการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติโดยตรง
ค.มีอิทธิพลต่อการประเมินผลนโยบายสาธารณะโดยตรง ง.มีอิทธิพลต่อการวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการโดยตรง
15. ข้อใดคือปัจจัยสภาพแวดล้อมที่อยู่ภายนอกระบบการเมือง
ก.ปัจจัยเกี่ยวกับผู้นำ ค.ปัจจัยเกี่ยวกับจิตวิทยา
ค.ปัจจัยเกี่ยวกับการเมือง ง.ปัจจัยเกี่ยวกับประวัติศาสตร์
16.การเมืองกับการบริหารแตกต่างกันอย่างไร
ก. การเมืองเป็นเรื่องการกำหนดวิธีการจัดสรรผลประโยชน์ การบริหารเป็นเรื่องการจัดสรรผลประโยชน์
ข.การเมืองเป็นเรื่องการจัดสรรผลประโยชน์ การบริหารเป็นเรื่องการกำหนดวิธีการจัดสรรผลประโยชน์
ค.การเมืองเป็นเรื่องการจัดทำแผนและโครงการ การบริหารเป็นเรื่องการนำแผนและโครงการไปปฏิบัติ
ง.การเมืองเป็นการได้มาซึ่งอำนาจการบริหารเป็นเครื่องมือในการแสวงหาอำนาจ
17.ปัญหาความยากจนเป็นปัญหาประเภทใค
ก. ปัญหาป้องกัน ข. ปัญหาพัฒนา ค. ปัญหาขัดข้อง ง. ปัญหาเฉพาะเรื่อง
18.การกำหนดนโยบายสาธารณะโดยใช้ประสบการณ์ในอดีตเป็นแนวทางในการตัดสินใจคือ ตัวแบบใด
ก. ตัวแบบชั้นผู้นำ ข.ตัวแบบกลุ่ม ค. ตัวแบบกระบวนการ ง.ปัญหาเฉพาะเรื่อง
19. คุณลักษณะของผู้นำในการกำหนดนโยบายสาธารณะ คือ ข้อใด
ก.มีความสาสมรถทำให้ผู้อื่นยอมรับ ข.มีความสามารถวางแผนสั่งการ
ค.มีความสามารถในการติดต่อสื่อสาร ง.มีความสามารถในการควบคุม
20. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถือว่าเป็นการกำหนดนโยบายสาธารณะ
ก. นายยกรัฐมนตรีกล่าวว่า รัฐบาลจะดำเนินการทุกวิถีทางที่จะส่งเสริมการลงทุนเพื่อส่งออก
ข.นายกรัฐมนตรีประกาศยุบสภา
ค.นายกรัฐมนตรีส่งตัวแทนออกไปพบชาวนาที่ชุมนุมประท้วงอยู่ที่หน้าทำเนียบเพื่อให้มีการประกันราคาข้าว
ง.นายกรัฐมนตรีตอบกระทู้ถามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
21.บุคคลหรือองค์กรใดในหัวข้อต่อไปนี้มีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดนโยบายสาธารณะแห่งชาติโดยลำพัง
ก.นายกรัฐมนตรี ข. ประธานาธิบดี ค. คณะรัฐมนตรี ง. รัฐสภา
22. ข้อต่อไปนี้ข้อใดไม่ใช่กลไกในการกำหนดนโยบายสาธารณะ
ก. ประชาชน ข. ข้าราชการ ค.คณะรัฐมนตรี ง. ปลัดกระทรวง
23. กิจกรรมใดต่อไปนี้เป็นกิจกรรมที่ต้องกระทำในขั้นตอนของการระบุปัญหา
ก.สำรวจสถานการณ์ ข.กำหนดสภาพที่ต้องการจะให้เกิดขึ้นหลังจากการดำเนินการแก้ปัญหาแล้ว
ค.กำหนดเป้าหมาย ง.กำหนดแนวทางการกระทำ
24. การสำรวจสถานการณ์เป็นกิจกรรมที่ต้องกระทำในขั้นตอนใดของการกำหนดนโยบายสาธารณะ
ก.กำหนดวัตถุประสงค์ ข. กำหนดหัวข้อปัญหา ค. จักทำข้อเสนอนโยบาย ง.กำหนดสภาพของปัญหา
25. การตักสินใจตามตัวแบบสมเหตุสมผลควรทำอย่างไร
ก.ยอมรับนโยบายเดิม ข.ยอมรับนโยบายที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็ยค่อยไป
ค.ยอมรับนโยบายที่ต้นทุนต่ำ ง. ไม่ยอมรับนโยบายที่ไม่มีความแตกต่างระหว่างต้นทุนกับผลประโยชน์
26.ในขั้นตอนกำหนดการวิเคราะห์ของกระบวนการวิเคราะห์นโยบาย นักวิเคราะห์จะใช้ประโยชน์จากข้อใดมากที่สุด
ก.การพยากรณ์ ข.การกำหนดตัวแบบ
ค.การวิเคราะห์ระบบ ง.การวิเคราะห์ต้นทุนผลประโยชน์
27. ข้อใดคือกลไกการกำหนดนโยบายสาธารณะที่มีลักษณะจากล่างขึ้นบน
ก.ข้าราชการ ข.ประชาชน ค.สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ง. คณะรัฐมนตรี
28. โดย ทั่วๆไปการประใช้นโยบายสาธารณะระดับชาติจะตราขึ้นเป็น
ก.รัฐธรรมนูญ ข.รัฐบัญญัติ ค.กฤษฎีกา ง.ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
29.ข้อใดเป็นเครื่องมือสำคัญในการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
ก.การวิเคราะห์เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ข. การพยากรณ์เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
ค.การวิเคราะห์ต้นทุนประสิทธิภาพ ง.การกำหนดตัวแบบ
30. การศึกษาในข้อใดต่อไปนี้ถือว่าอยู่ในขอบข่ายของการศึกษาการนำ นโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ
ก.การศึกษาความแตกต่างในการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติของนโยบายแต่ละประเภท
ข. การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลของการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ
ค.การศึกษาเปรียบเทียบสัมฤทธิ์ผลของกลยุทธ์ในการนำนโยบายไปปฏิบัติ
ง. ถูกทุกข้อ
31. การวัดความสำเร็จของการนำนโยบายไปปฏิบัติตามแนวทางข้อใดที่ถือว่า มีขอบข่ายกว้างและตรงประเด็นมากที่สุด
ก.การพิจารณาระดับความร่วมมือของผู้ปฏิบัติ
ข.การพิจารณาว่านโยบายนั่นก่อให้เกิดผลการปฏิบัติในระยะสั้นและหรือก่อให้เกิดผลกระทบตามที่พึงปรารถนา
ค.การพิจารณาระดับความล่าช้าที่เกิดขึ้นในกระบวนการของการนำนโยบายไปปฏิบัติ
ง. การพิจารณาระดับของความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในกระบวนการของการนำนโยบายไปปฏิบัติ
32. ความสำเร็จในการนำนโยบายไปปฏิบัติในบางครั้งอาจจะไม่นำไป สู่ผลกระทบในทางที่พึงปรารถนาเสมอไป หากนโยบายนั้นมีรากฐานมาจากอะไร
ก. ทฤษฏีไม่ถูกต้อง ข.ความขัดแย้งในเป้าหมายนโยบาย
ค. ความแตกต่างในวัตถุประสงค์ของหน่วยปฏิบัติ ง.ความล้มเหลวในการระบุแนวทางปฏิบัติ
33. โดยทั่วไปฝ่ายใดมีบทบาทที่สำคัญที่สุดในกระบวนการนำนโยบายสาธารณะไป ปฏิบัติ
ก. พรรคการเมือง ข. ระบบราชการ ค.สภาผู้แทนราษฎร ง. ภาคธุรกิจเอกชน
34. โดยทั่วไปแล้ว ขั้นตอนการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ระดับใหญ่ๆคือ
ก.ขั้นตอนของการแปลงนโยบายออกเป็นแนวทางปฏิบัติ และขั้นตอนในการทำให้หน่วยงานในระดับท้องถิ่นยอมรับแนวทางปฏิบัติดังกล่าว
ข.ขั้นตอนในระดับมหาภาค และขั้นตอนในระดับจุลภาค
ค. ขั้นตอนในการพิจารณารับนโยบาย และขั้นตอนในการสร้างความเป็นปึกแผ่น
ง.ขั้นตอนในการระดมพลัง และขั้นตอนในการสร้างความต่อเนื่อง
35. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงนโยบายของหน่วยงาน ที่รับผิดชอบในการนำไปปฏิบัติ
ก.ความขัดแย้งของนโยบาย ข. ความสอดคล้องกันระหว่างเป้าหมายของนโยบาย
ค. ความร่วมมือและความจริงใจของหน่วยงานที่รับผิอชอบ ง. ถูกทุกข้อ
36. ปัญหาสรรถนะเป็นปัญหาหลักด้านหนึ่งของการนำนโยบายไปปฏิบัติ ปัญหาในลักษณะดังกล่าวจะมีมากน้อยเพียงไดขึ้นอยู่กับปัจจัยย่อยต่างๆ ยกเว้นปัจจัยด้านใด
ก. ปัจจัยด้านบุคคลากร ข. ปัจจัยด้านเงินทุน
ค. ปัจจัยด้านวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องมือ ง.ปัจจัยด้านความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานที่รับผิดชอบ
37. การประเมินผลนโยบาย จะกระทำเมื่อใด
ก.ก่อนมีการดำเนินการตามนโยบาย ข. หลังจากการดำเนินการตามนโยบาย
ค.ระหว่างดำเนินการ และหลังจากดำเนินการตามนโยบาย ง. เป็นขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการการกำหนดนโยบาย
38. การวิเคราะห์และประเมินนโยบายสาธารณะควรกระทำอย่างไร
ก. วิเคราะห์และประเมินผลอย่างละเอียดเฉพาะจุด ข. วิเคราะห์และประเมินอย่างจำกัดวง หรือย่างแคบ
ค. วิเคราะห์และประเมินผลอย่างกว้างๆ ทั่วๆไป ง. วิเคราะห์และประเมินผลอย่างครอบคลุม
39. เกณฑ์การประเมินนโยบายสาธารณะที่ควรคำนึงถึงมากที่สุด คือ
ก. เกณฑ์ศักยภาพ ข. เกณฑ์การลงทุน ค. เกณฑ์การสนองตอบความต้องการ ง.เกณฑ์ค่าใช้จ่ายดำเนินการ
40. ปัญหาข้อต่อไปนี้ข้อใดมิใช่ปัญหาในการประเมินนโยบายสาธารณะที่มักเกิดขึ้นเสมอ
ก.ปัญหาความไม่แน่ชัดของเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ข.ปัญหาตัวบุคคลที่ทำการประเมิน
ค.ปัญหา ด้านข้อมูลข่าวสาร ง. ปัญหางบประมาณ


จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบ วิเคราะห์นโยบายและแผน 3 กรมชลประทาน
รวมแนวข้อสอบเก่าเด็ดๆๆ และข้อสอบที่ออกบ่อยมาก ส่งทางอีเมล์เป็นไฟเอกสาร
รวมแนวข้อสอบเก่าเด็ดๆๆและข้อสอบที่ออกบ่อยมากส่งทางอีเมล์เป็นไฟเอกสาร
สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

[font=arial                              ]ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 

ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
focus_feamus ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ใช้ระดับ I
รายละเอียดผู้ใช้ 
เเนวข้อสอบ  

                  ภาค  ข.  ก.พ.

           นักวิเคราะห์นโยบายปฏิบัติการ  

                    (ซี  3เดิม)

แนวข้อสอบชุดที่ 2



1.     ข้อใดไม่ใช่ความคิดสร้างสรรค์ที่ ffice:smarttags" />Marshall Dimock กล่าวถึง                          (1)  สัญชาตญาณ

        (2)  การสังเคราะห์                      (3)  การใช้เหตุผล               (4)  จินตนาการ    (5)  การเปลี่ยนความสนใจ

        ตอบ  3

2.     ข้อใดถูกต้อง

        (1)  การวิจัยดำเนินงาน : เป็นเทคนิคที่ใช้ในการประเมินผลของนโยบายทางสังคม

        (2)  การสร้างดัชนี :  การนำตัวแบบคณิตศาสตร์มาใช้ในการแก้ปัญหา

        (3)  ตารางวิเคราะห์ปัญหา : การหาความสัมพันธ์ระหว่างสภาพปัญหา สาเหตุ และแนวทางแก้ไข

        (4)  การระดมสมอง : เป็นเทคนิคที่ใช้ในการประเมินผลของนโยบายทางสังคม

        (5)  การวิจัยดำเนินงาน : การวิเคราะห์ปัญหาโดยการประชุมร่วมกันระหว่างผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย

        ตอบ  5

3.     ข้อใดไม่ถูกต้อง

        (1)  การระดมสมอง : การวิเคราะห์ปัญหาโดยการประชุมร่วมกันระหว่างผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย

        (2)  การสร้างดัชนี : เป็นเทคนิคที่ใช้ในการประเมินผลของนโยบายทางสังคม

        (3)  การทดลองทางสังคม : การใช้นโยบายในกลุ่มเป้าหมายเล็กๆ ก่อนที่จะนำไปใช้ในกลุ่มเป้าหมายจริง

        (4)  การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล : วิธีที่พิจารณาสาเหตุของปัญหาว่ามีปัจจัยที่เกี่ยวข้องอะไรบ้าง                                    และปัจจัยเหล่านั้นก่อให้เกิดผลอย่างไร

        (5)  การระดมสมอง : เป็นเทคนิคที่ใช้ในการประเมินผลของนโยบายทางสังคม

        ตอบ  5

4.     ข้อใดถูกต้อง

        (1)  การประเมินผลแบบทดลอง : วิธีที่สามารถทดสอบว่าผลที่เกิดขึ้นนั้นมาจากอิทธิพลของนโยบายอย่าง                                                    แท้จริง

      (2)  การสร้างดัชนี : เป็นเทคนิคที่ใช้ในการประเมินผลของนโยบายทางสังคม

        (3)  การวิเคราะห์อนุกรมเวลาแบบขาดตอน : วิธีการที่เน้นเอาข้อคิดและความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญมา                                                       เปรียบเทียบกันเพื่อหาข้อสรุป

        (4)  ถูกข้อ 1 และ 2                                                                      (5)  ถูกทุกข้อ

        ตอบ  4

5.     ข้อใดถูกต้อง  แอ๊คกรุ๊ป

        (1)  การทดลองทางสังคม : ต้องการทราบการตัดสินใจของผู้กำหนดนโยบาย

        (2)  การระดมสมอง : การวิเคราะห์ปัญหาโดยการประชุมร่วมกันระหว่างผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย

        (3)  การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล การใช้นโยบายในกลุ่มเป้าหมายเล็กๆ ก่อนที่จะนำไปใช้ใน                                                 กลุ่มเป้าหมายจริง

        (4)  ไม่มีข้อใดถูก                                                                         (5)  ถูกทุกข้อ

        ตอบ  2

6.     ข้อใดถูกต้อง

        (1)  การวิเคราะห์อนุกรมเวลาแบบขาดตอน : ในกรณีที่มีกลุ่มเป้าหมายหลักเพียงกลุ่มเดียวและต้องการทราบ                                      การเปลี่ยนแปลงภายหลังมีนโยบาย

        (2)  วิธีเดลฟีเชิงนโยบาย : วิธีการที่เน้นเอาข้อคิดและความเห็นของผู้เชี่ยวชาญมาเปรียบเทียบกันเพื่อหา                                                      ข้อสรุป

        

        (3)  การตรวจสอบทางสังคม : วิธีการที่ต้องอาศัยเชิงคุณภาพเน้นการเข้าไปมีส่วนร่วมของผู้ประเมิน

        (4)  ถูกข้อ 1 และ 2                                                                      (5)  ถูกทุกข้อ

        ตอบ  5

7.     การเน้นให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมและแสดงความคิดเห็นเพื่อให้นโยบายที่เกิดขึ้นสนองตอบต่อ      สังคมโดยส่วนรวมอย่างแท้จริง เป็นแนวโน้มเกี่ยวกับเรื่องใด                     (1)  มาตรฐาน

        (2)  เป้าหมายและคุณค่า                             (3)  การดำเนินนโยบาย                     (4)  วิธีการ            

        (5)  การสร้างตัวแบบหรือทฤษฎี

        ตอบ  2   เเอ็คกรุ๊ป

8.     ลักษณะใดไม่ใช่ลักษณะพิเศษของการนำไปปฏิบัติ            (1)  มีผู้เกี่ยวข้องสำคัญมากมาย

        (2)  มีปัจจัยหลายประการที่ควบคุมได้                                     (3)  ผู้เกี่ยวข้องล้วนมีวัตถุประสงค์ที่หลากหลาย

        (4)  หน่วยงานหลายระดับร่วมกันดำเนินงาน                       (5)  ถูกทุกข้อ

        ตอบ  2

9.     จากการศึกษานโยบายการจ้างงานของชนกลุ่มน้อยของเพรสแมนและเวิลดัฟสกีนั้น พบว่าข้อใดไม่ใช่สาเหตุ     ของความล้มเหลว                                (1)  ผู้ริเริ่มและรับผิดชอบไม่ได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

        (2)  มีประเด็นการดตัสินใจมากเกินไป                   (3)  มีจำนวนหน่วยงานที่มีส่วนร่วมมากเกินไป

        (4)  ผู้ปฏิบัติงานขาดความสามารถ                           (5)  ลักษณะของโครงการไม่สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย

        ตอบ  4

10.  ปัจจัยใดไม่เกี่ยวข้องกับการส่งผลของการนำนโยบายไปปฏิบัติของโครงการรัฐบาลกลางในการให้การ                สนับสนุนเพื่อการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาฉบับที่ 3

        (1)  การมีส่วนร่วมของประชาชนในการสนับสนุนรัฐบาลกลาง

        (2)  การสนับสนุนจากผู้บริหารทุกระดับในการนำนโยบายไปปฏิบัติ            

        (3)  ขอบเขตของโครงการที่ชัดเจน

        (4)  วิธีการบริหารที่ยืดหยุ่นเมื่อเกิดสิ่งที่ไม่คาดหวัง

        (5)  ความช่วยเหลือทางเทคนิค  วันนรัตน์

        ตอบ  3

ตั้งแต่ข้อ 11.-15. จงใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคำถาม
neiy1111 ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ใช้ระดับ I
รายละเอียดผู้ใช้ 
ตอบกลับโพสของ (admin)
ใจจ้า
neiy1111 ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ใช้ระดับ I
รายละเอียดผู้ใช้ 
ใจจ้า
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

สามารถอัพโหลดไฟล์แนบ สำหรับโพสได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้