. ใครเป็นผู้เก็บรักษาลูกกุญแจตู้นิรภัย
1. รองนายก อบต. 2. กรรมการเก็บรักษาเงิน 3. ปลัด อบต. 4. หัวหน้าส่วนการคลัง
2. คำตอบในข้อใดที่จัดไม่เข้าพวกกับคำตอบในข้ออื่น ๆ
1. ฉิ่ง 2. ซอ 3. กลอง 4. ระนาด
3. ถ้าผู้มีสิทธิรับเงินไม่สามารถรับเงินด้วยตนเองได้จะมอบฉันทะให ้ผู้อื่นเป็นผู้รับแทนจะต้องได้รับอนุญาตจากใคร
1. นายก อบต. 2. ปลัด อบต. 3. หัวหน้าหน่วยงานคลัง 4. นายอำเภอ
4. การกำหนดสมัยประชุมสามัญเพื่อพิจารณาร่างข้อบัญญัติงบประมาณราย จ่ายประจำปี ต้องพิจารณาในเดือนใด
1. กุมภาพันธ์ 2. มิถุนายน 3. สิงหาคม 4. แล้วแต่สภา อบต. กำหนด
5. ผู้ใดเป็นผู้มีอำนาจให้ความเห็นชอบกรณีที่ อบต. ทำกิจการนอกเขตสภา อบต. หรือกรณีร่วมกับสภาตำบล อบต.
หรือ อบจ. หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นอื่นเพื่อทำกิจการร่วมกัน ได้
1. สภา อบต. 2. นายก อบต. โดยมติสภา
3. นายอำเภอ 4. ผู้ว่าราชการจังหวัด
6. การเก็บเอกสารที่ดีที่สุดควรปฏิบัติอย่างไร
1. เก็บเอกสารที่มีระบบเดียวตลอด 2. เก็บเอกสารที่มีอุปกรณ์พร้อม
3. เก็บเอกสารไว้อย่างเป็นระบบ 4. เก็บเอกสารให้เป็นอย่างปัจจุบัน
7. การเก็บหนังสือราชการโดยปกติให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่ากี่ปี
1. 5 ปี 2. 10 ปี 3. 15 ปี 4. ไม่มีข้อถูก
8. คำตอบในข้อใดที่จัดไม่เข้าพวกกับคำตอบในข้ออื่น ๆ
1. มะขาม 2. มะยม 3. มะปราง 4. มะนาว
9. ข้อใดเป็นตำแหน่งข้าราชการการเมือง
1. เลขานุการนายกรัฐมนตรี 2. เลขานุการคณะรัฐมนตรี 3. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี 4. ปลัดกระทรวง
10. คณะกรรมการการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล มีประธานกรรมการคือ
1. ประธานสภา อบต. 2. ปลัด อบต. 3. นายก อบต. 4. ผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับการคัดเลือก
11. ในกรณีที่ยังไม่มีประธานสภา อบต. หรือประธานสภา อบต. ไม่เรียกประชุมตามกฎหมาย บุคคลใดเป็นผู้เรียก
และเป็นผู้เปิดหรือปิดการประชุม
1. ผู้ว่าราชการจังหวัด 2. นายอำเภอ 3. นายก อบต. 4. ประธานสภา อบต.
12. จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันมี
1. 500 คน 2. 400 คน 3. 200 คน 4. 700 คน
13. การเสนอญัตติร่างข้อบัญญัติองค์การบริการส่วนตำบลข้อใด ถูกต้อง
1. การเสนอญัตติร่างองค์การบริหารส่วนตำบลอื่น ๆ ต่อประธานสภา อบต. จะต้องมีสมาชิดสภา อบต. รับรอง
อย่างน้อย 2 คน
2. การเสนอญัตติร่างองค์การบริหารส่วนตำบลใด ถ้าคณะผู้บริหาร อบต.เป็นผู้เสนอไม่ต้องมีผู้รับรอง
3. ถ้าสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นผู้เสนอร่างข้อบังคับตำบ ลเกี่ยวด้วยการเงินต้องให้นายก อบต.
รับรอง
4. ถูกทุกข้อ
14. ใครมีอำนาจกำกับดูแลการปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วนตำบล
1. นายอำเภอ 2. ผู้ว่าราชการจังหวัด
3. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 4. อธิบดีกรมการปกครอง
15. ในกรณีที่สภา อบต. ส่งร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีของ อบต. ให้นายอำเภออนุมัติ แต่ปรากฏ
ล่วงเลยมา 20 วัน แล้วยังไม่มีคำตอบ จากนายอำเภอ ข้อบัญญัติดังกล่าวจะมีผลอย่างไร
1. ให้ถือว่านายอำเภออนุมัติร่างขอบัญญัติดังกล่าว 2. สภา อบต. ทวงถามขอส่งร่างข้อบัญญัตินั้นคืนมาให้สภาทบทวน
3. ร่างข้อบัญญัตินั้นเป็นอันตกไป
4. สภา อบต. นำร่างข้อบัญญัตินั้นมาทบทวนถ้ายืนยันตามร่างเดิมด้วยคะแนนเสีย ง ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของสมาชิก
สภา อบต. เท่าที่มอยู่ให้ส่งให้นายก อบต. ประกาศใช้ข้อบัญญัตินั้นได้เลย
16. ในเขต อบต. บุคคลใดมีอำนาจเปรียบเทียบปรับคดีละเมิดข้อบัญญัติ
1. ประธานสภา อบต. 2. สมาชิกสภา อบต. 3. นายก อบต. 4. เลขานุการสภา อบต.
17. ข้อใดเป็นรายได้ที่ อบต. จัดเก็บเอง
1. ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย อากรฆ่าจ๋าจ๊ะและค่าธรรมเนียมรวมถึงผลประโยชน์อื่นอัน
เกิดจากการฆ่าจ๋าจ๊ะ
2. ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์และล้อเลื่อน ภาษีธุรกิจเฉพาะ
3. ค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดิน 4. ภาษีมูลค่าเพิ่ม
18. ข้อใดไม่ใช้รายจ่ายประจำ ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีงบประมาณขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
1. หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ 2. หมวดค่าจ้างชั่วคราว
3. หมวดเงินค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ 4. หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
19. บุคคลใดเป็นผู้เรียกประชุมสภา อบต. ตามสมัยประชุม และเป็นผู้เปิดหรือปิดการประชุม
1. ผู้ว่าราชการจังหวัด 2. นายอำเภอ 3. นายก อบต. 4. ประธานสภา อบต.
20. ผู้ใดมีอำนาจในการถอนเงินฝากขององค์การบริหารส่วนตำบล
1. นายก อบต. กับ ปลัด อบต. 2. นายก อบต. กับ หัวหน้าส่วนการคลัง
3. นายก อบต. หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย กับ ปลัด อบต. หรือ ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
4. นายก อบต. หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย กับ รองนายก อบต. หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
21. หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ มีกี่ชนิด
1. 1 ชนิด 2. 2 ชนิด 3. 3 ชนิด 4. 4 ชนิด
22. ข้อใดมิได้เป็นเงินรายได้ของ อบต.
1. เงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรให้ 2. รายได้จากทรัพย์สินของ อบต.
3. เงินค่าธรรมเนียมที่เก็บจากผู้มาพักโรงแรม 4. เงินค่าบริการน้ำประปาแก่ประชาชน
23. การปฏิบัติกับหนังสือที่ต้องเก็บไว้ตลอดไป คือ
1. ให้เก็บโดยมิดชิด ปลอดภัยและกำหนดความเร่งด่วนในการขนย้าย
2. เก็บใส่ตู้เอกสารที่มั่นคงแข็งแรงและกำหนดชั้นความลับ
3. ให้ประทับตราคำว่า “ห้ามทำลาย” ด้วยหมึกสีแดงที่หน้าแฟ้มเรื่องนั้น
4. เก็บให้เป็นระเบียบ แล้วแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบทั่วกัน
24. ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายของ อบต. เมื่อสภา อบต. เห็นชอบแล้วต้องเสนอบุคคลใดเป็นผู้อนุมัติก่อน อบต.
นำไปประกาศใช้
1. ผู้ว่าราชการจังหวัด 2. นายอำเภอ 3. นายก อบต. 4. ประธานสภา อบต.
25. บุคคลใดเป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหา รส่วนตำบล พ.ศ. 2537
1. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 2. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
3. ผู้ว่าราชการจังหวัด 4. นายกรัฐมนตรี
26. การจ่ายเงินในข้อใดต่อไปนี้ให้ผู้จ่ายเงินทำใบรับรองการจ่ายเงิ นโดยไม่ต้องทำบันทึกแจ้งเหตุผล
1. การจ่ายเงินรายหนึ่ง ๆ เป็นจำนวนเงินไม่ถึงสิบบาท
2. การจ่ายเงินค่ารถ หรือเรือนั่งรับจ้าง
3. การจ่ายเงินเป็นค่าโดยสารรถไฟ รถยนต์ประจำทางหรือเรือยนต์ประจำทาง
4. ถูกทุกข้อ
27. แผนปฏิบัติการให้จัดทำแล้วเสร็จภายในเดือนใดของปีงบประมาณนั้น
1. มิถุนายน 2. ตุลาคม 3. สิงหาคม 4. ธันวาคม
28. การจัดทำและทบทวนแผนพัฒนาสามปีให้แล้วเสร็จภายในเดือนใดก่อนงบป ระมาณประจำปี
1. มิถุนายน 2. ตุลาคม 3. สิงหาคม 4. ธันวาคม
29. ข้อไดมิได้เป็นรายได้ของ อบต.
1. เงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรให้ 2. รายได้จากทรัพย์สินของ อบต.
3. เงินค่าธรรมเนียมที่เก็บจากผู้มาพักโรงแรม 4. เงินค่าปริการน้ำประปาแก่ประชาชน
30. การยกฐานะ อบต. เป็นเทศบาลต้องตราเป็นกฎหมายใด
1. พระราชกฤษฎีกา 2. พระราชบัญญัติ 3. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย 4. ประกาศกระทรวงมหาดไทย
31. คณะรัฐมนตรีตามธรรมนูญฉบับปัจจุบันมีกี่คน
1. 34 2. 35 3. 36 4. 40
32. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการตั้งกระทู้ถามในการประชุมสภา อบต.
1. กระทู้ถามไม่มีการอภิปรายและไม่มีการลงมติ
2. ห้ามไม่ให้สมาชิกสภา อบต. ตั้งกระทู้ถามกันเอง
3. คณะผู้บริหารจะต้องตอบกระทู้กระทู้ถามนั้นทุกครั้ง
4. กระทู้ถามต้องทำเป็นหนังสือเสนอล่วงหน้าต่อประธานสภา อบต.
33. ในกรณีตำแหน่งประธานสภา อบต. ว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกครบวาระให้เลือกตั้งประธาน สภา
อบต. ขึ้นแทนภายในกี่วัน นับแต่วันที่ตำแหน่งนั้นว่าง
1. 15 วัน 2. 30 วัน 3. 45 วัน 4. 60 วัน
34. การบริหารงานในรูปแบบ อบต. นายก อบต. อาจแต่งตั้งรองนายก อบต. ได้ไม่เกินกี่คน
1. 1 คน 2. 2 คน 3. 3 คน 4. 4 คน
35. การปฏิบัติกับหนังสือที่ต้องเก็บไว้ตลอดไป คือ
1. ให้เก็บโดยมิดชิด ปลอดภัยและกำหนดความเร่งด่วนในหารขนย้าย
2. เก็บใส่ตู้เอกสารที่มั่นคงแข็งแรงและกำหนดชั้นความลับ
3. ให้ประทับตราคำว่า “ห้ามทำลาย” ด้วยหมึกสีแดงที่หน้าแฟ้มเรื่องนั้น
4. เก็บให้เป็นระเบียบ แล้วแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบทั่วกัน
36. นอกจากสมัยประชุมสามัญแล้ว เมื่อเห็นว่าเป็นการจำเป็นเพื่อประโยชน์แก่ อบต. บุคคลใดสามารถทำคำร้องขอ
ให้เปิดประชุมสมัยวิสามัญได้
1. ประธานสภา อบต. 2. นายก อบต.
3. สมาชิกสภา อบต. จำนวนไม่ต่ำกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกสภา อบต. เท่าที่มีอยู่ 4. ถูกทุกข้อ
37. ข้อใดคือรายจ่ายเพื่อการลงทุน ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีงบประมาณขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
1. หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ 2. หมวดค่าจ้างชั่วคราว
3. หมวดเงินค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ 4. หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
38. การกำหนดสมัยประชุมสามัญเพื่อพิจารณาร่างข้อบัญญัติงบประมาณราย จ่ายประจำปี ต้องพิจารณาในเดือนใด
1. กุมภาพันธ์ 2. มิถุนายน 3. สิงหาคม 4. แล้วแต่สภา อบต. กำหนด
39. หนังสือที่ต้องเก็บไว้เป็นหลักฐานทางราชการตลอดไป เช่น
1. เรื่องที่เกี่ยวกับการเงิน 2. เรื่องที่เกี่ยวกับระเบียบ 3. เรื่องที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ 4. ถูกทุกข้อ
40. คำขึ้นต้นของหนังสือภายในถึงบุคคลธรรมดา ใช้คำขึ้นต้นว่าอย่างไร
1. เรียน 2. ขอประทานเสนอ 3. ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของบุคคล 4. ถึง
41. คำตอบในข้อใดที่แตกต่างจากข้ออื่น
1. น้ำพึ่งเรือเสือพึ่งป่า 2. ลิ้นกับฟัน 3. ขิงก็ราข่าก็แรง 4. เกลือจิ้มเกลือ
42. บรรดาข้อความทั้งหลายที่ทางราชการเห็นควรเผยแพร่ให้ประชาชนทราย โดยทั่วไป เรียกว่าอะไร
1. เมื่อพนักงานส่วนตำบลเป็นหนี้ 2. มีงบประมาณเพื่อการนั้นแล้ว
3. ผู้ยืมได้ทำสัญญาการยืมเงินและรับรองว่าจะปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับหรือคำสั่งที่ได้กำหนดไว้สำหรับ
เรื่องนั้น
4. ข้อ ข และ ค ถูก
43. บรรดาข้อความทั้งหลายที่ทางราชการเห็นสมควรเผยแพร่ให้ประชาชนทร ายโดยทั่วไป เรียกว่าอะไร
1. แถลงการณ์ 2. ประกาศ 3. คำสั่ง 4. ข่าว
44. หนังสือราชการมีกี่ชนิด
1. 3 ชนิด 2. 4 ชนิด 3. 5 ชนิด 4. 6 ชนิด
45. การเบิกตัดปีจะกระทำได้ภายในเงื่อนไขใด
1. เป็นรายจ่ายงบกลาง หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุเฉพาะรายจ่ายที่เกี่ยวกับการบำรุงดูแลรักษาที่ดิ น
และสิ่งก่อสร้างและหมวดค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
2. ต้องทำสัญญากันไว้เรียบร้อยแล้วและมีกำหนดการสิ้นสุดแห่งสัญญาน ั้นไม่เกินเดือนกันยายนของปีใหม่
3. ให้วางฎีกาเบิกตัดปี ตามแบบที่กรมการปกครองกำหนดก่อนวันสิ้นปีอย่างน้อยสามสิบวัน 4. ถูกทุกข้อ
46. การจดบันทึก หรือรายงานการประชุมอาจทำได้กี่วิธี
1. 1 วิธี 2. 2 วิธี 3. 3 วิธี 4. 4 วิธี
47. ในปีหนึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลจะมีสมัยประชุมสามัญไม่เกินกี่ส มัย
1. 2 สมัย 2. 3 สมัย 3. 4 สมัย 4. 5 สมัย
48. ผู้ใดเป็นผู้มีอำนาจสั่งให้สมาชิดสภาอบต. ซึ่งได้รับการเลือกตั้งพ้นจากตำแหน่งเมื่อสอบสวนแล้วปรากฏว่าขา ดคุณ
สมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย หรือมิได้ประจำในหมู่บ้านที่ได้รับเลือกตั้งเป็นเวลาติดต่อกันเ กิน 6
เดือน หรือขาดประชุมสภา อบต. ติดต่อกันสามครั้งโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร
1. ประธานสภา อบต. 2. นายก อบต. โดยมติสภา 3. นายอำเภอ 4. ผู้ว่าราชการจังหวัด
49. การบริหารงานในรูปแบบ อบต. นายก อบต. อาจแต่งตั้งรองนายก อบต. ได้ไม่เกินกี่คน
1. 1 คน 2. 2 คน 3. 3 คน 4. 4 คน
50. ซองที่ใช้ในระเบียบงานสารบรรณมีกี่ขนาด
1. 4 ขนาด 2. 5 ขนาด 3. 6 ขนาด 4. 7 ขนาด
51. การจัดทำและทบทวนแผนพัฒนาสามปีให้แล้วเสร็จภายในเดือนใดก่อนงบป ระมาณประจำปี
1. มิถุนายน 2. ตุลาคม 3. สิงหาคม 4. ธันวาคม
52. ผู้มีอำนาจขยายเวลาจัดทำแผลพัฒนาสามปี คือผู้ใด
1. นายอำเภอ 2. ผู้บริหารท้องถิ่นที่ได้รับเลือก 3. สภาท้องถิ่น 4. ผู้ว่าราชการจังหวัด
53. คณะอนุกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นระดับอำเภอ มีประธานกรรมการคือ
1. นายอำเภอ 2. ผู้ว่าราชการจังหวัด
3. ผู้บริหารท้องถิ่นที่ได้รับเลือก 4. หัวหน้าส่วนราชการที่ได้รับแต่งตั้ง
54. ข้อใดคือคำย่อของกระทรวงมหาดไทย
1. มห. 2. มท. 3. มหท. 4. มด.
55. “หนังสือภายใน” หมายถึง
1. หนังสือที่ติดต่อภายในจังหวัดเดียวกัน 2. หนังสือที่ติดต่อภายในกรมเดียวกัน
3. หนังสือที่ติดต่อภายในกระทรวงเดียวกัน 4. ถูกทุกข้อ
56. สมาชิกสภา อบต. จำนวนไม่น้อยกว่ากี่คน ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ มีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิด
อภิปรายทั่วไปในการประชุมสภา อบต. เพื่อให้นายก อบต. แถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในปัญหาเกี่ยวกับการบริหาร อบต. โดยไม่มีการลงมติ
1. หนึ่งในสอง 2. หนึ่งในสาม 3. สามในสี่ 4. สองในสาม
57. ในเขต อบต. บุคคลใดมีอำนาจเปรียบเทียบปรับคดีละเมิดข้อบัญญัติ
1. ประธานสภา อบต. 2. สมาชิกสภา อบต. 3. นายก อบต. 4. เลขานุการสภา อบต.
58. คำขึ้นต้นของหนังสือภายในถึงบุคคลธรรมดา ใช้คำขึ้นต้นอย่างไร
1. เรียน 2. ขอประทานเสนอ 3. ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของบุคคล 4. ถึง
59. พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ 5 ) พ.ศ. 2546 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ
ใด และมีผลบังคับใช้เมื่อไหร่
1. 2 กุมภาพันธ์ 2546 มีผลบังคับใช้ 2 พฤษภาคม 2546
2. 22 กุมภาพันธ์ 2546 มีผลบังคับใช้ 22 กุมภาพันธ์ 2546
3. 2 ธันวาคม 2546 มีผลบังคับใช้ 3 ธันวาคม 2546
4. 22 ธันวาคม 2546 มีผลบังคับใช้ 23 ธันวาคน 2546
60. “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” ในระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำและประสานแผนพัฒนาขององ ค์กรปก
ครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2546 ไม่ได้หมายถึงข้อใด
1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล
2. องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล เมืองพัทยา
3. องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องคุการบริหารส่วนตำบล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มี
กฎหมายจัดตั้ง
4. องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล เมืองพัทยา กรุงเทพมหานคร
สั่งซื้อที่
ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724 Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3 ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2
ธ.กสิกรไทย ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay
[font=arial ]ผลงานการสอบได้ของลูกค้า
ติดตามข่าวการสอบราชการที่ https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่ www.ข้อสอบงานราชการไทย.com