ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : แนวข้อสอบนักสืบสวนปฏิบัติการ (ป.ป.ส.) ใหม่ล่าสุด
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบนักสืบสวนปฏิบัติการ (ป.ป.ส.) ใหม่ล่าสุด

แชร์กระทู้นี้

แนวข้อสอบนักสืบสวนปฏิบัติการ (ป.ป.ส.) ใหม่ล่าสุด

รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ

- ความรู้เกี่ยวกับสำนักงาน ปปส.

- แนวข้อสอบเกี่ยวกับ ป.ป.ส.

- ความรู้เรื่องยาเสพติด และ นโยบายแก้ไขปัญหายาเสพติด ของรัฐบาลชุดปัจจุบัน

 แนวข้อสอบพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 และแก้ไขเพิ่มเติม

แนวข้อสอบ พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ปี พ.ศ.2519 และแก้ไขเพิ่มเติม

- แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2518

- แนวข้อสอบ พรบ.มาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด 2534

- แนวข้อสอบการใช้ภาษาอังกฤษ

- แนวข้อสอบ พ.ร.ก ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546


สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 
ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com


จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
1.    ข้อใดคือความหมายของ “ยาเสพติด”
ก.    ยาเสพติดให้โทษตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ
ข.    วัตถุออกฤทธิ์ตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
ค.    สารระเหยตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันการใช้สารระเหย
ง.    ถูกทุกข้อ
2.    คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด เรียกโดยย่อว่า
ก.     ป.ป.ส.                    ค. ป.ก.ส.
ข.    ปปส.                    ง. ป.ก.ป.
3.    ใครเป็นประธานกรรมการในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
ก.    นายกรัฐมนตรี                ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
ข.    รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม        ง. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
4.    กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งมีจำนวนเท่าใด
ก.    3  คน                    ค. ไม่เกิน  6  คน
ข.    ไม่เกิน  3  คน                ง.  6  คน
5.    กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแต่งตั้งจากภาคเอกชนที่มีผลงานเป็นที่ประจักษ์เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดจำนวนเท่าใด
ก.    2  คน                    ค. 4  คน
ข.    ไม่เกิน  2  คน                ง.  3  คน
6.    กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละกี่ปี
ก.    1  ปี                    ค.  2  ปี
ข.    4  ปี                    ง.  3  ปี
7.    สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเป็นหน่วยงานในกระทรวงใด
ก.    กระทรวงสาธารณสุข            ค. กระทรวงมหาดไทย
ข.    กระทรวงการคลัง            ง. กระทรวงยุติธรรม    
8.    ข้อใดคืออำนาจหน้าที่ของ “สำนักงาน  ป.ป.ส.”
ก.    ดำเนินงานในฐานะหน่วยงานปฏิบัติของคณะกรรมการตามอำนาจและหน้าที่ที่กำหนด
ข.    ประสานนโยบาย แผน งบประมาณและการปฏิบัติงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
ค.    ปฏิบัติงานด้านการประชาสัมพันธ์ต่อต้านยาเสพติด
ง.    ถูกทุกข้อ
9.    เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการใน สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
ก.    เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
ข.    รองเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
ค.    ผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
ง.    ประธานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
10.    ข้อใดคืออำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
ก.    กำหนดแผนงานและมาตรการป้องกันและปราบปรามผู้กระทำความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับ                       ยาเสพติด
ข.    ควบคุมการสืบสวน สอบสวน และการฟ้องคดีความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด
ค.    วางโครงการและดำเนินการ ตลอดจนสั่งให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องดำเนินการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด
ง.    ถูกทุกข้อ
11.    การกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในสถานประกอบการหากเจ้าของหรือผู้ดำเนินกิจการสถานประกอบการไม่สามารถชี้แจงหรือพิสูจน์ให้คณะกรรมการเชื่อได้ว่าตนได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรแก่กรณีแล้วคณะกรรมการจะดำเนินการอย่างไร
ก.    สั่งปิดสถานประกอบการชั่วคราว            ค.  ปรับเงินสถานประกอบการ
ข.    สั่งพักใช้ใบอนุญาตประกอบการ            ง.  ถูกทั้ง  ก  และ ข
12.    จากข้อ  11 คณะกรรมการมีอำนาจสั่งปิดสถานประกอบการแห่งนั้นชั่วคราว หรือสั่งพักใช้ใบอนุญาตประกอบการสำหรับการประกอบธุรกิจนั้นไม่เกินครั้งละกี่วัน
ก.    7  วัน                        ค. 15  วัน
ข.    20  วัน                        ง.  30  วัน
13.    ข้อใดคืออำนาจหน้าที่ของกรรมการ เลขาธิการ รองเลขาธิการและเจ้าพนักงาน
ก.    ค้นบุคคล หรือยานพาหนะใดๆ ที่มีเหตุอันควรสงสัยตามสมควรว่ามียาเสพติดซุกซ่อนอยู่โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ข.    จับกุมบุคคลใดๆ ที่กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด
ค.    ยึดหรืออายัดยาเสพติดที่มีไว้โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ง.    ถูกทุกข้อ
14.    เจ้าพนักงานผู้เป็นหัวหน้าในการเข้าค้นต้องเป็นผู้ใด หากเป็นการเข้าค้นในเวลากลางคืนภายหลังพระอาทิตย์ตก
ก.     ข้าราชการพลเรือนตำแหน่งตั้งแต่ระดับ  ๗ ขึ้นไป
ข.    ข้าราชการตำรวจตำแหน่งตั้งแต่สารวัตรหรือเทียบเท่าขึ้นไป
ค.    ข้าราชการทหารตำแหน่งตั้งแต่ผู้บังคับกองร้อยหรือเทียบเท่าขึ้นไป
ง.    ถูกทุกข้อ
สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

[font=arial                              ]ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 

ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com



จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
แนวข้อสอบ
พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
1.    พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ให้ไว้ ณ วันใด
ก.    ๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๘            ค. ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘
ข.    ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๘            ง. ๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘
ตอบ    ข.๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๘
2.    พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดกี่วัน
นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ก.    30 วัน                    ค. 90  วัน
ข.    60 วัน                    ง. 180  วัน
ตอบ   ค. 90  วัน
มาตรา ๒  พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
3.    พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท มีกี่ฉบับ
ก.    2  ฉบับ                    ค. 4 ฉบับ
ข.    3  ฉบับ                    ง.  5 ฉบับ
ตอบ   ค. 4 ฉบับ  ได้แก่
พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ (ฉบับที่ ๑)
พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท (ฉบับที่ ๒ ) พ.ศ. ๒๕๒๘
พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕
พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท (ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ. ๒๕๔๓
4.    “วัตถุออกฤทธิ์” หมายความว่าอย่างไร
ก.    สิ่งปรุงไม่ว่าจะมีรูปลักษณะใด ที่มีวัตถุออกฤทธิ์รวมอยู่ด้วย
ข.    วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทที่เป็นสิ่งธรรมชาติหรือที่ได้จากสิ่งธรรมชาติ
ค.    วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทที่เป็นวัตถุสังเคราะห์
ง.    ถูกทั้ง  ข  และ ค
ตอบ   ง.ถูกทั้ง  ข  และ ค
“วัตถุออกฤทธิ์” หมายความว่า วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทที่เป็นสิ่งธรรมชาติหรือที่ได้จากสิ่งธรรมชาติ หรือวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทที่เป็นวัตถุสังเคราะห์ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
5.    สิ่งปรุงไม่ว่าจะมีรูปลักษณะใด ที่มีวัตถุออกฤทธิ์รวมอยู่ด้วย  คืออะไร
ก.    วัตถุออกฤทธิ์                ค. วัตถุตำรับ
ข.    วัตถุตำรับยกเว้น                ง. ไม่มีข้อถูก
ตอบ   ค. วัตถุตำรับ
“วัตถุตำรับ” หมายความว่า สิ่งปรุงไม่ว่าจะมีรูปลักษณะใด ที่มีวัตถุออกฤทธิ์รวมอยู่ด้วย ทั้งนี้รวมทั้งวัตถุออกฤทธิ์ที่มีลักษณะเป็นวัตถุสำเร็จรูปทางเภสัชกรรม ซึ่งพร้อมที่จะนำไปใช้แก่คนหรือสัตว์ได้
“วัตถุตำรับยกเว้น” หมายความว่า วัตถุตำรับที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้ได้รับการยกเว้นจากมาตรการควบคุมบางประการสำหรับวัตถุออกฤทธิ์ที่มีอยู่ในวัตถุตำรับนั้น
6.    ข้อใดคือความหมายของคำว่า “เสพ”
ก.    การรับวัตถุออกฤทธิ์เข้าสู่ร่างกายโดยรู้อยู่ว่าเป็นวัตถุออกฤทธิ์ด้วยวิธีการกิน
ข.    การรับวัตถุออกฤทธิ์เข้าสู่ร่างกายโดยรู้อยู่ว่าเป็นวัตถุออกฤทธิ์ด้วยวิธีการสูดดม
ค.    การรับวัตถุออกฤทธิ์เข้าสู่ร่างกายโดยรู้อยู่ว่าเป็นวัตถุออกฤทธิ์ด้วยวิธีการฉีด
ง.    การรับวัตถุออกฤทธิ์เข้าสู่ร่างกายโดยรู้อยู่ว่าเป็นวัตถุออกฤทธิ์ไม่ว่าด้วยวิธีใดหรือทางใด
ตอบ   ง. การรับวัตถุออกฤทธิ์เข้าสู่ร่างกายโดยรู้อยู่ว่าเป็นวัตถุออกฤทธิ์ไม่ว่าด้วยวิธีใดหรือทางใด    
“เสพ” หมายความว่า การรับวัตถุออกฤทธิ์เข้าสู่ร่างกายโดยรู้อยู่ว่าเป็นวัตถุออกฤทธิ์ไม่ว่าด้วยวิธีใดหรือทางใด
     “ติดวัตถุออทธิ์”หมายความว่า เสพเป็นประจำติดต่อกันจนตกอยู่ในสภาพที่จำเป็นต้องพึ่งวัตถุออกฤทธิ์นั้น โดยสามารถตรวจพบสภาพเช่นว่านั้นได้ตามหลักวิชาการ
7.    ใครเป็นรักษาการตามพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘
ก.    รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข        
ข.    รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน
ค.    รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ง.    รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ตอบ   ก.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
มาตรา ๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้และให้มีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ออกกฎกระทรวงกำหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราท้ายพระราชบัญญัตินี้ ยกเว้นค่าธรรมเนียมและกำหนดกิจการอื่นกับออกประกาศ ทั้งนี้ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
8.    ใครมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา เพิกถอน หรือเปลี่ยนแปลงชื่อหรือประเภทวัตถุออกฤทธิ์
ก.    ปลัดการกระทรวงสาธารณสุข        ค. เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ข.    รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข    ง. คณะกรรมกาวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
ตอบ   ข.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
มาตรา ๖ ให้รัฐมนตรีมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(๑) ระบุชื่อและจัดแบ่งประเภทวัตถุออกฤทธิ์ว่าวัตถุออกฤทธิ์ใดอยู่ในประเภท ๑ ประเภท ๒ ประเภท ๓ หรือประเภท ๔
(๒) กำหนดมาตรฐานว่าด้วยปริมาณส่วนประกอบคุณภาพ ความบริสุทธิ์ หรือลักษณะอื่นของวัตถุออกฤทธิ์ ตลอดจนการบรรจุและการเก็บรักษาวัตถุออกฤทธิ์ตาม (๑)
(๓) เพิกถอน หรือเปลี่ยนแปลงชื่อหรือประเภทวัตถุออกฤทธิ์ตาม (๑)
(๔) ระบุชื่อและประเภทวัตถุออกฤทธิ์ที่ห้ามมิให้ผลิต ขาย นำเข้า ส่งออก นำผ่านหรือมีไว้ในครอบครอง
(๔ ทวิ) ระบุชื่อวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ซึ่งอนุญาตให้ผลิตเพื่อส่งออกและส่งออกได้
(๕) ระบุชื่อและประเภทวัตถุออกฤทธิ์ที่ต้องมีคำเตือนหรือข้อควรระวังเป็นหนังสือหรือเป็นภาพ ให้ผู้ใช้ระมัดระวังตามความจำเป็นเพื่อความปลอดภัยของผู้ใช้
(๖) ระบุชื่อและประเภทวัตถุออกฤทธิ์ที่ต้องแจ้งกำหนดสิ้นอายุไว้ในฉลาก
(๗) ระบุวัตถุตำรับให้เป็นวัตถุตำรับยกเว้น
(๗ ทวิ) กำหนดปริมาณการมีไว้ในครอบครองหรือใช้ประโยชน์ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ หรือประเภท ๒ ตามมาตรา ๑๐๖ ทวิ
(๘) ระบุชื่อและประเภทวัตถุออกฤทธิ์ที่ห้ามนำเข้าไปยังประเทศหนึ่งประเทศใดตามมาตรา ๘๓
(๙) ระบุสถาบันของทางราชการตามมาตรา ๑๕ (๒) มาตรา ๑๗ (๒) และมาตรา ๖๓ (๓)
(๑๐)  กำหนดสถานพยาบาลผู้ติดวัตถุออกฤทธิ์
(๑๑) กำหนดระเบียบข้อบังคับเพื่อควบคุมการรักษาพยาบาลและระเบียบวินัยสำหรับสถานพยาบาล
9.    พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ มีกี่หมวด กี่มาตรา
ก.    10  หมวด  119  มาตรา  1 บทเฉพาะกาล
ข.    11  หมวด  119  มาตรา  1 บทเฉพาะกาล
ค.    12  หมวด  110  มาตรา  1 บทเฉพาะกาล
ง.    12  หมวด  119  มาตรา  1 บทเฉพาะกาล
ตอบ   ง.12  หมวด  119  มาตรา  1 บทเฉพาะกาล
หมวด ๑ คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
หมวด ๒ การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์
หมวด ๓ หน้าที่ของผู้รับอนุญาต
หมวด ๔ หน้าที่ของเภสัชกร
หมวด ๕ วัตถุออกฤทธิ์ปลอม วัตถุออกฤทธิ์ผิดมาตรฐาน และวัตถุออกฤทธิ์เสื่อมคุณภาพ
หมวด ๖ การขึ้นทะเบียนวัตถุตำรับ
หมวด ๗การโฆษณา
หมวด ๘ พนักงานเจ้าหน้าที่
หมวด ๙ การพักใช้ใบอนุญาตและการเพิกถอนใบอนุญาต
หมวด ๑๐ มาตรการควบคุมพิเศษ
หมวด ๑๑การค้าระหว่างประเทศ
หมวด ๑๒บทกำหนดโทษ
10.    ใครเป็นประธานใน “คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท”
ก.    ปลัดกระทรวงสาธารณสุข        
ข.    เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ค.    รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข    
ง.    เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
ตอบ  ก. ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรา ๗๑๐ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท” ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธานกรรมการ อธิบดีกรมการแพทย์หรือผู้แทน อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์หรือผู้แทน อธิบดีกรมอนามัยหรือผู้แทน อธิบดีกรมตำรวจหรือผู้แทน อัยการสูงสุดหรือผู้แทน อธิบดีกรมศุลกากรหรือผู้แทนเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาหรือผู้แทน เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดหรือผู้แทน ผู้อำนวยการกองสุขภาพจิต กรมการแพทย์ และผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งอีกไม่เกินเจ็ดคน เป็นกรรมการ              
ให้เลขาธิการเป็นกรรมการและเลขานุการ และผู้อำนวยการกองควบคุมวัตถุเสพติด สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
11.    กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละกี่ปี
ก.    2 ปี                    ค. 4  ปี
ข.    3 ปี                    ง.  5  ปี
ตอบ  ก. 2 ปี
มาตรา ๘ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสองปีกรรมการซึ่งพ้นจากตำแหน่งอาจได้รับการแต่งตั้งอีกได้
12.    ใครมีอำนาจในการพักใช้ใบอนุญาต การเพิกถอนใบอนุญาต การเพิกถอนทะเบียนวัตถุตำรับ หรือการเพิกถอนวัตถุตำรับยกเว้น
ก.    รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
ข.    คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
ค.    เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ง.    ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ตอบ   ข. คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

[font=arial                              ]ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 

ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

กรุณาใช้ข้อความที่สุภาพ คุณสามารถบันทึกฉบับร่างได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้