1. การเก็บรวบรวมข้อมูลที่สำคัญและใช้กันทั่วไปได้แก่?
ก. การสังเกต การสัมภาษณ์ การใช้แบบทดสอบ
ข. การสังเกต การสัมภาษณ์ การทดลอง
ค. การสัมภาษณ์ การใช้แบบทดสอบ
ง. การสังเกต การทดลอง การใช้แบบสอบถาม
จ. การรายงาน การลอง การใช้แบบสอบถาม
ตอบ ก. การสังเกต การสัมภาษณ์ การใช้แบบทดสอบ
2. ข้อใดไม่ใช่หลักของการสังเกตที่ดี?
ก. การสังเกตต้องมีการบันทึกรายละเอียดข้อเท็จจริง
ข. ผู้สังเกตควรฝึกให้มีทักษะในการใช้เครื่องมือบันทึกผล
ค. ไม่จำเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่จะสังเกตก่อนการสังเกต
ง. มีความสอดคล้องระหว่างสิ่งที่จะสังเกตกับปัญหาที่จะวิจัย
จ. ข้อ ค. และ ง.
ตอบ ค. ไม่จำเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่จะสังเกตก่อนการสังเกต
3. ข้อใดเป็นข้อจำกัดหรือจุดอ่อนของการสังเกต?
ก. ช่วยให้ได้ข้อเท็จจริงที่ไม่บิดเบือน
ข. ช่วยให้ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้ทั่วถึงทุกแง่มุมของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ค. ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้ทั่วถึงทุกแง่มุมของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ง. เมื่อรู้ตัวว่าถูกสังเกต อาจจะเปลี่ยนพฤติกรรมไม่ตรงกับความเป็นจริง
จ. ข้อ ค. และ ง. ถูก
ตอบ จ. ข้อ ค. และ ง. ถูก
4. คุณลักษณะข้อใดที่ผู้สัมภาษณ์ไม่มีก็ได้?
ก. พูดชัดเจน แจ่มใส ใช้ภาษาที่ถูกต้อง
ข. สามารถสร้างบรรยากาศของความไว้วางใจ
ค. ถ้าการสัมภาษณ์ต้องใช้ภาษาอื่นผู้สัมภาษณ์ควรจะพูดสัมภาษณ์
ง. รู้จักจดบันทึกการสัมภาษณ์ให้เป็นระเบียบ
จ. ไม่มีข้อถูก
ตอบ จ. ไม่มีข้อถูก
5. คำถามที่ผู้สัมภาษณ์ไม่ควรใช้คือข้อใด?
ก. คำถามแบบกว้างๆ
ข. ถามให้ตรงจุดที่สุด
ค. คำถามยั่วยุให้อยากตอบ
ง. คำถามที่มีลักษณะติดต่อกันเป็นลูกโซ่
ตอบ ก. คำถามแบบกว้างๆ
6. ข้อใดมิใช่ลักษณะการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Interview)?
ก. กำหนดหรือเตรียมคำถามไว้ล่วงหน้า
ข. เป็นแบบสัมภาษณ์หรือแบบสอบถามซึ่งมีแนวคำถามไว้ให้เลือก
ค. ผู้สัมภาษณ์เปิดโอกาสให้ผู้ถูกสัมภาษณ์ได้แสดงความคิดเห็นของตนเอง
ง. ใช้คำถามกับผู้ให้สัมภาษณ์ทุกคนเหมือนกันหมด
จ. ข้อ ข. และ ง.
ตอบ ก. เป็นการสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง (Structured Interview)
7. หลักการสัมภาษณ์ควรปฏิบัติตามข้อใดเป็นประการแรก?
ก. ศึกษาในเรื่องที่ตนจะไปสัมภาษณ์
ข. ศึกษาประวัติส่วนตัวของผู้สัมภาษณ์
ค. เลือกผู้ให้สัมภาษณ์อย่างรอบคอบ
ง. ผู้ให้สัมภาษณ์มีอคติต่อเรื่องที่จะสัมภาษณ์เพียงใด
จ. สร้างความสัมพันธ์กับผู้ให้สัมภาษณ์
ตอบ ก. ศึกษาในเรื่องที่ตนจะไปสัมภาษณ์
8. ผู้สัมภาษณ์ไม่ควรปฏิบัติในการสัมภาษณ์ตามข้อใด?
ก. ศึกษาประวัติของผู้ให้สัมภาษณ์ทั้งในอดีตและปัจจุบัน
ข. ไม่สัมภาษณ์ผู้ที่มีอคติเรื่องที่จะสัมภาษณ์
ค. สร้างความสัมพันธ์ เป็นกันเองกับผู้ให้สัมภาษณ์
ง. ไม่จำเป็นต้องสร้างคำถามไว้ล่วงหน้า
จ. ไม่ถามในสิ่งที่ผู้ให้สัมภาษณ์ไม่ต้องการตอบ
ตอบ ง. ไม่จำเป็นต้องสร้างคำถามไว้ล่วงหน้า
9. ข้อใดไม่ควรปฏิบัติในการสัมภาษณ์?
ก. ให้ผู้ให้สัมภาษณ์พูดมากกว่าฟัง
ข. ไม่ควรใช้คำถามนำ
ค. ตะล่อมให้ผู้ให้สัมภาษณ์ตอบในประเด็น
ง. ไม่แสดงอาการเบื่อหน่ายให้ผู้สัมภาษณ์เห็น
จ. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ จ. ไม่มีข้อใดถูก
10. การบันทึกผลสัมภาษณ์มีหลักการปฏิบัติตามข้อใด?
ก. บันทึกผลทันที
ข. บันทึกระหว่างการสัมภาษณ์
ค. บันทึกหลังการสัมภาษณ์เสร็จใหม่ๆ
ง. บันทึกตามที่สะดวก
จ. ข้อ ก. ข้อ ข. และ ข้อ ค.
ตอบ จ. บันทึกผลทันที อาจบันทึกระหว่างการสัมภาษณ์หรือหลังการสัมภาษณ์เสร็จใหม่ๆ ไม่ควรทิ้งไว้นาน อาจหลงลืมหรือคาดเคลื่อนได้
11. ข้อความในการบันทึกผลสัมภาษณ์ ควรประกอบด้วยอะไรบ้าง?
ก. ชื่อและที่อยู่ของผู้ให้สัมภาษณ์ ข. วัน เดือน ปี ที่สัมภาษณ์
ค. ผลการสัมภาษณ์ ง. สรุปผลการสัมภาษณ์
จ. ถูกทุกข้อ
ตอบ จ. ถูกทุกข้อ
12. ข้อใดมิใช่ข้อดีของการสัมภาษณ์?
ก. สิ้นเปลืองเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายน้อย
ข. ช่วยให้รู้ข้อเท็จจริงบางเพิ่มเติมในขณะสัมภาษณ์
ค. สามารถเก็บข้อมูลได้จากบุคคลทุกประเภท ทุกเพศ ทุกวัย
ง. สามารถหาข้อเท็จจริงที่ยุ่งยากซับซ้อนซึ่งแอบแฝงอยู่ได้
จ. เมื่อมีข้อข้องใจหรือไม่เข้าใจคำถามก็สามารถทำความเข้าใจกันได้
ตอบ ก. ข้อจำกัดของการสัมภาษณ์มักจะสิ้นเปลืองเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายน้อย
13. ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์จะเชื่อถือได้เพียงใด ขึ้นอยู่กับข้อใด?
ก. เวลา ข. ค่าใช้จ่าย
ค. ผู้สัมภาษณ์ ง. ผู้ให้สัมภาษณ์
จ. ถูกทุกข้อ
ตอบ ค. ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์จะเชื่อถือได้เพียงใด ขึ้นอยู่กับความรู้และประสบการณ์ของผู้สัมภาษณ์เป็นส่วนใหญ่
14. ข้อดีแบบสอบถามแบบปลายเปิด (Open - ended Questionnaire) คือข้อใด?
ก. สร้างคำถามได้ง่าย
ข. ผู้ตอบมีโอกาสใช้ความคิดได้อย่างเสรี
ค. ได้ข้อมูลที่เป็นความคิดเห็น ทัศนคติ
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
15. ข้อจำกัดของแบบแบบสอบถามแบบปลายเปิด (Open - ended Questionnaire) คือข้อใด?
ก. ไม่อำนวยความสะดวกแก่ผู้ตอบ
ข. รวบรวมคำตอบยาก
ค. ผู้ตอบไม่มีโอกาสใช้ความคิดได้อย่างเสรี
ง. ข้อ ก. และ ข.
จ. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ข้อ ก. และ ข.
16. ข้อใดมิใช่ข้อดีของแบบสอบถามแบบปลายเปิด (Open - ended Questionnaire) คือข้อใด?
ก. ผู้ตอบตอบได้เร็ว ข. ได้คำตอบตรงกับปัญหาที่ต้องการ
ค. คำตอบมีความเชื่อถือสูง ง. สร้างแบบสอบถามได้ยาก
จ. ไม่มีข้อถูก
ตอบ ง. สร้างแบบสอบถามได้ยาก
17. ข้อใดเป็นข้อจำกัดของแบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล?
ก. ขาดการติดต่อกับกลุ่มตัวอย่างโดยตรง (ส่งไปรษณีย์)
ข. มีลักษณะยืดหยุ่นน้อย
ค. ความลำเอียงของผู้สร้างแบบสอบถาม
ง. ข้อ ก. และ ข.
จ. ข้อ ก. ข้อ ข. และข้อ ค.
ตอบ จ. ข้อ ก. ข้อ ข. และข้อ ค.
18. การเก็บรวบรวมข้อมูลสนาม ทำได้โดยวิธีใด?
ก. การสังเกต ข. การสัมภาษณ์
ค. การใช้แบบสอบถาม ง. ข้อ ก. และ ข.
จ. ข้อ ก. ข้อ ข. และข้อ ค.
ตอบ ค. การใช้แบบสอบถาม
19. ถ้าประชากรเป็นเกษตรกร ควรใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลวิธีใด?
ก. การสังเกต ข. การสัมภาษณ์
ค. การใช้แบบสอบถาม ง. ข้อ ก. และ ข.
จ. ข้อ ก. ข้อ ข. และข้อ ค.
ตอบ ข. การสัมภาษณ์
20. การเก็บรวบรวมข้อมูลกลุ่มตัวอย่างที่มีขนาดใหญ่และประหยัดเวลา ค่าใช้จ่ายควรใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลวิธีใด?
ก. การสังเกต ข. การสัมภาษณ์
ค. การใช้แบบสอบถาม ง. ข้อ ก. และ ข.
จ. ข้อ ก. ข้อ ข. และข้อ ค.
ตอบ ค. การใช้แบบสอบถาม
21. ทดสอบกี่ครั้งก็ได้ผลเหมือนเดิม แสดงว่าเครื่องมือมีคุณภาพในด้านใด
ก. ความเชื่อมั่น ข. ความเที่ยงตรง
ค. ความเป็นปรนัย ง. ความเป็นอัตนัย
จ. ความแม่นยำ
ตอบ ก. ความเชื่อมั่น
22. คำถามชัดเจน รัดกุม การให้คะแนนและตีความหมายของคะแนนเป็นอย่างเดียวกัน แสดงว่าเครื่องมือมีคุณภาพในด้านใด?
ก. ความเชื่อมั่น ข. ความเที่ยงตรง
ค. ความเป็นปรนัย ง. ความเป็นอัตนัย
จ. ความแม่นยำ
ตอบ ค. ความเป็นปรนัย
23. วัดได้ตามความต้องการหรือวัตถุประสงค์ แสดงว่าเครื่องมือมีคุณภาพในด้านใด?
ก. ความเชื่อมั่น ข. ความเที่ยงตรง
ค. ความเป็นปรนัย ง. ความเป็นอัตนัย
จ. ความแม่นยำ
ตอบ ข. ความเที่ยงตรง
24. ข้อมูลสำมะโนประชากร สถิติจากหน่วยงาน เอกสาร จัดเป็นข้อมูลประเภทใด?
ก. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ข. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)
ค. ไตรภูมิ (Third Data) ง. ชั้นรอง
จ. สื่อสิ่งพิมพ์
ตอบ ข. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)
25. ข้อใด มิใช่ ข้อดีของข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ?
ก. ประหยัดค่าใช้จ่าย ข. ข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์
ค. ศึกษาย้อนหลังได้ ง. สิ้นเปลืองเวลา ค่าใช้จ่าย
จ. ข้อ ข. และ ง.
ตอบ จ. ข้อ ข. และ ง.
26. ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล ขั้นตอนแรกคือ?
ก. กำหนดแหล่งข้อมูล ข. กำหนดข้อมูลและตัวชี้วัด
ค. เลือกกลุ่มตัวอย่าง ง. เลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
จ. ตั้งสมมุติฐาน
ตอบ ข. กำหนดข้อมูลและตัวชี้วัด
27. เครื่องมือรวบรวมข้อมูลได้แก่?
ก. แบบทดสอบ ข. แบบสอบถาม
ค. แบบสัมภาษณ์ ง. แบบประเมินค่า
จ. ถูกทุกข้อ
ตอบ จ. ถูกทุกข้อ
28. ข้อใดกล่าวไม่ถูกกต้อง
ก. ข้อมูลสนามเป็นข้อมูลปฐมภูมิ ข. ข้อมูลสนามเป็นข้อมูลทุติยภูมิ
ค. ข้อมูลสนามใช้วิธีเก็บรวมรวบจากแหล่งข้อมูล
ง. การเก็บข้อมูลสนามใช้การสังเกต การสัมภาษณ์ และแบบทดสอบ
จ. ข้อ ข. และ จ.
ตอบ ข. ข้อมูลสนามเป็นข้อมูลทุติยภูมิ
29. ข้อใดเป็นการสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Observation)?
ก. กำหนดหัวข้อที่จะศึกษาไว้แล้ว
ข. ผู้สังเกตมีอิสระเต็มที่ในการบันทึกสิ่งที่พบเห็น
ค. ไม่มีแบบฟอร์มช่วยในการบันทึก
ง. ส่วนมากใช้ผู้สังเกตมากกว่า 1 คน
จ. ข้อ ข. และ ค.
ตอบ จ. ข้อ ข. และ ค.
ข้อใดมิใช่ ข้อดีของการสังเกตในการเก็บรวบรวมข้อมูล?
ก. สามารถบันทึกข้อเท็จจริงได้
ข. ได้ข้อเท็จจริงที่ไม่บิดเบือน
ค. ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้ทุกแง่มุมของเหตุการณ์
ง. ปรากฏการณ์บางอย่างยากที่จะสังเกตได้
จ. ข้อ ค. และ ง.
ตอบ จ. ข้อ ค. และ ง.
สั่งซื้อที่
ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724 Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3 ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2
ธ.กสิกรไทย ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay
ผลงานการสอบได้ของลูกค้า
ติดตามข่าวการสอบราชการที่ https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่ www.ข้อสอบงานราชการไทย.com