เหตุที่ว่า กฎหมายสันนิษฐานไว้ก่อนว่า บุคคลทุกคนเป็นผู้บริสุทธิ์ศาลจะลงโทษจำเลยได้ก็ต่อเมื่อได้ความว่า จำเลยได้กระทำผิดและมีหลักที่ว่าผู้ใดกล่าวอ้างผู้นั้นมีหน้าที่นำสืบทั้งนี้เพราะเหตุว่าตามปกติโจทก์จะต้องกล่าวอ้างความผิดที่ได้ฟ้องพร้อมทั่งการกระทำทั้งหลายอันที่อ้างว่าจำเลยได้กระทำผิด คือ
ก. ข้อเท็จจริงและรายละเอียดที่เกี่ยวกับเวลาและสถานที่ซึ่งเกิดการกระทำนั้น
ข. บุคคลหรือสิ่งของที่เกี่ยวข้องด้วยพอสมควรเท่าที่จะทำให้จำเลยเข้าใจข้อหาคดีได้ดี
ค. ข้อ ก. และ ข. ถูก
ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ (ค.)
183. ในคดีอาญานั้น โดยหลักกแล้วโจทก์ต้องมีหน้าที่นำสืบหรือภาระการพิสูจน์เสมอไปเว้นแต่
ก. จำเลยจะยกข้อต่อสู้เพื่อให้ตนได้รับการยกเว้นโทษหรือลดโทษภาระการพิสูจน์จึงจะตกอยู่กับ
จำเลย
ข. เมื่อจำเลยรับสารภาพ
ค. ข้อ ก. และ ข. ถูก
ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ (ก.)
184. กรณีที่การกระทำความผิดมีจำเลยหลายคน จำเลยบางคนเบิกความต่อศาลขออ้างตนเป็นพยานเพื่อประกอบการปฏิเสธการที่ถูกกล่าวหา ดังนี้จะกระทำได้หรือไม่
ก. จำเลยไม่สามารถจะอ้างได้ ข. ไม่มีกฎหมายบัญญัติได้โดยเฉพาะ
ค. เป็นการอ้างที่ถูกต้องตามกฎหมาย ง. นักกฎหมายยังมีความเห็นขัดแย้งกันอยู่
ตอบ (ค.)
185. เอกสารซึ่งโจทก์ได้อ้างเป็นพยานนั้นอยู่ในความครอบครองของจำเลย โจทก์จึงไม่สามทารถนำมาแสดงต่อศาลได้ กฎหมายจึงให้โจทก์ปฏิบัติดังนี้
ก. แจ้งลักษณะที่อยู่ของเอกสารเพื่อขอให้ศาลออกหมายเรียกมาส่งโจทก์
ข. ขอให้ศาลออกหมายจับผู้ยึดถือ
ค. แจ้งลักษณะและที่อยู่ของเอกสารเพื่อขอให้ศาลออกหมายจับผู้ยึดถือเอกสาร
ง. แจ้งลักษณะที่อยู่ของเอกสารเพื่อขอให้ศาลออกหมายจับผู้ยึดถือเอกสาร
ตอบ (ค)
ข้อสังเกต ตามมาตรา 239 วิอาญา
186. พยานผู้ชำนาญการพิเศษ จะต้องทำความเห็นเป็นหนังสือต่อศาลเสมอไปหรือไม่
ก. พยานผู้ชำนาญการพิเศษต้องทำเป็นหนังสือเสมอ
ข. หากไม่ทำเป็นหนังสือต้องไปเบิกความต่อศาล
ค. จะทำเป็นหนังสือต่อเมื่อศาลสั่งและต้องเบิกความประกอบความเห็น
ง. หากได้ทำความเห็นเป็นหนังสือแล้วไม่ต้องเบิกความประกอบความเห็นต่อศาลก็ได้
ตอบ (ค.)
ข้อสังเกต มาตรา 243 วิอาญา
187. คำเบิกความของพยานที่เคยเห็นลายมือชื่อของจำเลยเสมอมาเป็นเวลาสิบปีและจำเลยก็ได้ทำงานอยู่ใต้บังคับบัญชาของพยานด้วย ดังนี้ศาลรับฟังเป็นพยานได้หรือไม่
ก. รับฟังไม่ได้
ข. เป็นประจักษ์พยานไม่ถือว่าเป็นพยานผู้ชำนาญการพิเศษ
ค. รับฟังได้และถือเสมือนว่าเป็นพยานผู้ชำนาญการพิเศษ
ง. หากมีพยานแวดล้อมกรณีประกอบความเห็นเป็นหนังสือก็รับฟังได้
ตอบ (ค.)
188. ปกติศาลจะรับฟังพยานผู้ชำนาญการพิเศษเสมอไปหรือไม่
ก. ศาลไม่จำเป็นต้องรับฟังเสมอไปแม้เป็นพยานชั้นหนึ่ง
ข. ศาลต้องรับฟังเสมอเพราะถือว่าเป็นพยานชั้นหนึ่ง
ค. เป็นเรื่องที่กฎหมายบังคับ ศาลต้องรับฟังเสมอ ง. ถูกทั้งข้อ ข. และข้อ ค.
ตอบ (ก.)
189. คำพยานผู้เชี่ยวชาญ หากเบิกความขัดกับคำประจักษ์พยานโดยตรง ศาลจะฟังคำพยานใด
ก. พยานผู้เชี่ยวชาญเพราะเป็นพยานตามหลักวิชาการ
ข. ศาลย่อมฟังคำพยานโดยยตรงยิ่งกว่าของผู้เชี่ยวชาญเพราะได้รู้เห็นมาเอง
ค. รับฟังพยานผู้เชี่ยวชาญเพราะเป็นพยานชั้นหนึ่ง
ง. ถูกทั้งข้อ ก. และข้อ ค.
ตอบ (ข.)
190. ลายมือชื่อในเอกสารไม่ตรงกับลายมือชื่ออันแท้จริงของจำเลย แต่โจทก์มีพยานเห็นจำเลยเซ็นชื่อลงในเอกสารนั้น ศาลจะฟังคำพยานใด
ก. ศาลย่อมเชื่อพยานผู้เชี่ยวชาญเพราะเป็นพยานตามหลักวิชาการ
ข. พยานผู้เชี่ยวชาญเป็นพยานชั้นหนึ่ง
ค. ศาลย่อมเชื่อพยานโดยตรงถ้าหากว่าคำเบิกความของพยานนั้นเป็นที่เชื่อถือได้
ง. ถูกทั้งข้อ ก. และข้อ ข.
ตอบ (ค.)
191. การถามติงทั้งในคดีอาญาหรือคดีแพ่ง มีข้อห้ามกำหนดไว้ คือ
ก. ห้ามใช้คำถามนำ เว้นแต่ศาลจะอนุญาตหรือคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งยินยอม
ข. ห้ามใช้คำถามที่ไม่เกี่ยวกับเรื่องที่ได้ถามค้างไว้
ค. ข้อ ก. และ ข. ถูก ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ (ค.) ข้อสังเกต มาตรา 118 วิแพ่ง
ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่ศาลจะรับฟังได้ คือ
ก. ผู้เชี่ยวชาญที่ศาลแต่งตั้งตาม ป. วิ. แพ่ง ม. ๙๙ และ ม. ๑๒๙
ข. ผู้มีความรู้เชี่ยวชาญคือ พยานบุคคลซึ่งคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งระบุว่ามาเป็นพยาน
. ค. ผู้เชำนาญพิเศษหรือบุคคลซึ่งถูกเรียกหรืออ้างเอามาเป็นพยานให้การไต่สวนมูลฟ้อง
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ (ง.)
193. ตาม ป. วิ. แพ่งมาตรา ๔๔ บัญญัติว่า เมื่อใดมีกฎหมายบังคับให้ต้องมีพยานเอกสารมาแสดงหห้ามมิให้ศาลยอมรับฟังพยานบุคคลในกรณีใด
ก. ขอสืบพยานบุคคลแทนพยานเอกสาร เมื่อไม่สามารถนำเอกสารมาแสดง
ข. ขอสืบพยานบุคคลประกอบข้ออ้างอย่างใดอย่างหนนึ่ง เมื่อได้นำเอกสารมาแสดงแล้ว่ายังมีข้อความเพิ่มเติมตัดทอนหรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสารนั้น
ค. ข้อ ก. และ ข. ถูก
ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ (ค.)
194. คำรับของบุคคลอื่นสามารถนำมาใช้ยันคู่ความเสมือนคำรับของคู่ความเองได้ในกรณี คือ
ก. คำรับของผู้เคยเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์รายพิพาทมาก่อน
ข. คำกล่าวรับของตัวแทนซึ่งกระทำการไปในขอบอำนาจย่อมผูกพันตัวการ
ก. คำกล่าวรับของผู้แทนนิติบุคคล ซึ่งกระทำไปภายในขอบเขตวัตถุประสงค์ของนิติบุคคลนั้นย่อม
ผูกพันนิติบุคคล
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ (ง.)
195. การถามค้าน หมายความว่า
ก. การถามพยานคู่ความฝ่ายตรงข้ามกับฝ่ายที่อ้างพยานเป็นผู้ซักถาม
ข. การถามเพื่อทำลายน้ำหนักคำพยานที่ได้ตอบคำถามองคู่ความฝ่ายที่อ้างพยานไปแล้ว
ค. คือการถามพยานคู่โดยคู่ความฝ่ายที่อ้างพยานบุคคลนั้น
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
ตอบ(ง.)
196. การถามติง คือ
ก. การถามพยานคู่ความฝ่ายตรงข้ามกับฝ่ายที่อ้างพยานเป็นผู้ซักถาม
ข. การถามเพื่อทำลายน้ำหนักคำพยานที่ได้ตอบคำถามของคู่ความฝ่ายที่อ้างพยานนั้นไปแล้ว
ค. คือการถามพยานคู่โดยคู่ความฝ่ายที่อ้างพยานบุคคลนั้น
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
ตอบ(ค.)
197. พยานคู่ หมายถึง
ก. พยานที่นำตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป ที่เห็นเหตุการณ์อันเดียวกันหรืออยู่ในที่เดียวกันในที่เกิดเหตุ
ข. พยานที่โจทก์และจำเลยอ้างรวมกัน
ค. พยานที่คู่ความอ้างเป็นพยานและคู่ความสามารถนำพยานมาสืบต่อศาลโดยความสมัครใจ
ของพยาน
ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ(ก.)
198. พยานร่วม หมายถึง
ก. พยานที่นำสืบตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป ที่เห็นเหตุการณ์อันเดียวกันหรืออยู่ในที่เดียวกันในที่เกิดเหตุ
ข. พยานที่โจทก์และจำเลยอ้างร่วมกัน
ค. พยานที่คู่ความอ้างเป็นพยานและคู่ความสามารถนำสืบต่อศาลโดยความสมัครใจของพยาน
ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ(ข.)
199. พยานนำ หมายถึง
ก. พยานที่นำสืบตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไปที่เห็นเหตุการณ์อันเดียวกันหรืออยู่ในที่เดียวกันในที่เกิดเหตุ
ข. พยานที่โจทก์และจำเลยอ้างร่วมกัน
ค. พยานที่คู่ความอ้างเป็นพยานและคู่ความสามารถนำสืบต่อศาลโดยความสมัครใจของพยาน
ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ(ค.)
200. พยานบุคคลซึ่งมีสิทธิไม่ต้องไปศาล เมื่อได้รับหมายเรียก
ก. พระมหากษัตริย์ ข. พระราชินี
ค. ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ (ง.)
201. พยานบุคคลที่ไม่ต้องสาบานและปฏิญาณตัว มีดังนี้
ก. บาทหลวงคาทอลิก ข. พราหมณ์อินเดีย ค. พระสงฆ์พม่า ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ(ค.)
202. นายดำ ถูกฟ้องในข้อหาลักทรัพย์ ในชั้นพิจารณาคดีนายดำให้การรับสารภาพต่อศาล คำรับ
สารภาพของนายดำ มีผลอย่างไรในการพิจารณาพิพากษาคดี
ก. ศาลจะพิพากษาคดีได้โดยไม่ต้องสืบพยานหลักฐานต่อไปก็ได้
ข. ศาลต้องสืบพยานหลักฐานต่อไปจนกว่าเชื่อแน่ว่ากระทำผิดจริงหรือไม่
ค. ถ้าในชั้นสอบสวนนายดำให้การปฏิเสธศาลต้องสืบพยานหลักฐาน
ง. คดีอาญาทุกคดี เมื่อจำเลยรับสารภาพในชั้นพิจารณาคดี ศาลจะพิพากษาคดีได้เลยโดยไม่ต้องสืบพยาน
ตอบ (ก.)
ข้อสังเกต คดีลักทรัพย์มีโทษจำคุกต่ำกว่า 5 ปี
203. นาย ก. ได้ใช้อาวุธมีดแทงที่ท้องของนาย ข. ขณะเกิดเหตุเป็นเวลากลางวัน นาย ค. ได้เห็นเหตุการณ์โดยยืนดูอยู่ห่างระยะประมาณ ๑๐ เมตร หลังจากที่นาย ก. แทงนาย ข. แล้ว ได้ถืออาวุธมีดที่แทงนาย ข. วิ่งผ่านหน้านาย ง. ไป โดยนาย ง. เห็นเพียงนาย ก. ถืออาวุธมีดวิ่งผ่านหน้าไปในทันทีหลังจากที่เกิดเหตุ อุทาหรณ์ดังกล่าว
ก. นาย ค. เป็นพยานโดยตรง นาย ง. เป็นพยานพฤติเหตุแวดล้อมกรณี
ข. ทั้งนาย ค. และนาย ง. เป็นพยานโดยตรง
ค. นาย ค. เป็นประจักษ์พยาน ส่วนนาย ง. เป็นพยานพฤติเหตุแวดล้อมกรณี
ง. ข้อ ก. และ ข้อ ค. ถูก
ตอบ (ก)
ข้อสังเกต พยานต้องเบิกความโดยไม่มีการจูงใจการให้คำมั่นสัญญา
การที่นาย ก. เป็นแพทย์ประจำโรงพยาบาลของรัฐบาลแห่งหนึ่ง ได้ทำการตรวจรักษาผู้บาดเจ็บจากการถูกทำร้าย โดยเจ้าหน้าที่ตำรวจได้ส่งไปให้ตรวจ และเจ้าหน้าที่ตำรวจได้ทำการสสอบสวนปปากคำนายแพททย์ผู้ตรวจไว้โดยละเอียดเรียบร้อยแล้ว
ก. ในชั้นพิจารณาของศาลนั้น นายแพทย์ ก. ไม่ต้องมาเบิกความที่ศาลก็ได้เพราะถือเอาคำให้การของ นายแพทย์ ก.
ข. นายแพทย์ ก. ต้องมาเบิกความประกอบคำให้การนั้นเพราะถือเป็นผู้ชำนาญการพิเศษ
ค. คำให้การของนายแพทย์ ก. ซึ่งมาให้การในศาลนั้น ไม่ถือเป็นผู้ชำนาญการพิเศษเพราะยังไม่ได้รับการแต่งตั้งจากศาล
ง. ข้อ ก. และ ข้อ ค. ถูก
ตอบ (ค.)
205. ในการนำสืบหักล้างข้อสันนิษฐานของกฎหมายนั้น ถ้าเป็นข้อสันนิษฐานของกฎหมายนั้น ถ้าเป็นข้อสันนิษฐานเด็ดขาด คู่ความฝ่ายหนึ่งจะนำสืบ เพื่อหักล้างไม่ได้ การสังเกตดูว่าเป็นข้สันนิษฐานเด็ดขาดหรือไม่นั้นมัจะมีคำเหหล่านนี้อยู่ด้วย คือ
ก. ให้ถือว่าหรือเว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่า ข. “ให้ถือว่า” หรือ “ต้องถือว่า”
ค. “ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า” หรือ “ให้ถือว่า” หรือ “ต้องถือว่า”
ง. “ให้ถือว่า” หรือ “ต้องถือว่า” หรือ “เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่า”
ตอบ(ข.)
206. ในคดีอาญาหลักในการนำพยานเข้าสืบก่อนหรือหลังนั้น
ก. ในคดีอาญาโจทก์จะต้องนำพยานเข้าสืบก่อนเสมอ
ข. จำเลยนำพยานเข้าสืบก่อนได้
ค. แล้วแต่ประเด็นในการนำสืบ ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ(ก.)
207. พยานที่ไม่สามารถอ้างเป็นพยานหลักฐานได้ คือ
ก. พยานที่เกิดจากการให้คำมั่นสัญญา ข. พยานบุคคล
ค. พยานชั้นที่หนึ่ง ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ (ก.)
ข้อสังเกต พยานต้องเบิกความโดยไม่มีการจูงใจการให้คำมั่นสัญญา
208. กรณีใดที่ถือว่าเป็นการส่งเอกสารถูกต้องตามกฎหมายแล้ว
ก. ส่งให้เพื่อนของพยานรับไปแล้ว ข. ส่งไปรษณีย์แล้ว
ค. ส่งเอกสารนั้นให้บุคคลใด ๆ ที่มีอายุเกินยี่สิบปี ซึ่งอยู่ในบ้านเรือนของพยาน
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ(ค.)
209. พยานที่ศาลจะรับฟังต้อง
ก. มิได้เกิดจากการจูงใจ ข. มิได้เกิดขึ้นจากการหลอกลวง
ค. มิได้เกิดขึ้นจากการขู่เข็ญ ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ(ง.)
210. โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยฐานลักทรัพย์ในเคหสถาน จำเลยให้การว่าได้เอาทรัพย์นั้นไปจริง แต่โจทก์มอบให้เป็นการชำระหนี้ ถ้าท่านเป็นศาลจะถือว่า จำเลยให้การรับแค่ไหนเพียงไร
ก. ถือเป็นคำรับสารภาพเพราะการที่จำเลยให้การว่าโจทรก์มมอบทรัพย์ให้เป็นการชำระหนี้นนั้น
เป็นเพียงข้ออ้างของจำเลย ลงโทษจำเลยได้โดยไม่ต้องนำพยานเข้าสืบ
ข. ถือว่าเป็นการปฏิเสธ การที่จำเลยให้การว่าโจทก์มมอบทรัพย์ให้เป็นการชำระหนี้สินนั้นเป็นการ
ปฏิเสธว่าจำเลยไม่มีเจตนาลักทรัพย์โจทก์ โจทก์ต้องนำพยานมาสืบให้ได้ความแน่ชัดจึงลงโทษจำเลยได้
ค. ถือว่าเป็นการปฏิเสธ เพราะเป็นคำให้การที่รับข้อเท็จจริงบางส่วน ไม่สามารถจะฟังได้ว่าผู้ต้อง
หากระทำความผิดตามข้อกล่าวหาได้ โจทก์มีหน้าที่จะต้องนำพยานหลักฐานมาสืบพิสูจน์ ให้ได้ความว่าจำเลยกระทำผิดจริงตามฟ้อง
ง. ยังฟังเป็นคำรับไม่ได้ต้องถามใหม่จนได้ความแน่ชัดว่าจำเลยให้การอย่างใดแน่
211. โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยฐานลักทรัพย์หรือรับของโจร จำเลยให้การว่า “ขอรับสารภาพตามฟ้องของโจทก์ไม่ขอสู้คดี” และโจทก์ไม่ขอนำสืบต่อไปให้ได้ความถึงการกระทำผิดของจำเลย ถ้าท่านเป็นศาลจะแปลคำรับของจำเลยในคดีนี้อย่างไร
ก. จำเลยมิได้รับในข้อหารับของโจรซึ่งมีโทษหนักกว่าความผิดฐานลักทรัพย์ เมื่อปรากฏโดยชัด
แจ้งในคำให้การจำเลยจะลงโทษจำเลยในข้อหาที่หนักกว่าไม่ได้ จำเลยคงมีความผิดฐานลักทรัพย์
ข. จำเลยรับสารภาพทั้งสองกระทงความผิด ลงโทษจำเลยทั้งสองข้อหาเรียงกระทงความผิด
ค. คำรับของจำเลยไม่ชัดเจนพอจะชี้ขาดว่า จำเลยได้กระทำผิดฐานใด เมื่อโจทก์ไม่สืบพยานให้ได้
ความชัดถึงการกระทำผิดของจำเลย ก็ลงโทษจำเลยไม่ได้
ง. อยู่ในดุลพินิจของศาลว่าจะลงโทษจำเลยในความผิดฐานใด
ตอบ (ค.)
212. พยานของจำเลยที่ ๑ ซัดทอดจำเลยที่ ๒ โจทก์อ้างพยานดังกล่าว ศาลจะรับฟังเพื่อลงโทษจำเลยที่ ๒ ได้หรือไม่
ก. ศาลรับฟังเพื่อลงโทษจำเลยที่ ๒ ได้ ข. ศาลรับฟังเพื่อลงโทษาจำเลยที่ ๒ ไม่ได้
ค. ถ้าจำเลยที่ ๒ ไม่คัดค้านศาลก็รับฟังลงโทษจำเลยที่ ๒ ได้
ง. ศาลรับฟังได้ถ้าคดีมีอัตราโทษอย่างสูงไม่เกิน ๕ ปี
ตอบ (ข.)
213. คำให้การชั้นสอบสวนของผู้ที่ไปกระทำผิดด้วยกันซึ่งซัดทอดคนอื่นนั้น ถ้าผู้ให้การมิได้ถูฟ้อง
คำให้การนั้น
ก. ใช้เป็นพยานหลักฐานประกอบการพิจารณาลงโทษจำเลยที่ถูกซัดทอดได้
ข. ใช้เป็นหลักฐานประกอบการพิจารณาลงโทษจำเลยที่ถูกซักทอดไม่ได้
ค. ถ้าผู้ให้มาให้การชั้นศาลจึงจะใช้เป็นพยานหลักฐานประกอบการพิจารณาลงโทษจำเลยที่ถูก
ซักทอดได้
ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ (ง.)
214. คำให้การชั้นสอบสวนของจำเลยคนหนึ่งที่ให้การซัดทอดจำเลยอีกคนหนึ่งนั้น
ก. ใช้ยันได้เฉพาะผู้ให้การ ข. ใช้ยันจำเลยคนอื่นในคดีเดียวกันได้
ค. ใช้ประกอบการลงโทษจำเลยคนอื่นไม่ได้ ง. ข้อ ก. และข้อ ค. ถูก
ตอบ(ง.)
พยานบอกเล่านั้น
ก. ศาลไม่ยอมรับฟังโดยเด็ดขาดไม่ว่าในกรณีใด ๆ เพราไม่ใช่พยานที่เห็นมาเอง
ข. ในคดีแพ่งศาลรับฟังได้ ส่วนในคดีอาญาศาลไม่รับฟัง
ค. ในคดีอาญาศาลรับฟังได้ ส่วนในคดีแพ่งศาลไม่รับฟัง ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ(ง.)
216. คำกล่าวของเจ้ามรดกก่อนตายนั้น
ก. ในเรื่องพินัยกรรมรับฟังไได้เฉพาะเป็นเรื่องการแปลเจตนาของเจ้ามรดกในพินัยกรรมว่าเพียงใด
ก. เจ้ามรดกกล่าวก่อนตายว่าได้ยกเลิกพินัยกรรมฉบับหลังสุดแล้ว รับฟังได้เพราะเป็นความประสงค์
ผู้ตาย
ค. รับฟังได้ทั้งข้อ ก. และข้อ ข. ง. ในคดีแพ่งศาลไม่รับฟังคำกล่าวของผู้ตายไปแล้ว
ตอบ (ก)
ข้อสังเกต หลักเกณฑ์ฟังพยานชนิดนี้ 1. ผู้ตายได้ทำพินัยกรรมไว้ 2. มีคำกล่าวภายหลังการทำพินัยกรรม 3. คำกล่าวทำความถึงข้อความในพินัยกรรม 4. ต้องปรากฏเมื่อเกิดคดีว่า พินัยกรรมนั้นไม่อาจนำมาเป็นพยานได้
217. คำบอกเล่าที่เป็นคำรับของจำเลยในคดีนั้นมีผลเพียงใด
ก. คำบอกเล่าที่เป็นคำรับของจำเลยในคดีอาญานั้น โจทก์นำมากล่าวอ้างได้
ข. คำบอกกเล่าที่เป็นคำรับของจำเลยในคดีอาญานั้น จำเลยนำมากล่าวอ้างได้
ค. คำบอกเล่าที่เป็นคำรับของจำเลยในคดีอาญานั้น ทั้งโจทก์และจำเลยนำมากล่าวอ้างได้
ง. คำบอกเล่าเป็นคำรับของจำเลย ใช้ได้เฉพาะในคดีแพ่งเท่านั้น จะนำมาใช้กับคดีอาญาไม่ได้
ตอบ(ค.)
218. คำเบิกความของพยานที่ได้รับคำบอกเล่าจากผู้ที่กระทำผิดร่วมกับจำเลย ซัดทอดถึงจำเลยนั้น
ก. ใช้ยันลงโทษจำเลยได้
ข. ใช้ยังลงโทษจำเลยได้เฉพาะกรณีที่ศาลเห็นว่าเป็นประโยชน์ต่อโจทก์
ค. ใช้ยันลงโทษจำเลยไม่ได้
ง. ใช้ยันลงโทษจำเลยได้หรือไม่แล้วแต่ดุลพินิจของศาล
ตอบ(ค.)
219. น.ส. สวย และนายจน ถูกนายหล่อ ฟ้องฐานร่วมกันลักทรัพย์ของนายหล่อต่อมานายหล่อสงสาร น.ส.สวย จึงถอนฟ้อง น.ส. สวย และขอให้ น.ส. สวย เป็นพยานในคดดีที่ฟ้องนายจน ฐานลักทรัพย์ ดังนี้
ก. นายหล่อ อ้าง น.ส. สวย เป็นพยานได้
ข. นายหล่อ อ้าง น.ส. เป็นพยานได้ต่อเมื่อศาลอนุญาต
ค. นายหล่อ อ้าง น.ส. สวย เป็นพยานไม่ได้ ง. ข้อ ก. และข้อ ข. ถูก
ตอบ(ก.)
220. คำซัดทอดของจำเลยในคดีอาญานั้น ศาลจะรับฟังเป็นพยานหลักฐานลงโทษจำเลยในคดีเดียวกันได้หรือไม่
ก. ได้เสมอ ข. ได้ถ้าจำเลยคนที่ถูกซัดทอดยินยอม
ค. ได้เฉพาะคดีที่มีอัตราโทษอย่างสูงกว่า ๓ ปี ง. ไม่ได้
ตอบ (ง.)
221. ในคดีแพ่งถ้าจะอ้างพยานเอกสารผู้ครอบครองต้องส่งนำเนาให้แก่คู่ความอีกฝ่ายหนึ่งและแก่ศาล
ก. ก่อนวันสืบพยานไม่น้อยกว่า ๓ วัน ข. ก่อนวันสืบพยานไม่น้อยกว่า ๗ วัน
ค. หลังวันสืบพยานไม่น้อยกว่า ๓ วัน ง. หลังวันสืบพยานไม่น้อยกว่า ๗ วัน
ตอบ ไม่มีข้อใดถูก
ข้อสังเกต หลักการ หากเป็นการยื่นบัญชีระบุพยานเป็นตาม ม.88 วิแพ่ง และ การยื่นสำเนาเอกสารตาม 90 วิแพ่ง ซึ่งจะต้องพิจารณาว่ามีการชี้สองสถานหรือไม่
222. กฎหมายยอมให้สืบพยานเพิ่มเติมได้ หมายถึง
ก. พยานบุคคล ข. พยานเอกสาร
ค. พยานวัตถุ ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ(ง.)
223. วันสืบพยานเป็นวันที่ ๑๐ การยื่นบัญชีระบุพยานจะต้องยื่นอย่างช้า
ก. วันที่ ๕ ข. วันที่ ๖ ค. วันที่ ๗ ง. วันที่ ๘
ตอบ ไม่มีข้อใดถูก
ข้อสังเกต หลักการเช่นเดียวกับข้อ 221
224. ต่อไปนี้ข้อใดถูกต้องมากที่สุด
ก. คำรับสารภาพของผู้ต้องหาาต่อพนักงานสอบสวนนั้นศาลรับฟังแต่เพียงเป็นพพยานประกอบ
คดีเท่านั้น
ข. แม้พยานหลักฐานโจทก์ไม่มี มีแต่เพียงคำรับสารภาพของผู้ต้องหา ศาลก็ลงโทษได้
ค. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข. ง. ไม่มีข้อถูก
ตอบ (ก.)
ข้อสังเกต ถือว่าเป็นพยานบอกเล่าแต่ศาลรับฟังได้ ศาลถือเป็นบรรทัดฐานเสมอว่าคำให้การขั้นสอบสวนของผู้ต้องหาเท่านั้นจะลงโทษจำเลยไม่ได้ โจทก์จะต้องสืบพยานอื่นประกอบ เช่น คำพิพากษาฎีกาที่ 43/121, 1116/131 และ 140/2463 แก่หากมีพนักงานสอบสวนมาเบิกความประกอบ ด้วยลงโทษจำเลยได้ ตามแนวคำพิพากษาฎีกาที่ 480/2496
225. ในคดีอาญาถ้าจำเลยรับสารภาพตามฟ้องแล้ว
ก. ศาลต้องสืบพยานประกอบทุกคดี
ข. ศาลไม่ต้องสั่งให้สืบพยานประกอบพิพากษาไปได้เลยทุกคดี
ค. เป็นดุพินิจของศาลในทุกคดีว่าจะสั่งให้สืบพยานประกอบหรือไม่ก็ได้ ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ (ง.)
ข้อสังเกต ต้องเป็นตามหลักมาตรา 176 วิอาญา
226. ต่อไปนี้ข้อใดที่ต้องนำพยานมาสืบให้ศาลรับฟัง
ก. ประเพณีท้องถิ่นที่ไม่แพร่หลาย ข. ตราของกระทรวงมหาดไทยมีรูปร่างอย่างไร
ค. ปัจจุบันใครเป็นผู้ดำรงตำแหน่งประธานสภาผู้แทนราษฎร
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ(ก.)
227. นาย ก ถูก นาย ข. ใช้อาวุธปืนยิงถึงแก่ความตาย แล้วนาย ข. ได้วิ่งหลบหนีไป ขณะเกิดเหตุนาย ค. เห็นเหตุการณ์โดยตลอด นาย ง. เห็นเหตุการณ์ขณะที่นาย ข. ถือปืนวิ่งหนีออกมาจากกที่เกิดเหตุทั้งนาย ค. และนาย ง. ได้เล่าเหตุการณ์ที่พบเห็นให้นาย จ.ฟัง ดังนี้ นาย ค. นาย ง. และนาย จ. เป็นพยานประเภทใด
ก. นาย ค. เป็นประจักษ์พยาน นาย ง. เป็นพยานพฤติเหตุแวดล้อมกรณี นาย จ. เป็นพยานบอกเล่าที่ศาลรับฟัง
ข. นาย ค. และนาย ง. เป็นประจักษ์พยาน นาย จ. เป็นพยานบอกเล่าที่ศาลรับฟัง
ค. นาย ค. และนาย ง. เป็นประจักษ์พยาน นาย จ. เป็นพยานบอกเล่าที่ศาลไม่รับฟัง
ง. นาย ค. เป็นประจักษ์พยาน นาย ง. เป็นพยานพฤติเหตุแวดล้อมกรณี นาย จ. เป็นพยานบอกเล่าที่ศาลไม่รับฟัง
ตอบ(ง.)
สั่งซื้อที่
ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724 Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3 ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2
ธ.กสิกรไทย ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay
[font=arial ]ผลงานการสอบได้ของลูกค้า
ติดตามข่าวการสอบราชการที่ https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่ www.ข้อสอบงานราชการไทย.com