ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : แนวข้อสอบ พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ 2547
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบ พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ 2547

แชร์กระทู้นี้

ข้อ 1 พ.ร.บ.นี้เรียกอย่างไรจึงถุกต้อง?
ก.พระราชบัญญัติสำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547
ข.พระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ 2547
ค.พระราชบัญญัติสำนนักงานตำรวจแห่งชาติ 2547
ง.พระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547

ข้อ 2 ข้าชบัญญัติยศตำรวจยังไม่ถูกยกเลิก
ข.พระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 ยกเลิกทั้งหมด 18 ฉบับ
ค.พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 คือพระราชบัญญัติที่ใช้อยุ่ในปัจจุบันนี้
ง. พระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 ยกเลิกทั้งหมด 17 ฉบับ
ข้อ. 3 พระราชบัญญัตินี้ประกาศใช้เมื่อใด?
ก. ประกาศใช้ 13 มกราคม พ.ศ. 2547
ข.ประกาศใช้ 12 มกราคม พ.ศ. 2547
ค. ประกาศใช้เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว
ง.ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ 4 ข้อใดถูก สำหรับพระราชบัญญัตินี้
ก.เป็นปีที่ 60 ในรัชกาลปัจจุบัน
ข.โดยคำแนะนำและยินยอมของคณะรัฐมนตรี
ค.โดยประกาศถัดจากวันพระราชกฤษฏีกาแล้ว
ง.ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการตำรวจ(ฉบับที่ 4) พ.ศ.2538
ข้อ. 5 บรรดากฏหมาย กฏ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือ คำสั่งอื่นในส่วนที่ได้บัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้
ก.ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้แทน
ข.ให้นายกรัฐมนตรีวินิจนัย
ค.ให้นายกรัฐมนตรี ออกกฏกระทรวง
ง.ให้ยกเลิกแล้วให้ ผบ.ตร.ตัดสิน
ข้อ 6 ข้อใดหมายถึง”ข้าราชการตำรวจ”?
ก. ผู้ที่ได้รับการบรรจุและแต่งตั้งตามพระราชบัญญัตินี้โดยได้รับเงินเดือนจาก ในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และให้หมายความรวมถึงข้าราชการในสำนักงานตำรวจแห่งชาติหรือสั่งให้ปฏิบัติ หน้าที่ ราชการตำรวจโดยได้รับเงินเดือนจากส่วนราชการ
ข. บุคคลที่มียศและไม่มียศ และให้หมายความรวมถึงข้าราชการตำรวจในสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่ได้รับเงิน เดือนจาก ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ
ค. บุคคลซึ่งได้รับการบรรจุและแต่งตั้งตามพระราชบัญญัตินี้ โดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณหมวดเงินเดือนในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และให้หมายความรวมถึงข้าราชการในสำนักงานตำรวจแห่งชาติซึ่งสำนักงานตำรวจ แห่งชาติแต่งตั้งหรือสั่งให้ปฏิบัติหน้าที่ราชการตำรวจโดยได้รับเงินเดือน จากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐด้วย
ง. บุคคลซึ่งได้รับการบรรจุตามพระราชบัญญัตินี้โดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบ ประมาณหมวดเงินเดือนในสำนักงานตำรวจแห่งชาติและให้หมายความรวมถึงข้าราชการ ในสำนักงานตำรวจแห่งชาติหรือสั่งให้ปฏิบัติหน้าที่ ราชการตำรวจโดยได้รับเงินเดือนจากส่วนราชการ
ข้อ 7 ผู้รักษาการตาม พรบ.นี้ คือใคร
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ค. รองนายกรัฐมนตรี
ง. ผบ.ตร.
ข้อ 8 พระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 ตราขึ้นโดยคำแนะนำและยินยอมของบุคคลหรือหน่วยงานใด
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. ประธานรัฐสภา
ค. วุฒิสภา
ง.รัฐสภา
ข้อ 9 คำว่า “ กองทุน ” ตาม พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547หมายความว่าอะไร?
ก. กองทุนสำหรับครอบครัวข้าราชการตำรวจ
ข. กองทุนช่วยเหลืองานสอบสวนคดีอาญา
ค. กองทุนเพื่อการสืบสวนและสอบสวนคดีอาญา
ง. กองทุนเพื่อการสอบสวนและวิธีพิจารณาความอาญา
ข้อ 10 ให้.............. รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้และมีอำนาจออก...........เพื่อนปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
ก.นายกรัฐมนตรี / พระกิจจานุเบกษา
ข.นายกรัฐมนตรี / กฏกระทรวง
ค. นายกรัฐมนตรี / พระราชกฤษฏีกา
ง.นายกรัฐมนตรี / ระเบียบ
ข้อ 1. ข้อใดถูก
ก.ข้าราชการตำรวจต้องรับเงินเดือนจากเงินงบประมาณหมวดเงินเดือนเท่านั้น
ข.กองบัญชาการหมายความว่าส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่ากองบัญชาการ
ค.กรรมการหมายความว่าคณะกรรมการข้าราชการตำรวจแห่งชาติ
ง.กองบังคับการหมายความว่าหน่วยงานที่มีฐานะเทียบเท่ากองบัญชาการ
ข้อ2. พระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 มีทั้งหมดกี่ลักษณะ
ก. 6 ลักษณะ ข.7 ลักษณะ
ค. 8 ลักษณะ ง.9ลักษณะ
ข้อ 3 ประธานกรรมการหมายถึงบุคคลใด ?
ก. ผบ.ตร. ข.นายกรัฐมนตรี
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ง. รอง ผบ.ตร.
ข้อ 4. vonnnnn อยากทราบว่าสำนักงานตำรวจแห่งชาติ แบ่งส่วนราชการได้ตามข้อใด
ก.สำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ / กองบัญชาการ / กองบังคับการ
ข.กองบัญชาการ / กองบังคับการ / กองกำกับการ
ค.สำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ / กองบัญชาการ
ง.กองบัญชาการภาคต่าง ๆ / กองบังคับการ / กองกำกับการ / แผนก/งาน
ข้อ 5. ต้องการทราบว่า ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ก.ปราบปรามจับกุมผู้กระทำความผิดตาม ป.อาญา
ข.สืบสวนสอบสวนผู้กระทำความผิดตาม ป.วิอาญา
ค.ป้องกันและปราบปรามการกระทำความผิดทางอาญา
ง. ให้การสนับสนุนกองทัพกรณีที่เกิดภาวะฉุกเฉิน
ข้อ 6. ให้ สตช.ส่งเสริมให้ท้องถิ่นและชุมชนมีส่วนร่วมในกิจการตำรวจเพื่อป้องกันและ ปราบปรามการกระทำผิดทางอาญา....... ฯลฯ.ทั้งนี้การดำเนินการมีส่วนร่วมให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ...............ใครกำหนด ?
ก. ก.ต.ช.กำหนด
ข.ก.ต.ร.
ค.คณะรัฐมนตรี
ง.ผบ.ตร.
ข้อ 7. การแบ่งข้าราชการตำรวจประเภทไม่มียศด้วยก็ได้โดยให้ตราเป็น.......?
ก.พระราชกำหนด
ข.พระราชกฤษฏีกา
ค.พระราชกิจจานุเบกษา
ง.พระราชบัญญัติ
ข้อ 8. วัน เวลา ทำงาน วันหยุดราชการตามประเพณี วันหยุดราชการประจำปี และการลาหยุดราชการ ของข้าราชการตำรวจ?
ก.ก.ต.ร กำหนด
ข.ผบ.ตร.กำหนด
ค.ครม.กำหนด
ง.ประธาน ก.ต.ร.กำหนด
ข้อ 9. กรณีจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่.......จะกำหนดให้แตกต่างจากข้อ 18.ก็ได้ ?
ก.ก.ต.ร กำหนด
ข.ผบ.ตร.กำหนด
ค.นายกรัฐมนตรี กำหนด
ง. ก.ต.ช.กำหนด
ข้อ 10. การแบ่งราชการเป็นกองบังคับการให้ออกเป็น......?
ก.พระราชกำหนด
ข.พระราชกฤษฏีกา
ค.พระราชกิจจานุเบกษา
ง.กฏกระทรวง
ข้อ 1. ผู้เป็นหัวหน้าส่วนราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ คือผู้ใด?
ก. ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ข. จเรตำรวจ
ค. รอง ผบ.ตร.
ง. ทุกข้อถูกหมดหากได้รับมอบหมาย
ข้อ 2. ใครที่เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการตำรวจ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ ได้รองจาก ผบ.ตร.?
ก.จเรตำรวจ
ข.รอง ผบ.ตร.
ค. ผู้ช่วย ผบ.ตร.
ง. ทุกข้อ ถูกต้องแล้ว ครับบบบบ
ข้อ 3. ใครเป็นผู้บังคับบัญชาตำรวจในกองบัญชาการ รองจาก ผู้บัญชาการ?
ก.รองผู้บัญชาการ
ข.ผู้ช่วยผู้บัญชาการ
ค.ถูกต้องแล้วครับ ทั้ง ก.และ ข.
ง.ไม่มีข้อถูกครับบบบบ
ข้อ 4. ผู้บัญชาการต้องรายงายผลการปฏิบัติงานพร้อมทั้งปัญหา และอุปสรรคต่อผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติทุก กี่เดือน
ก. สามเดือน
ข.สี่เดือน
ค. ห้าเดือน
ง.หกเดือน
ข้อ 5. ในจังหวัดใดจังหวัดหนึ่ง มี ใครเป็นผู้มีอำนาจและทำหน้าที่กำกับดูแลการปฏิบัติราชการของข้าราชการตำรวจ ที่สังกัดกองบัญชาการอื่น และปฏิบัติราชการประจำอยุ่ในจังหวัดนั้น
ก.ผู้บัญชาการ
. ข.ผู้บังคับการ
ค.ผู้กำกับการ
ง.ผู้ว่าราชการจังหวัด
ข้อ 6. วอนซะแล้ว ไม่รู้ว่า “ก.ต.ช.” ชื่อเต็มว่าอะไร?
ก. กรรมการนโยบายตำรวจแห่งชาติ
ข. คณะกรรมการนโยบายข้าราชการตำรวจแห่งชาติ
ค.คณะกรรมการนโยบายตำรวจแห่งชาติ
ง.คณะกรรมาการนโยบายตำรวจแห่งชาติ
ข้อ 7. จากข้อ 26 มีอำนาจหน้าที่ทำอะไรกันบ้าง?
ก.กำหนดนโยบายการบริหารราชการตำรวจ
ข.กำกับดูแลสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ค.ให้ปฏิบัติตามนโยบาย ระเบียบแบบแผน มติคณะรัฐมนตรี และกฎหมาย
ง.ทุกข้อที่กล่าวมานั้นละ จำได้นะ
ข้อ 8. จากข้อ 26 ใครเป็นประธานกรรมการ
ก.ผบ.ตร.
ข.นายกรัฐมนตรี
ค.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ง.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ข้อ 9. กรรมการโดยตำแหน่ง ของ ก.ต.ช.มีใครกันบ้าง (ปาริชาติตอบหน่อย ดัง ๆ)
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย / รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม / ปลัดกระทรวงมหาดไทย / ปลัดกระทรวงยุติธรรม / และเลขาธิการสภาความมั่งคงแห่งชาติ / ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย / รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม / ปลัดกระทรวงมหาดไทย / ปลัดกระทรวงยุติธรรม / และเลขาธิการสหประชาติ / ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ค.รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย / รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม / ปลัดกระทรวงมหาไทย / ปลัดกระทรวงยุติธรรม / และเลขาธิการสภาความมั่งคงแห่งชาติ / ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย / รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรม / ปลัดกระทรวงมหาไทย / ปลัดกระทรวงยุติธรรม / และเลขาธิการสหประชาชาติ / ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ข้อ 10. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนกี่คนครับ พี่น้อง?
ก. 9 คน
ข.8 คน
ค. 6 คน
ง. 4 คน
ข้อ 1 หลักเกรณ์ และวิธีการสรรหากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ให้เป็นไปตามที่...........
ก.ระเบียบ ก.ต.ช.
ข.ระเบียบ ก .ตร.
ค.ระเบียบ ครม.
ง.ระเบียบ ข.ต.อ.
ข้อ.2 ข้อใดถูกต้อง ครับบบบ
ก. ผบ.ตร.เป็นประธาน ก.ต.ช.
ข. ประธานสามารถเลือกเลขานุการ (ก.ต.ช.)มาทำหน้าที่ตามคำแนะนำของ ผู้ทรงคุณวุฒิ
ค. ให้นายกรัฐมนตรีประกาศชื่อกรรมการนโยบายตำรวจแห่งชาติผู้ทรงคุณวุฒิในราชกิจจานุเบกษา
ง. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง หกคน ซึ่งได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯแต่งตั้งจากบุคคลซึ่งได้รับการสรรหาโดยกรรมการโดยตำแหน่ง
ข้อ 3 การแต่งตั้งเลขานุการ ก.ต.ช. ข้อใดผิด?
ก.ให้ประธานแต่งตั้ง
ข.ผบ.ตร.แนะนำ
ค.ยศ พล.ต.ท.ขึ้นไป จำนวน 1 คน
ง.พล.ต.ต.ขึ้นไปอีก 3 คนเ ป็นผู้ช่วยเลขาฯ
ข้อ 4 การออกระเบียบ ประกาศหรือมติในเรื่องที่เกี่ยวกับการบริหารราชการตำรวจ และวิธีปฎิบัติราชการของข้าราชการตำรวจให้เป็นไปตามแบบแผน และนโยบายที่ ก.ต.ช.กำหนด จะใช้บังคับได้ต่อเมื่อ
ก.ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว
ข.ออกเป็นพระราชกฤษฏีกา
ค.ออกเป็นพระราชบัญญัติ
ง.ออกเป็นระเบียบ
ข้อ 5 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตาม มาตรา. 17 ต้องมีความเชี่ยวชาญหรือประสบการณ์ในด้านใดบ้าง?
ก..กฏหมาย / การงบประมาณ / การพัฒนาผู้นำ / การวางแผนหรือการบริหาร / การจัดการ
ข.กฏหมาย / การงบประมาณ / การพัฒนาองค์กร / การวางแผนหรือการบริหาร / การจัดการ
ค. .กฏหมาย / การจัดองค์การ / การพัฒนาองค์กร / การวางนโยบายหรือการบริหาร / การจัดการ
ง. .กฏหมาย / การงบประมาณ / การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ / การวางนโยบายแผนงาน/ การจัดการ
ข้อ 6 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีอายุเท่าไร?
ก. 65 ปี ข.55 ปี ค.50 ปี ง.40 ปี
ข้อ 7 จากข้อ 36 มีวาระดำรงตำแหน่งคราวละ กี่ปี กี่ วาระ ?
ก.2 ปี ไม่เกิน 4 วาระ
ข. 4 ปี ไม่เกิน 4 วาระ
ค. 4 ปี ไม่เกิน 2 วาระ
ง. 2 ปี ไม่เกิน 2 วาระ
ข้อ 8 เมื่อกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตำแหน่งตามวาระ แล้ว?
ก.ให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นที่ปรึกษาประธานกรรมการ
ข.ให้พ้นจากหน้าที่ภายใน 30 วัน
ค..ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่ากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับการสรรหาใหม่เข้ารับหน้าที่
ง.ให้ประธานเตรียมเสนอชื่อเพื่อรับตำแหน่งอีกวาระ
ข้อ 9 จากข้อ 38 นอกจากพ้นตามวาระแล้วมี กรณีใดอีกจึงถือว่าพ้นจากตำแหน่ง ?
ก.อายุ ครบ 70 ปี
ข.ประพฤติไม่สมควร ขาดจริธรรม
ค.สมัครเป็นสมาชิกพรรคการเมือง
ง.ถูกทุกข้อ
ข้อ 10 หากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่ง ก่อนวาระ ให้ดำเนินการอย่างไร
ก.ให้ดำเนินการสรรหา
ข.สรรหาแล้วและแต่งตั้งบุคคลเป็นกรรมการแทน
ค. ก.และ ข. ถูก
ง.รอประธานแต่งตั้งใหม่
ข้อ 1 จากข้อ 40 กรณีใดจะไม่ดำเนินการสรรหาก็ได้
ก.การดำรงตำแหน่งของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเหลือไม่ถึง 45 วัน
ข..การดำรงตำแหน่งของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเหลือไม่ถึง 60 วัน
ค..การดำรงตำแหน่งของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเหลือไม่ถึง 90 วัน
ง..การดำรงตำแหน่งของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเหลือไม่ถึง 30 วัน
ข้อ 2 การประชุม ก.ต.ช.จะต้องมีกรรมการมาประชุมเท่าไร จึงจะครบองค์ประชุม ?
ก.ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
ข.ครึ่งหนึ่ง
ค .ครบจำนวนกรรมการ
ง.ไม่น้อยกว่าสองในสาม
ข้อ 3 ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ จะแก้ไขอย่างไร?
ก.ให้กรรมการผู้อวุโสทำหน้าที่ประธาน
ข.ให้ประธานแต่งตั้งรองประธานทำหน้าที่ประธานในที่ประชุม
ค.ให้กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม
ง.ให้ประธานและกรรมการโดยตำแหน่งมอบหมายให้กรรมการมาทำหน้าที่
ข้อ 4 ใครมีอำนาจในการออกข้อบังคับว่าด้วยการประชุม และลงมติของ ก.ต.ช.คณะกรรมการตาม มาตรา. 18(5) และของคณะกรรมการตาม มาตรา. 18 (6)
ก.ก.ตร.
ข.ประธานและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่เข้าร่วมประชุม
ค. ก.ต.ช
ง. ประธานแต่เพียงผู้เดียว
มาตรา. 18(5) และของคณะกรรมการตาม มาตรา. 18 (6)
ข้อ 5 ยศตำรวจมีอะไรบ้าง?
ก. พลฯ – พลตำรวจเอก
ข.ส.ต.ต. – พลตำรวจเอก
ค.พลตำรวจ , ประทวน , สัญญาบัตร
ง. ชั้นประทวน – ชั้นสัญญาบัตร
ข้อ 6 ข้อใดผิด
ก.ข้าราชการตำรวจมี3 ชึ้น คือ ชั้นพลตำรวจ ชั้นประทวน ชั้นสัญญาบัตร
ข. ชั้นพลตำรวจ ได้แก่ พลตำรวจสำรอง
ค. ตำรวจมียศพลตำรวจ รองจาก สิบตำรวจตรี
ง.ผิดทั้งหมด
ข้อ 7 ใครสั่งแต่งตั้งยศพลตำรวจตรีได้
ก.นายกรัฐมนตรี
ข.ผบ.ตร.
ค.คณะรัฐมนตรี
ง. ก.ต.ช.
ข้อ 8 ผบ.ตร.สั่งแต่งตั้งข้าราชการตำรวจยศใดได้บ้าง
ก. พล.ต.อ.ลงมา
ข. พล.ต.ท. ลงมาแต่ไม่ต่ำกว่า พ.ต.อ.
ค.ร.ต.ต.ขี้นไปแต่ไม่สูงกว่า พ.ต.อ.
ง. ร.ต.ต.ขึ้นไปแต่ไม่สูงกว่า พ.ต.ท.
ข้อ 9 การแต่งตั้งยศตำรวจชั้นประทวน ใครสั่งแต่งตั้งได้?
ก. ผบ.ตร.
ข.ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติมอบหมายให้ ผบช.ขึ้นไปสั่งแต่งตั้ง
ค.ทั้งข้อ ก.และ ข.ถูก
ง. ยังไม่มีข้อถูก
ข้อ 10 การถอดหรือการออกจากยศตำรวจชั้นสัญญาบัตรให้ทำอย่างไร?
ก.เป็นไปตามระเบียบสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ข.ให้ออกเป็นกฎกระทรวง
ค. ให้ออกเป็นพระราชกฤษฏีกา
ง. ให้ออกเป็น พระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติ ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗
มาตรา ๑ พระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗
มาตรา ๑ ข้อ ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่าอะไร
ก. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗
ข. พระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗
ค. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๔๐
ง. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ส. ๒๕๔๕
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับ
มาตรา ๒ ข้อ ๒ การออกพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ ให้มีผลบังคับใช้เมื่อใด
ก. ให้บังคับใช้ตามวันที่ระบุในพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ
ข. ให้บังคับใช้ตามวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ค. ให้บังคับใช้ตามวันที่ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ง. ให้บังคับตามวันที่ถัดจากประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ๓๐ วัน
มาตรา ๓ ให้ยกเลิก
มาตรา ๓ ข้อ ๓ ในพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๗๗ ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติฉบับใดต่อไปนี้
ก. พระราชบัญญัติว่าด้วยวินัยตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๗๗
ข. พระราชบัญญัติข้าราชการตำรวจ ( ฉบับที่ ๒ ) พ.ศ. ๒๕๓๑
ค. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการตำรวจ พ.ศ.๒๕๒๑
ง. ถูกทุกข้อ
มาตรา ๓ ข้อ ๔ อะไรบ้างที่ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้แทน
ก. บรรดากฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ
ข. คำสั่งอื่นในส่วนที่ได้บัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้
ค. คำสั่งแห่งพระราชบัญญัตินี้
ง. ถูกทุกข้อ
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔ ข้อ ๕ “ประธานกรรมการ” ตาม พระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ หมายความถึง
ก. ประธานกรรมการโรงพิมพ์ตำรวจแห่งชาติ
ข. ประธานกรรมการสหกรณ์ตำรวจแห่งชาติ
ค. ประธานกรรมการนโยบายตำรวจแห่งชาติ
ง. ถูกทุกข้อ
มาตรา ๔ ข้อ ๖ “ กรรมการ ” ในกฏหมายตำรวจแห่งชาติ ได้แก่
ก. กรรมการร้านสวัสดิการตำรวจแห่งชาติ
ข. กรรมการสหกรณ์ตำรวจแห่งชาติ
ค. กรรมการนโยบายตำรวจแห่งชาติ
ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
มาตรา ๔ ข้อ ๗ “กองทุน ’’ ได้แก่
ก. กองทุนฌาปนกิจสงเคราะห์ตำรวจ
ข. กองทุนทดแทนตำรวจแห่งชาติ
ค. กองทุนสงเคราะห์ข้าราชการตำรวจ
ง. กองทุนเพื่อการสืบสวนและสอบสวนคดีอาญา
มาตรา ๔ ข้อ ๘ “กองบัญชาการ” หมายความรวมไปถึง
ก. จเรตำรวจแห่งชาติ
ข. ส่วนราชการที่เรียกชื่ออื่น
ค. ส่วนราชการที่เทียบเท่า
ง. ถูกทุกข้อ
มาตรา ๔ ข้อ ๙ “กองบังคับการ” หมายรวมถึงราชการใดในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ก. ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบกองบังคับการด้วย
ข. ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบกองกำกับการด้วย
ค. ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบกองกำกับการด้วย
ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
มาตรา ๕ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการ
มาตรา ๕ ข้อ ๑๐ ใครมีอำนาจรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. นายตำรวจยศพลตำรวจ
ค. ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ง. ถูกทุกข้อ
มาตรา ๕ ข้อ ๑๑ นายกรัฐมนตรีที่รักษาการณ์ตามพระราชบัญญัตินี้ มีอำนาจอะไร
ก. ออกกฎ ก.ตร. เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
ข. ออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
ค. ออกกฎบังคับเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
ง. ออกกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ข้อกำหนด เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๕ ข้อ ๑๒ กฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ที่ออกโดยนายกรัฐมนตรี รักษาการณ์ตามพระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับเมื่อใด
ก. เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาไปแล้ว ๖๐ วัน
ข. เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษา ไปแล้ว ๓๐ วัน
ค. เมื่อวันถัดไปหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ถือว่าใช้บังคับได้
ง. เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว
ลักษณะ ๑ บททั่วไป
มาตรา ๖ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ มีอำนาจหน้าที่
ข้อ ๑๓ อำนาจหน้าที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ได้แก่
ก. รักษาความปลอดภัยสถาบันพระมหากษัตริย์
ข. ควบคุมกำกับงานตำรวจแห่งชาติ อ. ป.วิอาญา
ค. ช่วยเหลือพัฒนาประเทศตามที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
ง. ถูกทุกข้อ
มาตราที่ ๖ ข้อ ๑๔ กรณีใดมิใช่อำนาจหน้าที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ก. รักษาความปลอดภัยสถาบันพระมหากษัตริย์
ข. ควบคุมกำกับงานตำรวจแห่งชาติ ป.วิอาญา
ค. ช่วยเหลือพัฒนาประเทศ ตามที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
ง. ป้องกันและปราบปราม การกระทำผิดระหว่างประเทศ
มาตราที่ ๖ ข้อ ๑๕ “สำนักงานตำรวจแห่งชาติ” มีฐานะใด และอยู่ในการบังคับบัญชาของกระทรวงใด
ก. มีฐานะเป็นทบวงไม่ขึ้นกับกระทรวง ทบวง
ข. เป็นกรมขึ้นกับกระทรวงมหาดไทย
ค. เป็นกรมขึ้นกับกระทรวงยุติธรรม
ง. ไม่มีข้อใดถูก
มาตราที่ ๖ ข้อ ๑๖ “ส่วนราชการตำรวจแห่งชาติ” มีฐานะใดและในการบังคับบัญชาขึ้นตรงกับกระทรวง
ก. องค์การตำรวจแห่งชาติขึ้นตรงกับกระทรวงยุติธรรม
ข. เป็นนิติบุคคลในบังคับบัญชานายกรัฐมนตรี
ค. ฐานะดีด้วยสินบนรางวัลขึ้นกับกระทรวงยุติธรรม
ง. ถูกทุกข้อ
มาตราที่ ๖ ข้อ ๑๗ ในกรณีที่มีกฎหมายกำหนดความผิดทางอาญาขึ้น และตกอยู่ภายใต้อำนาจหน้าที่ของข้าราชการตำรวจหรือสำนักงานตำรวจแห่งชาติจะตราโอนอำนาจหน้าที่ที่ใด
ก. กฎกระทรวง
ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. พระราชกำหนด
ง. พระราชบัญญัติ
มาตราที่ ๖ ข้อที่๑๘ การมีกฎกำหนดความผิดทางอาญาขึ้นตาม(๓) (๔)หรือข้อ (๕) ขึ้นตราพระราชกฤษฎีกาเพื่อประสงค์ใด
ก. โอนอำนาจหน้าที่
ข. ให้ตกอยู่ภายใต้อำนาจหน้าที่
ค. ถูกทั้ง ก. และ ข. แล้วแต่กรณี
ง. ผิดทั้ง ก. และ ข.
มาตรา ๗ ให้สำนักงานตำรวจแห่งชาติส่งเสริม ตามหลักและวิธีการที่ ก.ต.ช. กำหนด
มาตรา ๗ ข้อ ๑๙ การส่งเสริมให้ท้องถิ่นและชุมชน หลักและวิธีการที่ ก.ต.ช. กำหนดของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ก. มีส่วนร่วมในกิจการตำรวจ
ข. ป้องกันปราบปรามความผิดอาญา
ค. ถูกทั้ง ๒ ข้อ
ง. ไม่มีข้อถูก
มาตรา ๗ ข้อ ๒๐ ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ส่งเสริมให้ท้องถิ่นและชุมชนมีส่วนร่วมในกิจการตำรวจ
ข. ปราบปรามการกระทำความผิดทางอาญา
ค. รักษษความสงบเรียบร้อยและความปลอดภัยของประชาชน
ง. ให้บริการตามความต้องการของนายกรัฐมนตรี
มาตรา ๗ ข้อที่ ๒๑ การดำเนินการให้มีส่วนร่วมในท้องถิ่นและชุมชน จะต้องปฏิบัติตาม
ก. หลักแกณฑ์และวิธีการที่กฎหมายกำหนด
ข. หลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ต.ช. กำหนด
ค. หลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ตร. กำหนด
ง. หลักเกณฑ์และวิธีการที่ กฎกระทรวงกำหนด
มาตรา ๘ การแบ่งประเภทของข้าราชการตำรวจ
มาตรา ๘ ข้อ ๒๒ การแบ่งประเภทของข้าราชการตำรวจ สามารถแบ่งได้เป็นกี่ประเภทอะไรบ้าง
ก. ๓ ประเภท คือ สัญญาบัตร ประทวน พลตำรวจ
ข. ๒ เพศ ตำรวจชาย ตำรวจหญิง
ค. มียศกับไม่มียศ
ง. ไม่มีข้อใดถูก
มาตรา๘ ข้อ ๒๓ วิธีการบรรจุ การแต่งตั้ง การดำเนินการทางวินัย การบังคับบัญชาโยกย้ายระหว่างตำรวจมียศกับตำรวจไม่มียศ รวมถึง การปรับยศ การปรับเงินเดือน ให้ตราเป็น
ก. พระราชบัญญัติ
ข. พระราชกำหนด
ค. พระราชกฤษฏีกา
ง. กฎกระทรวง
มาตรา ๘ ข้อ ๒๔ ข้าราชการตำรวจตำแหน่งใดหรือปฏิบัติหน้าที่ใด จะเป็นข้าราชการตำรวจประเภทไม่มียศให้ตราอย่างไร
ก. พระราชกฤษฏีการตามวรรคหนึ่ง
ข. พระราชกำหนดตามวรรหนึ่ง
ค. พระราชบัญญัติตามวรรคหนึ่ง
ง. ไม่มีข้อใดถูก
มาตรา ๘ ข้อ ๒๕ พระราชกฤษฏีการตามมาตรา ๘ นี้ กำหนดอะไรบ้างในวรรคหนึ่ง
ก. หลักแกณฑ์ และวิธีการ บรรจุ แต่งตั้ง ข้าราชการตำรวจประเภทไม่มียศ
ข. หลักเกณฑ์ และวิธีการ การดำเนินการทางวินัยข้าราชการตำรวจประเภทไม่มียศ
ค. การบังคับบัญชา การโยกย้าย ระหว่างข้าราชการตำรวจประเภทมียศและไม่มียศ
ง. ถูกทุกข้อ
มาตรา ๘ ข้อ ๒๖ พระราชกฤษฏีการตามวรรคสอง ในมาตรา ๘ นี้ไม่มีผลกระทบกับข้าราชการใด
ก. ข้าราชการตำรวจที่ไม่มียศอยู่แล้วในวันที่ พรก. ดังกล่าวมีผลใช้บังคับ
ข. ข้าราชการตำรวจที่มียศอยู่แล้วในวันที่พรก. ดังกล่าวมีผลใช้บังคับ
ค. ถูกทุกข้อ
ง. ผิดทุกข้อ
มาตรา ๙ วันเวลา ทำงาน
มาตรา ๙ ข้อ ๒๗ วันเวลา ทำงานของข้าราชการตำรวจ ให้เป็นไปตาม
ก. พระราชบัญญัติ
ข. คณะรัฐมนตรีกำหนด
ค. พระราชกฤษฎีกา
ง. กฎกระทรวง
มาตรา ๙ ข้อ ๒๘ กรณีจำเป็นเพื่อประโยชน์การปฏิบัติหน้าที่ต้องกำหนดขึ้นแวลาต่างกับราชการปกติ เป็นหน้าที่กำหนดของ
ก. รัฐสภา
ข. คณะรัฐมนตรี
ค. ก.ต.ช.
ง. ถูกทุกข้อ
มาตรา ๙ ข้อ ๒๙ วันเวลาหยุดราชการของข้าราชการตำรวจให้เป็นไปตาม
ก. คณะรัฐมนตรี
ข. ก.ต.ช. กำหนด
ค. ก.ตร. กำหนด
ง. ข้อ ๑ ข้อ ๒ ถูก
มาตรา ๙ ข้อ ๓๐ การที่ข้าราชการตำรวจต้องปฏิบัติหน้าที่ตามวันเวลา ที่แตกต่างจากที่คณะรัฐมนตรีกำหนด เพื่อการใด
ก. ตามการแก้ไขของ ก.ตร.
ข. ตามการกำหนดให้ข้าราชการตำรวจปฏิบัติหน้าที่ของ ก.ต.ช.
ค. เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่
ง. ถูกทั้งข้อ ข. และ ค.
ลักษณะ ๒ การจัดระเบียบราชการในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
มาตรา ๑๐ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ แบ่งส่วนราชการ
มาตรา ๑๐ ข้อ ๓๑ การแบ่งส่วนราชการ ในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยมวลรวมมีอะไรบ้าง
ก. ๓ ส่วนคือ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น
ข. ๓ ส่วนคือ กรมกองท้องที่ และท้องถิ่น
ค. ๒ ส่วนคือ สำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ กองบัญชาการ
ง. ไม่มีข้อใดถูก
มาตรา ๑๐ ข้อ ๓๒ ตำแหน่งเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการตำรวจรองจากผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติมีกี่ตำแหน่งอะไรบ้าง
ก. ๑ ตำแหน่งคือ จเรตำรวจแห่งชาติ
ข. ๒ ตำแหน่งคือ จเรตำรวจแห่งชาติ และรองผู้บัญชาการตำรวจ
ค. ๓ ตำแหน่งคือ จเรตำรวจแห่งชาติ รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ง. ถูกทุกข้อ
มาตรา ๑๐ ข้อ ๓๓ การแบ่งส่วนราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติให้ตราเป็น
ก. พระราชบัญญัติ
ข. พระราชกำหนด
ค. พระราชกฤษฏีการ ม.๑๐ ว.๒
ง. กฏกระทรวง
มาตรา ๑๐ ข้อ ๓๔ การแบ่งส่วนราชการออกเป็นกองบังคับการ หรือส่วนราชการอื่นๆ ให้ทำ
วรรคสอง เป็น
ก. ระเบียบ
ข. ประเทศ
ค. กฏกระทรวง ม.๑๐ ว.๒
ง. ข้อบังคับ
มาตรา ๑๑ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ มีผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติเป็นหัวหน้า
มาตรา๑๑วรรคหนึ่งข้อ๓๕ หัวหน้าส่วนราชการตำรวจแห่งชาติ ได้แก่
ก. อธิบดีกรมตำรวจ
ข. เลขาธิการตำรวจแห่งชาติ
ค. ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ง. ถูกทุกข้อ
มาตรา ๑๑ ข้อ ๓๖ ผู้กำหนดเร่งรัดติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการในส่วนราชการสตช.
ก. จเรตำรวจแห่งชาติ
ข. ผู้ตรวจราชการตำรวจ
ค. ผู้บัญชาการประจำ
ง. ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
มาตรา ๑๑(๑) ข้อ ๓๗ ผู้รับผิดชอบการปฏิบัติราชการของสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ได้แก่
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ง. บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
มาตรา ๑๑( ๑ ) ข้อ ๓๘ ผู้รับผิดชอบควบคุมราชการประจำในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ได้แก่
ก. ประธานกรรมการ
ข. กรรมการ
ค. รัฐมนตรีผู้รับผิดชอบ
ง. ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ม.๑๑( ๑ ))
มาตรา ๑๑ (๑) ข้อ ๓๙ ผู้กำหนดแนวทางตลอดถึงแผนการ ปรท. ของ สตช.ได้แก่
ก. ก.ต.ช.
ข. ก.ต.ร.
ค. ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ง. คณะรัฐมนตรี
มาตรา ๑๑(๒) ข้อ๔๐ ผู้ลำดับความสำคัญของแผนการปฏิบัติราชการประจำปีของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ คือ
ก. หัวหน้าสถานีตำรวจ
ข. ผู้บังคับการ
ค. ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ( ม.๑๐ (๑))
ง. กรรมการ
มาตรา ๑๑(๒) ข้อ ๔๑ ผู้วางระเบียบคำสั่งเฉพาะเรื่องให้ตำรวจหรือ พงส. (พนักงานสอบสวน) ปฏิบัติหน้าที่ตาม ป.วิอาญา หรือกฎหมายอื่นได้แก่
ก. ก.ต.ช.
ข. ก.ต.ร.
ค. ประธานกรรมการ (ม.๑๑(๔))
ง. ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
มาตรา ๑๑ (๒) ข้อ ๔๒ ผู้บังคับบัญชาการตำรวจใน สำนักงานตำรวจแห่งชาติ รองจากนายกรัฐมนตรีคือ
ก. รองนายกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีผู้รับผิดชอบ
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ง. ผู้บัญชาการตำรวจแห่ชาติ(ม.๑๑(๒))
มาตรา ๑๒ ให้มีจเรตำรวจแห่งชาติ
Cมาตรา ๑๒ ข้อ ๔๓ ผู้รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ รองจากผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติตามที่ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติได้กำหนดและหรือมอบหมายไว้ได้แก่
ก. จเรตำรวจแห่งชาติ รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ'
ข. ผู้บัญชาการ ผู้บังคับการ
ค. ผู้บัญชาการ รองผู้บัญชาการ ผู้บังคับการ
ง. ไม่มีข้อถูก
มาตรา ๑๓ ในกองบัญชาการหนึ่ง
มาตรา ๑๓ ข้อ ๔๔ ผู้บังคับบัญชาการส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น และมีฐานะเทียบเท่ากองบัญชาการ ได้แก่
ก. ผู้บัญชาการ
ข. ผู้บังคับการ
ค. ถูกทั้ง ๒ ข้อ
ง. ไม่มีข้อใดถูก7
มาตรา ๑๓ ข้อ๔๕ ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเทียบเท่ากองบัญชาการ หัวหน้าส่วนราชการดังกล่าวมีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบดังเช่น/
ก. ผู้บัญชาการ
ข. ผู้กำกับการ
ค. ผุ้อำนวยการ
ง. ผู้จัดการ
มาตรา๑๓ ข้อ ๔๖ ผู้บังคับบัญชาข้าราชการตำรวจและรับผิดชอบการปฏิบัติราชการของ,
วรรคหนึ่ง กองบัญชาการ ได้แก่
ก. ประธานกรรมการ
ข. กรรมการ
ค. ผู้บัญชาการ
ง. ถูกทุกข้อ
มาตรา ๑๓ ข้อ ๔๗ กองบัญชาการเป็นส่วนราชการที่ขึ้นตรงกับ
ก. ผู้บังคับการตำรวจแห่งชาติ
ข. ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ค. ผู้บังคับบัญชาตำรวจแห่งชาติ.
ง. จเรตำรวจแห่งชาติ
มาตรา ๑๔ ผู้บัญชาการมีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ
มาตรา ๑๔ ข้อ ๔๘ อำนาจหน้าที่ผู้บัญชาการ รับผิดชอบในการบริหารราชการตาม
ก. กฎหมาย กฎ
ข. ระเบียบข้อบังคับ และประกาศ
ค. ถูกทั้งข้อ ก. ข้อ ข.
ง. ผิดทุกข้อ;
มาตรา ๑๔(๒) ข้อ ๔๙ ผู้บัญชาการรับผิดชอบโดยอำนาจหน้าที่โดย
ก. หน้าที่ควบคุม กำกับ ดูแลบุคลากร ทางด้านการเงิน และพัสดุ
ข. ควบคุม กำกับดูแลสถานที่และทรัพย์สิน ตามกฎระเบียบ
ค. ก.กับ ข. ใช่เลย
ง. ไม่มีข้อใดถูก
มาตรา ๑๔ (๓) ข้อ๕๐ ผู้แทนสำนักงานาตำรวจแห่งชาติในราชการทั่วไปของกองบัญชาการคือ'
ก. รองบัญชาการ
ข. ผู้บังคับการอำนวยการ
ค. จเรตำรวจแห่งชาติ
ง. ผู้บัญชาการ
มาตรา๑๔ (๔) ข้อ ๕๑ ผู้รายงานผลการปฏิบัติงานพร้อมทั้งปัญหา และอุปสรรคต่อผู้บัญชาการตำรวจห่างชาติทุก ๔ เดือน หรือตามที่กำหนด แอ๊คกรุ๊ป
ก. จเรตำรวจแห่งชาติ
ข. ผู้บัญชาการ
ค. ผู้บังคับการภูธรจังหวัด
ง. ถูกทุกข้อ
มาตรา ๑๔ ข้อ ๕๒ ผู้มีอำนาจในฐานะอธิบดี หรือแทนผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติตามกฎระเบียบข้อบังคับ ได้แก่
ก. ประธานกรรมการ
ข. กรรมการ
ค. รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ง. ผู้บัญชาการ
มาตรา ๑๕ (๑) ข้อ ๕๓ ผู้บังคับบัญชาตำรวจในการปฏิบัติราชการของกองบังคับการได้แก่
วรรคสอง
ก. ผู้บัญชาการ
ข. ก.ต.ร.
ค. ผู้บังคับการ
ง. ถูกทุกข้อ
มาตรา๑๕ (๑) ข้อ ๕๔ อำนาจหน้าที่ผู้ปฏิบัติราชการ ได้แก่
วรรคสอง
ก. กฎหมาย กฎ ระเบียบ
ข. ข้อบังคับ ประกาศ ก.ต.ช. ก.ตร.
ค. ระเบียบประกาศสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ง. ถูกทุกข้อ
มาตรา ๑๕ ข้อ ๕๕ ผู้รับผิดชอบมีอำนาจหน้าที่ในกองบัญชาการ ได้แก่
ก. ประธานกรรมการ
ข. ก.ตร.
ค. ผู้บังคับการ
ง. ไม่มีข้อใดถูก
มาตรา ๑๕ ข้อ๕๖ ขอบเขตอำนาจหน้าที่ผู้บังคับการตำรวจภูธร ได้แก่
ก. กำกับดูแลการปฏิบัติราชการของข้าราชการกองบัญชาการอื่น
ข. ปฏิบัติตามกฎระเบียบ มติ ครม.คำสั่งนายกรัฐมนตรี
ค. สั่งการผู้ประสานงานร่วมมือปฏิบัติหน้าที่และยับยั้งกฎระเบียบ
ง. ถูกทุกข้อ
มาตรา ๑๕ ข้อ ๕๗ ผู้มีหน้าที่รายงานสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และกองบัญชาการที่เกี่ยวข้องตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่กำหนดเกี่ยวกับกองบังคับการตำรวจภูธร
ก. ผู้กำกับการอำนวยการ
ข. สารวัตรนโยบายและแผน
ค. ผู้บังคับการตำรวจภูธร
ง. นายจเรผู้บังคับการภูธรจังหวัด
มาตรา ๑๕ ข้อ ๕๘ ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัดมีอำนาจและหน้าที่อย่างไร
ก. กำกับดูแลการปฏิบัติราชการของข้าราชการตำรวจที่สังกัดกองบัญชาการอื่นและปฏิบัติราชการอยู่ในจังหวัดนั้น
ข. กำกับดูแลการปฏิบัติราชการของข้าราชการตำรวจที่สังกัดในภูมิภาคนั้น
ค. กำกับดูแลการปฏิบัติราชการของข้าราชการตำรวจที่สังกัดกองบัญชาการ
ง. กำกับดูแลการปฏิบัตราชการของข้าราชการตำรวจที่สังกัดกองกำกับการ
มาตรา ๑๕ ข้อ ๕๙ การปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศของทางราชการ ก.ต.ช. ก.ตร. และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ก. ผู้บังคับการตำรวจภูธรเขต
ข. ผู้บังคับการตำรวจภูธรภาค
ค. ผู้บังคับการ
ง. ผู้บัญชาการ
มาตรา ๑๙ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๑๗ ( ๒) ต้องมีความเชี่ยวชาญหรือประสบการณ์
มาตรา ๑๙ ข้อ ๗๓ คุณสมบัติ ก.ต.ช. ผู้ทรงคุณวุฒิต้องเชี่ยวชาญ มีประสบการณ์ในด้านใด
ก. กฎหมาย งบประมาณ การพัฒนาองค์การ
ข. การงานแผน การบริหารและจัดการ
ค. ข้อ ก. กับ ข. ถูก
ง. ไม่ถูกเลยทุกข้อ
มาตรา ๑๙ ข้อ ๗๔ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๑๗(๒) ต้องมีความเชี่ยวชาญด้านใด
ก. ด้านกฎหมาย
ข. การงบประมาณ
ค. การพัฒนาองค์กร
ง. ข้อ ก.ข. และ ค. แล้วยังมีด้านการวางแผน การบริหารจัดการอีกด้วย
ข้อ ๗๕ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒินี้จะมีได้กี่คน
ก. ๔ คน ตามมาตรา ๑๗(๒)
ข. ๕ คน ตามมาตรา ๑๗(๒)
ค. ๖ คน ตามมาตรา ๑๗(๒)
ง. ๗ คน ตามมาตรา ๑๗(๒)
มาตรา ๒๐ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา ๒๐ ข้อ ๗๖ ลักษระต้องห้ามาของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ก. สัญชาติไทย อายุ๔๐ ปีบริบูรณ์ ไม่เป็นนักการเมือง คนล้มละลาย
ข. ไม่เคยต้องโทษจำคุก ไม่ถูกปลด ไล่ออก ไม่ร่ำรวยผิดปกติ
ค. ถูกทุกข้อ
ง. ผิดทุกข้อ
มาตรา ๒๐ ข้อ ๗๗ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติใด
ก. มีสัญชาติไทยโดยกำเนิด
ข. มีอายุไม่ต่ำกว่า ๔๐ ปีบริบูรณ์
ค. ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
ง. ไม่มีข้อใดผิด
มาตรา ๒๐ ข้อ ๗๘ สส.สว. ข้าราชการการเมือง ผู้บริหารท้องถิ่น หรือที่ปรึกษาข้าราชการการเมือง, สส. หรือวุฒิสภาฯ จะเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิได้หรือไม่
ก. ไม่ได้
ข. ได้ ถ้าไม่มีค่าตอบแทนการกระทำดังกล่าว
ค. ได้ ตามความเหมาะสม
ง. ตามการพิจารณาเป็นกรณีไป
มาตรา ๒๑ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดำรงตำแหน่ง
มาตรา ๒๑ ข้อ ๗๙ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดำรงตำแหน่งกี่ปี กี่วาระ
วรรคหนึ่ง
ก. วาระการครองตำแหน่งอยู่ได้คราวละ ๑๐ ปี ไม่จำกัดกี่วาระ
ข. วาระการครองตำแหน่งอยู่ได้คราวละ ๖ ปี อยู่ได้ไม่เกิน ๓ วาระติดต่อกัน
ค. วาระการครองตำแหน่งอยู่ได้คราวละ ๔ ปี อยู่ได้ไม่เกิน ๒ วาระ ติดต่อกัน
ง. ไม่มีข้อใดถูก
มาตราที่ ๒๑ ข้อ ๘๐ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งจะพ้นวาระการดำรงตำแหน่ง ให้ถือวันบังคับใดเป็นการพ้นจากตำแหน่ง
ก. วันซึ่งกำหนดเอาไว้ในกฎหมาย
ข. วันที่ผู้ซึ่งจะพ้นวาระนั้นครบกำหนดวาระการดำรงตำแหน่ง
ค. วันที่ผู้ซึ่งได้รับการสรรหาใหม่เข้ารับหน้าที่
ง. วันที่ซึ่งครบวาระสี่ปีตามวาระการดำรงตำแหน่ง เเอ็คกรุ๊ป
มาตรา ๒๑ ข้อ ๘๑ สูญกาศหรือช่องว่างกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิระหว่างพ้นจากตำแหน่งตามวรรคสอง วาระ
ก. ให้ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าสรรหาใหม่มารับหน้าที่
ข. หมดวาระต้องสิ้นสุด
ค. ถูกทั้ง ก. และ ข.
ง. ผิดหมด
สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 
ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
suraswadee ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ใช้ระดับ I
รายละเอียดผู้ใช้ 
ตอบกลับโพสของ (admin)

รายละเอียดและจำนวนผู้สมัครคลิกที่นี่


จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบตำรวจสายการเงิน
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ

- แนวข้อสอบ  กฎ ก.ตร. ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง

แนวข้อสอบ กฎ ก.ตร. ว่าด้วยประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของตำรวจ 

- แนวข้อสอบ พรก.ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

แนวข้อสอบ พรบ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

- แนวข้อสอบพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

- แนวข้อสอบระเบียบการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วนราชการ  พ.ศ. 2553

- แนวข้อสอบระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ.2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

- แนวข้อสอบหลักการจำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ

- แนวข้อสอบหลักการและนโยบายบัญชี สำหรับหน่วยงานภาครัฐ ฉบับที่ 2

- สรุป กฎ กตร.การประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการตำรวจ พ.ศ 2547

- สรุปแนวข้อสอบระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจากเดินทางไปราชการ 2550

- สรุปแนวข้อสอบระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง 2551

- สรุปสาระสำคัญพระราชบัญญัติตำรวจแห่าติ พ.ศ. 2547

- สรุปสาระสำคัญว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ. 2549 และแก้ไขเพิ่มเติม


สายอำนวยการ  

- แนวข้อสอบ กฎ ก.ตร.ว่าด้วยประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของตำรวจ พ.ศ. 2553

- แนวข้อสอบเก่าตำรวจสัญญาบัตร_อก_ 2555 _11 มี.ค. 55_

- แนวข้อสอบ กฏ ก.ตร. การสืบสวนข้อเท็จจริง

- แนวข้อสอบ ตำรวจแห่งชาติ _ฉบับที่ 2_  พ.ศ. 2554

- แนวข้อสอบ พ.ร.ก ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
        - แนวข้อสอบการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544
        - แนวข้อสอบตำรวจสายอำนายการ ที่ออกบ่อยๆ

แนวข้อสอบพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ

- แนวข้อสอบภาษาไทย
       - แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม


สายป้องกันและปราบปราม 
 - แนวข้อสอบ กฎ ก.ตร.ว่าด้วยประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของตำรวจ พ.ศ. 2553

แนวข้อสอบ กฏ ก.ตร. การสืบสวนข้อเท็จจริง

- แนวข้อสอบ ตำรวจแห่งชาติ _ฉบับที่ 2_  พ.ศ. 2554

- แนวข้อสอบ ป.วิอาญา.M

แนวข้อสอบ พ.ร.ก ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546

แนวข้อสอบกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

 
แนวข้อสอบกฎหมายอาญา

 
แนวข้อสอบเก่าตำรวจสัญญาบัตร_ปป_ 2555 _11 มี.ค. 55_

 
แนวข้อสอบเก่าสายปราบปราม ที่เคยออก

 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ

 
แนวข้อสอบวิชาประมวลกำหมายวิธีพิจารณาความอาญา

 

สายสืบสวนสอบสวน

– แนวข้อสอบกฎหมาย ป.วิอาญา ป.อาญา และ กฎหมายพยาน

– ข้อสอบ พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547

- ข้อสอบตำรวจ กฏ ก.ตร.ประเมินผล และ จริยธรรม

- ข้อสอบตำรวจ กฎ ก.ตร.ว่าด้วยการสืบสวนข้อเท็จจริง พ.ศ.2547

– พ.ร.ก ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 

– ข้อสอบจริยธรรมและกฎ ก.ตร.ว่าด้วยประมวล จรรยาบรรตำรวจ 2553

– แนวข้อสอบ พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539

– เเนวข้อสอบรัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย 2550


สายตำรวจชั้นประทวนยศ ด.ต. 50 ปีขึ้นไป

- ข้อสอบตำรวจ กฏ ก.ตร.ประเมินผล และ จริยธรรม

- ข้อสอบ พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547

– ข้อสอบจริยธรรมและกฎ ก.ตร.ว่าด้วยประมวล จรรยาบรรตำรวจ 2553

– ระเบียบ ตร. การกำหนดอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๘

– บทบาทภารกิจ กตช.  ก.ตร.

– แนวข้อสอบ  เหตุการณ์ปัจจุบัน  การเมือง  สังคม 

– ความรู้ในหน้าที่ตำรวจ

– พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามยาเสพติด

– แนวข้อสอบปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

– อุดมคติของตำรวจ การบริหารงานในสถานีตำรวจ และ การบริหารงานในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ

– โครงสร้างและอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ

รวมแนวข้อสอบเก่าเด็ดๆๆ  และข้อสอบที่ออกบ่อยมาก 


สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 
ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

กรุณาใช้ข้อความที่สุภาพ คุณสามารถบันทึกฉบับร่างได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้