ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : ขอแนวข้อสอบ กกต.สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง
sukree ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ใช้ระดับ I
รายละเอียดผู้ใช้ 

ขอแนวข้อสอบ กกต.สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง

แชร์กระทู้นี้

แนวข้อสอบ 

พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.. 2550

 

4. พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.. 2550  บังคับให้เมื่อใด
5. 6   ตุลาคม  2550                           ค.  6  พฤศจิกายน  2550
6. 7   ตุลาคม  2550                           ง.   7  พฤศจิกายน   2550
ตอบ  ข. 7   ตุลาคม  2550
มาตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
10. ใครคือผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.. 2550
11. พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์           ค. พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร
12. สมัคร สุนทรเวช                          ง. ชวน หลีกภัย
ตอบ  ก. พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์
13.  “พรรคการเมือง”  ตาม พรบ. นี้หมายความว่าอย่างไร
14. คณะบุคคลที่รวมกันจัดตั้งเป็นพรรคการเมืองโดยได้รับการจดแจ้งการจัดตั้งตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้เพื่อสร้างเจตนารมณ์ทางการเมือง
15. สมาชิกพรรคการเมือง
16. หน่วยงานที่รวมกันจัดตั้งเป็นพรรคการเมืองโดยได้รับการจดแจ้งการจัดตั้งตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้เพื่อสร้างเจตนารมณ์ทางการเมือง
17. ไม่มีข้อถูก
ตอบ ก. คณะบุคคลที่รวมกันจัดตั้งเป็นพรรคการเมืองโดยได้รับการจดแจ้งการจัดตั้งตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้เพื่อสร้างเจตนารมณ์ทางการเมือง
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้
“พรรคการเมือง” หมายความว่า คณะบุคคลที่รวมกันจัดตั้งเป็นพรรคการเมืองโดยได้รับการจดแจ้งการจัดตั้งตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้เพื่อสร้างเจตนารมณ์ทางการเมืองของประชาชนตามวิถีทางการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขโดยมุ่งที่จะส่งสมาชิกเข้าสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและมีการดำเนินกิจกรรมทางการเมืองอื่นอย่างต่อเนื่อง
17. “ประโยชน์อื่นใดอันอาจคำนวณเป็นเงินได้ตาม พรบ. นี้หมายความรวมถึงอะไรบ้าง
18. การปลดหนี้หรือการลดหนี้ให้เปล่า
19. การให้ยืมโดยไม่คิดดอกเบี้ย
20. การเข้าค้ำประกันโดยไม่คิดค่าธรรมเนียม
21. ถูกทุกข้อ
ตอบ  ง. ถูกทุกข้อ
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้
“ประโยชน์อื่นใดอันอาจคำนวณเป็นเงินได้” หมายความรวมถึง
(1)การปลดหนี้ หรือการลดหนี้ให้เปล่า
(2)การให้ยืมโดยไม่คิดดอกเบี้ย
(3)การเข้าค้ำประกันโดยไม่คิดค่าธรรมเนียม
(4) การให้ใช้สถานที่ ยานพาหนะหรือทรัพย์สิน โดยไม่คิดค่าเช่าหรือค่าบริการหรือคิดค่าเช่าหรือค่าบริการน้อยกว่าที่คิดกับบุคคลอื่นโดยปกติทางการค้า
(5) การให้ใช้บุคลากรซึ่งมิได้เป็นลูกจ้างหรือผู้รับจ้างของพรรคการเมืองโดยพรรคการเมือง หรือสมาชิกไม่ต้องชำระค่าจ้างหรือสินจ้างหรือต้องชำระค่าจ้างหรือสินจ้างเพียงบางส่วนเว้นแต่การเป็นอาสาสมัครนอกเวลาการทำงานโดยปกติของผู้นั้น
(6) การให้ใช้บริการโดยไม่คิดค่าใช้บริการหรือคิดค่าใช้บริการน้อยกว่าที่คิดกับบุคคลอื่นโดยปกติทางการค้า
(7) การให้ส่วนลดในสินค้าหรือทรัพย์สินที่จำหน่ายโดยให้ส่วนลดมากกว่าที่ให้กับบุคคลอื่นโดยปกติทางการค้า
(8) การให้เดินทางหรือให้ขนส่งบุคคลหรือสิ่งของโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายหรือคิดค่าใช้จ่ายน้อยกว่าที่คิดกับบุคคลอื่น โดยปกติทางการค้า
(9) การจัดเลี้ยง การจัดมหรสพหรือการบันเทิงอื่นให้โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายหรือคิดค่าใช้จ่ายน้อยกว่าที่คิดกับบุคคลอื่น โดยปกติทางการค้า
(10) การให้บริการวิชาชีพอิสระเช่น แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล สถาปนิก วิศวกร กฎหมาย หรือบัญชี โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายหรือคิดค่าใช้จ่ายน้อยกว่าที่คิดกับบุคคลอื่น โดยปกติทางการค้า
(11) การอื่นซึ่งเป็นการกระทำที่ทำให้พรรคการเมืองหรือสมาชิกได้ประโยชน์อื่นใดอันอาจคำนวณเป็นเงินได้หรือไม่ต้องออกค่าใช้จ่ายซึ่งโดยปกติต้องจ่าย
การดำเนินการตาม (๕) (๖) (๗) (๘) (๙) หรือ (๑๐) ซึ่งพรรคการเมืองจัดให้แก่สมาชิกและมิได้เป็นไปเพื่อการหาเสียงเลือกตั้งให้แก่สมาชิกมิให้ถือว่าเป็นการให้ประโยชน์อื่นใดอันอาจคำนวณเป็นเงินได้ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้
20. “กองทุน”ตาม พรบ. นี้หมายความว่าอย่างไร
21. กองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง
22. กองทุนเพื่อการพัฒนาสมาชิกวุฒิสภา
23. กองทุนเพื่อการพัฒนาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
24. กองทุนเพื่อการพัฒนา กกต.
ตอบ  ก. กองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้
“กองทุน” หมายความว่ากองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง
24. บุคคลใดเป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้
25. ประธานกรรมการการเลือกตั้ง
26. เลขาธิการกรรมการเลือกตั้ง
27. คณะกรรมการการเลือกตั้ง
28. กรรมการการเลือกตั้ง
ตอบ  ก. ประธานกรรมการการเลือกตั้ง
มาตรา 5 ให้ประธานกรรมการการเลือกตั้งรักษาการตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้และให้มีอำนาจออกประกาศโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการเลือกตั้งเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้
32. ประธานกรรมการการเลือกตั้งมีอำนาจออกประกาศโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการเลือกตั้งเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ใช้บังคับได้เมื่อใด
33. ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
34. ประกาศในระเบียบการว่าด้วยเรื่องพรรคการเมือง
35. ประกาศในข้อบังคับว่าด้วยเรื่องพรรคการเมือง
36. มติของที่ประชุม กกต.
ตอบ  ก. ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา 5 ให้ประธานกรรมการการเลือกตั้งรักษาการตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้และให้มีอำนาจออกประกาศโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการเลือกตั้งเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้
ประกาศตามวรรคหนึ่งเมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
33. บุคคลใดที่เป็นนายทะเบียนตาม พรบ.นี้
34. ประธานกรรมการเลือกตั้ง
35. เลขาธิการกรรมการเลือกตั้ง
36. คณะกรรมการเลือกตั้งที่ได้รับการแต่งตั้งจากประธานกรรมการเลือกตั้ง
37. คณะกรรมการเลือกตั้ง
ตอบ  ก. ประธานกรรมการเลือกตั้ง
45. หน้าที่ดำเนินการเกี่ยวกับการจดแจ้งการจัดตั้งพรรคการเมืองควบคุม ตรวจสอบการดำเนินงานของพรรคการเมืองและปฏิบัติงานให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ เป็นหน้าที่ของใคร
46. ประธานกรรมการเลือกตั้ง
47. เลขาธิการกรรมการเลือกตั้ง
48. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง
49. กองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมือง
ตอบ  ค. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง
มาตรา 6 ให้ประธานกรรมการการเลือกตั้งเป็นนายทะเบียนมีอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้
ให้สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งมีหน้าที่ดำเนินการเกี่ยวกับการจดแจ้งการจัดตั้งพรรคการเมืองควบคุม ตรวจสอบการดำเนินงานของพรรคการเมืองและปฏิบัติงานให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้
53. การจัดตั้งพรรคการเมืองผู้มีสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติซึ่งได้สัญชาติไทยมาแล้วไม่น้อยกว่ากี่ปี
54. 10  ปี                                                              ค.  7  ปี
55. 8  ปี                                                                 ง.  5  ปี
ตอบ   ง.  5  ปี
57. การจัดตั้งพรรคการเมืองต้องมีอายุไม่ต่ำกว่ากี่ปี
58. 35  ปีบริบูรณ์                                                ค.  20   ปีบริบูรณ์
59. 25   ปีบริบูรณ์                                               ง.   18  ปีบริบูรณ์
ตอบ  ง.   18  ปีบริบูรณ์
61. การรวมตัวกันดำเนินการจัดตั้งพรรคการเมืองได้นั้นต้องมีจำนวนบุคคลกี่คนขึ้นไป
62. 30  คน                                                           ค.  15  คน
63. 20  คน                                                           ง.  10  คน
ตอบ  ค.  15  คน
มาตรา 8 ผู้มีสัญชาติไทยโดยการเกิดหรือผู้มีสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติซึ่งได้สัญชาติไทยมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปีมีอายุไม่ต่ำกว่าสิบแปดปีบริบูรณ์ และไม่มีลักษณะต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญมีจำนวนตั้งแต่สิบห้าคนขึ้นไปอาจรวมกันดำเนินการจัดตั้งพรรคการเมืองได้
ในการจัดตั้งพรรคการเมืองให้ผู้จัดตั้งพรรคการเมืองจัดให้มีการประชุมเพื่อกำหนดนโยบายพรรคการเมืองกำหนดข้อบังคับพรรคการเมือง และเลือกตั้งคณะกรรมการบริหารพรรคการเมือง
การประชุมตามวรรคสองให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในประกาศของคณะกรรมการการเลือกตั้ง
63. ข้อใดไม่ใช่คณะกรรมการบริหารพรรคการเมือง
64. หัวหน้าพรรคการเมือง
65. โฆษกพรรคการเมือง
66. เหรัญญิกพรรคการเมือง
67. ประธานกรรมการ
ตอบ  ง. ประธานกรรมการ
67. กรรมการบริหารพรรคการเมืองมีวาระการดำรงตำแหน่งไม่เกินคราวละกี่ปี
68. 6  ปี                                                 ค.  4 ปี
69. 5  ปี                                                 ง.  2 ปี
ตอบ   ค.  4  ปี
มาตรา 11คณะกรรมการบริหารพรรคการเมืองประกอบด้วย หัวหน้าพรรคการเมือง รองหัวหน้าพรรคการเมือง เลขาธิการพรรคการเมืองรองเลขาธิการพรรคการเมือง เหรัญญิกพรรคการเมือง นายทะเบียนสมาชิกพรรคการเมืองโฆษกพรรคการเมืองและกรรมการบริหารอื่นซึ่งเลือกตั้งจากสมาชิกผู้มีสัญชาติไทยโดยการเกิดมีอายุไม่ต่ำกว่ายี่สิบปีบริบูรณ์ และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 102 (1)(2) (3) (4) (5) (6) (7) (13) และ (14) ของรัฐธรรมนูญ
กรรมการบริหารพรรคการเมืองมีวาระการดำรงตำแหน่งตามข้อบังคับพรรคการเมืองซึ่งต้องไม่เกินคราวละสี่ปีและอาจได้รับเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งอีกได้
71. บุคคลใดมีหน้าที่ยื่นจดแจ้งการจัดตั้งพรรคการเมืองต่อนายทะเบียน
72. หัวหน้าพรรคการเมือง                               ค. โฆษกพรรคการเมือง
73. รองหัวหน้าพรรคการเมือง                        ง. เลขาธิการพรรคการเมือง
ตอบ  ก. หัวหน้าพรรคการเมือง
76. ข้อใดคือสิ่งที่ยื่นจดแจ้งการจัดตั้งพรรคการเมือง
77. นโยบายพรรคการเมือง
78. ข้อบังคับพรรคการเมือง
79. บัญชีแสดงสินทรัพย์และหนี้สินของพรรคการเมือง
80. ถูกทุกข้อ
ตอบ  ง. ถูกทุกข้อ
มาตรา 12 ให้ผู้ที่ได้รับเลือกตั้งเป็นหัวหน้าพรรคการเมืองยื่นจดแจ้งการจัดตั้งพรรคการเมืองต่อนายทะเบียนโดยต้องยื่นพร้อมกับนโยบายพรรคการเมือง ข้อบังคับพรรคการเมืองบัญชีแสดงสินทรัพย์และหนี้สินของพรรคการเมืองหนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่เป็นที่ทำการพรรคการเมืองซึ่งต้องอยู่ในราชอาณาจักรและสำเนารายงานการประชุมตั้งพรรคการเมือง
87. ให้นายทะเบียนโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการเลือกตั้งรับจดแจ้งการจัดตั้งพรรคการเมืองและแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ยื่นจดแจ้งการจัดตั้งพรรคการเมืองทราบภายในกี่วันนับแต่วันที่ได้รับคำขอ
88. 60   วัน                                           ค.  15  วัน
89. 30  วัน                                            ง.  7 วัน
ตอบ  ข.  30 วัน
มาตรา 13 เมื่อได้รับการยื่นจดแจ้งการจัดตั้งพรรคการเมืองให้นายทะเบียนพิจารณาตรวจสอบในเรื่องดังต่อไปนี้

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต.
 ใหม่ล่าสุดรวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ 
แนวข้อสอบ พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ.2550
แนวข้อสอบกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550
แนวข้อสอบ พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้ง สส.และ สว. 2550
แนวข้อสอบ พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2550‏
แนวข้อสอบ พรบ.การเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. 2545
แนวข้อสอบ พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ 2552
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม
แนวข้อสอบ พ.ร.ก ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
แนวข้อสอบ ข่าว และเหตุการณ์ปัจจุบัน  การเมืองเศรษฐกิจและ สังคม


ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์สนใจสั่งซื้อมาที่  โทร 085-0127724
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย  

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ 399-
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3 ระเบียบงานสารบัยราคา 679 บาท
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ 
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 ธ.กสิกรไทย
 
บิ๊กซีขอนแก่น 
decho pragay  ออมทรัพย์ 
โอนเงินแล้วแจ้งที่  decho.by@hotmail.com

nokyung_2516 ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ใช้ระดับ I
รายละเอียดผู้ใช้ 

1. พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2550  บังคับให้เมื่อใด

ก. 6   ตุลาคม  2550                           ค.  6  พฤศจิกายน  2550

ข. 7   ตุลาคม  2550                           ง.   7  พฤศจิกายน   2550

ตอบ  ข. 7   ตุลาคม  2550

มาตรา 2 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

2. “ผู้ได้รับการเสนอชื่อ”  ตาม พรบ. นี้หมายถึงบุคคลใด

ก. ผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา แล้วแต่กรณี

ข. ผู้ได้รับการเสนอชื่อเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

ค. ผู้ได้รับการเสนอชื่อเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นสมาชิกวุฒิสภา

ง. ผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาแล้วแต่กรณี

ตอบ ค. ผู้ได้รับการเสนอชื่อเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นสมาชิกวุฒิสภา

มาตรา 4 ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้

ผู้ได้รับการเสนอชื่อหมายความว่า ผู้ได้รับการเสนอชื่อเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นสมาชิกวุฒิสภา

3. บุคคลใดเป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้

ก. ประธานกรรมการการเลือกตั้ง

ข. เลขาธิการกรรมการเลือกตั้ง

ค. คณะกรรมการการเลือกตั้ง

ง. กรรมการการเลือกตั้ง

ตอบ  ก. ประธานกรรมการการเลือกตั้ง

มาตรา 5 ให้ประธานกรรมการการเลือกตั้งรักษาการตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้

4. ต้องประกาศผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรภายในกี่วันนับแต่วันเลือกตั้ง

ก. 30  วัน                                            ค. 7   วัน

ข. 15  วัน                                            ง. 3    วัน

ตอบ  ค. 7   วัน

5. กรณีมีเหตุอันสงสัยว่ามีกรณีไม่สุจริตและเที่ยงธรรมในเขตเลือกตั้งต้องสอบสวนและวินิจฉัยให้แล้วเสร็จภายในกี่วัน

ก. 30  วัน                                            ค. 7   วัน

ข. 15   วัน                                           ง.  3  วัน

ตอบ  ก.  30  วัน

มาตรา 8 ในการดำเนินการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการเลือกตั้งทั่วไป ถ้าคณะกรรมการการเลือกตั้งเห็นว่ามีกรณีอันควรเชื่อได้ว่าการเลือกตั้งนั้นมิได้เป็นไปโดยไม่สุจริตและเที่ยงธรรม ให้ประกาศผลการเลือกตั้งว่าผู้ใดได้รับเลือกตั้งภายในเจ็ดวันทำการนับแต่วันเลือกตั้ง แต่ถ้าเห็นว่าเป็นกรณีที่มีเหตุอันสงสัยว่ามีกรณีไม่สุจริตและเที่ยงธรรมในเขตเลือกตั้งใด จะยังไม่ประกาศผลสำหรับเขตเลือกตั้งนั้นก็ได้ แต่ต้องสอบสวนและวินิจฉัยให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันเลือกตั้ง ทั้งนี้ การประกาศผลการเลือกตั้งไม่มีผลกระทบกระเทือนการดำเนินการของคณะกรรมการการเลือกตั้งตามหมวด 1 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ส่วนที่ 10 การดำเนินการกรณีการเลือกตั้งมิได้เป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม และส่วนที่ 11 การคัดค้านการเลือกตั้ง

6. ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในแต่ละครั้ง คณะกรรมการเลือกตั้งมีอำนาจจะแต่งตั้งคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้ง ไม่น้อยกว่ากี่คน

. 8 คน                                                  ค. 6 คน

. 7 คน                                                  ง. 5 คน

ตอบ . 5 คน

มาตรา15 ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแต่ละครั้ง ให้คณะกรรมการการเลือกตั้งมีอำนาจแต่งตั้งบุคคลเป็นเจ้าพนักงานผู้ดำเนินการเลือกตั้ง ดังต่อไปนี้

(2) คณะกรรมการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้งไม่น้อยกว่าห้าคน มีหน้าที่เกี่ยวกับการกำหนดหน่วยเลือกตั้ง ที่เลือกตั้ง การจัดทำบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง การเพิ่มชื่อ และการถอนชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเลือกตั้ง รวมทั้งมีหน้าที่ในการกำกับดูแลการลงคะแนนเลือกตั้ง การนับคะแนนเลือกตั้ง และการประกาศผลการนับคะแนนเลือกตั้ง

7.  ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับหน้าที่ของคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้ง

. กำหนดหน่วยเลือกตั้ง ที่เลือกตั้ง

. จัดทำบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง

. การถอนชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเลือกตั้ง

. ถูกทุกข้อ

                                ตอบ  ง.ถูกทุกข้อ  ( ตามมาตรา 15(2)  )

8. คณะกรรมการการเลือกตั้งประจำหน่วยเลือกตั้ง มีอำนาจเลือกตั้ง คณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งได้ไม่น้อยกว่ากี่คน

. 6 คน                                                   . 7 คน

. 8 คน                                                  ง. ตามที่เห็นสมควร

ตอบ . ตามที่เห็นสมควร

มาตรา 15 วรรคท้าย เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการเลือกตั้ง ให้คณะกรรมการการเลือกตั้งมีอำนาจแต่งตั้งหรือมอบหมายให้ผู้อำนวยการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้งหรือคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ คณะบุคคล หรือบุคคลใด เป็นผู้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานในการเลือกตั้งได้ตามสมควร

9. คณะกรรมการการลงคะแนนและนับคะแนนมีจำนวนกี่คน

. 9   คน                                                ค. 7 คน

. 8   คน                                                ง. ตามที่เห็นสมควร

ตอบ ก. 9  คน

มาตรา 16 ให้คณะกรรมการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้งแต่งตั้งบุคคลเป็นเจ้าพนักงานผู้ดำเนินการเลือกตั้ง ดังต่อไปนี้

(2) คณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งไม่น้อยกว่าเก้าคน มีหน้าที่เกี่ยวกับการลงคะแนนเลือกตั้งในที่เลือกตั้งและนับคะแนนเลือกตั้งของหน่วยเลือกตั้งแต่ละแห่ง

10. คณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งประกอบด้วยประธานหนึ่งคนและกรรมการอีกกี่คน

. ไม่น้อยกว่า 5  คน                            ค. ไม่น้อยกว่า  7  คน

. ไม่น้อยกว่า 6    คน                          ง. ไม่น้อยกว่า  8  คน

ตอบ . ไม่น้อยกว่า  8  คน

มาตรา 17 คณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งตามมาตรา 16 (2) ให้ประกอบด้วยประธานกรรมการหนึ่งคนและกรรมการไม่น้อยกว่าแปดคน ซึ่งแต่งตั้งจากผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งนั้น

11. บุคคลใดแต่งตั่งคณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งประกอบด้วยประธานหนึ่งคนและกรรมการอีกแปดคน

ก. ประธานกรรมการการเลือกตั้ง

ข. คณะกรรมการการเลือกตั้ง

ค. กรรมการการเลือกตั้ง

ง. ผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งนั้น

ตอบ  ง. ผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งนั้น

มาตรา 17 คณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งตามมาตรา 16 (2) ให้ประกอบด้วยประธานกรรมการหนึ่งคนและกรรมการไม่น้อยกว่าแปดคน ซึ่งแต่งตั้งจากผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งนั้น

12. ในวันเลือกตั้ง ถ้าถึงเวลาเปิดการลงคะแนนเลือกตั้งแล้วมีกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งมาปฏิบัติหน้าที่ไม่ถึงเก้าคน ต้องกระทำการอย่างไร

ก. ให้ดำเนินการตามจำนวนกรรมการที่มีอยู่

ข. คณะกรรมการประจำหน่วยแต่งตั้งผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งนั้นเป็นกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งจนครบเก้าคน

ค. คณะกรรมการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้งแต่งตั้งบุคคลอื่นเป็นกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้ง

ง. ข้อ ก ผิด

ตอบ  ง. ข้อ ก ผิด

มาตรา  17 วรรคท้าย  ในวันเลือกตั้ง ถ้าถึงเวลาเปิดการลงคะแนนเลือกตั้งแล้วมีกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งมาปฏิบัติหน้าที่ไม่ถึงเก้าคน ให้คณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งที่อยู่ในขณะนั้นแต่งตั้งผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งนั้นเป็นกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งจนครบเก้าคน แต่ถ้าไม่มีกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งมาปฏิบัติหน้าที่เลย ให้คณะกรรมการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้งแต่งตั้งบุคคลอื่นเป็นกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยเลือกตั้ง ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการการเลือกตั้งกำหนด

13. พรรคการเมืองที่ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งจะส่งตัวแทนไปประจำอยู่ ณ ที่เลือกตั้งเพื่อสังเกตการณ์การลงคะแนนเลือกตั้งและการนับคะแนนเลือกตั้ง ให้ยื่นหนังสือแต่งตั้งตัวแทนของตนต่อคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้งก่อนวันเลือกตั้งไม่น้อยกว่า

. 10   วัน                                             ค. 15  วัน

. 20   วัน                                              ง. 30   วัน

ตอบ . 15  วัน

14. ตัวแทนสังเกตการณ์แต่ละหน่วยเลือกตั้งมีได้กี่คน

ก. 5  คน                                              ค. 3  คน

ข. 4  คน                                              ง.  1  คน

ตอบ  ง. 1  คน

 มาตรา 18 พรรคการเมืองที่ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งใดประสงค์จะส่งตัวแทนไปประจำอยู่ ณ ที่เลือกตั้งเพื่อสังเกตการณ์การลงคะแนนเลือกตั้งและการนับคะแนนเลือกตั้ง ให้ยื่นหนังสือแต่งตั้งตัวแทนของตนต่อคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้งก่อนวันเลือกตั้งไม่น้อยกว่าสิบห้าวัน ทั้งนี้ ให้แต่งตั้งได้ที่เลือกตั้งละหนึ่งคน

15. บุคคลใดที่ได้รับความคุ้มครอง ไม่ต้องรับผิดทั้งทางแพ่งหรืออาญา

ก. เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย การเลือกตั้ง

ข. ผู้อำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัด

ค. ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานในการเลือกตั้ง

ง. ถูกทุกข้อ

ตอบ  ง. ถูกทุกข้อ

มาตรา 20ห้ามมิให้กรรมการการเลือกตั้ง เลขาธิการคณะกรรมการการเลือกตั้ง ผู้อำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัด กรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัด ผู้อำนวยการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้ง กรรมการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้ง ผู้อำนวยการประจำหน่วยเลือกตั้ง กรรมการประจำหน่วยเลือกตั้ง เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย หรือผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานในการเลือกตั้ง จงใจไม่ปฏิบัติตามหน้าที่ ทุจริตต่อหน้าที่ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อขัดขวางมิให้การเป็นไปตามกฎหมาย ประกาศ ระเบียบ หรือคำสั่งของคณะกรรมการการเลือกตั้ง หรือคำสั่งของศาลอันเกี่ยวกับการเลือกตั้งตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้

ในกรณีที่บุคคลตามวรรคหนึ่งปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย ประกาศ ระเบียบ หรือคำสั่งของคณะกรรมการการเลือกตั้ง หรือคำสั่งของศาลอันเกี่ยวกับการเลือกตั้ง และได้กระทำโดยสุจริต ย่อมได้รับความคุ้มครอง ไม่ต้องรับผิดทั้งทางแพ่งหรืออาญา

manot7 ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ใช้ระดับ I
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดนครพนม 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดสกลนคร 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดมุกดาหาร 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดอุบลราชธานี 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดหนองคาย 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดอำนาจเจริญ 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดหนองบัวลำภู 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดศรีสะเกษ 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดอุดรธานี 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดยโสธร 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดเลย 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดกาฬสินธุ์ 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดร้อยเอ็ด 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดมหาสารคาม 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดสุรินทร์ 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดขอนแก่น 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดบุรีรัมย์ 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดเพชรบูรณ์ 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดชัยภูมิ 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดนครราชสีมา 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดเชียงใหม่ 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัด-เชียงราย 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดแม่ฮ่องสอน 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดพะเยา 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดลำพูน 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดน่าน 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดลำปาง 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดแพร่ 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดอุตรดิตถ์ 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดตาก 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดพิษณุโลก 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดกำแพงเพชร 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดพิจิตร 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดนครสวรรค์ 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดอุทัยธานี 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดชัยนาท 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดลพบุรี 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดสิงห์บุรี 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดปราจีนบุรี 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดสระบุรี 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดนครนายก 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดอ่างทอง 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดราชบุรี 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดสุพรรณบุรี 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดอยุธยา 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดสมุทรสงคราม 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดสมุทรสาคร 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดสระแก้ว 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดตราด 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดจันทบุรี 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดระยอง 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดชลบุรี 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดฉะเชิงเทรา 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดเพชรบุรี 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดชุมพร 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดระนอง 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดสุราษฎร์ธานี 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดนครศรีธรรมราช 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดพังงา 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดกระบี่ 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดตรัง 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดพัทลุง 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดภูเก็ต 
แนวข้อสอบพนักงานการเลือกตั้ง กกต. จังหวัดสงขลา

vilairat123 ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ใช้ระดับ I
รายละเอียดผู้ใช้ 
ขอด้วยซิค่ะ ยังสอบไม่ผ่านเหมือนกันเลยค่ะ ขอบคุณมากนะค่ะ vilairatpoom@hotmail.com
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
00000000000
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

กรุณาใช้ข้อความที่สุภาพ คุณสามารถบันทึกฉบับร่างได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้