ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : เปิดสอบสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ  20 มิถุนายน - 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

เปิดสอบสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ  20 มิถุนายน - 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

แชร์กระทู้นี้

สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ รับสมัครบุคคลเพื่อสอบคัดเลือกเข้ารับราชการ ตำแหน่ง นักวิชาการศาสนา จำนวน 12 ตำแหน่ง ตั้งแต่วันที่ 20 มิถุนายน - 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2557




สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ รับสมัครบุคคลเพื่อสอบคัดเลือกเข้ารับราชการ ตำแหน่ง นักวิชาการศาสนา จำนวน12 ตำแหน่ง ตั้งแต่วันที่ 20 มิถุนายน - 10 กรกฎาคม พ.ศ.2557


ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา
๑. ด้านการปฏิบัติการ 
(๑) ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลด้านพุทธศาสนา และศาสนาอื่นเบื้องต้นพร้อมทั้งสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 
(๒) จัดทำคู่มือ หลักสูตร สื่อการเรียนการสอนทางศาสนา การสอนการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกธรรม แผนกบาลี และแผนกสามัญศึกษา 
(๓) จัดทำคู่มือ หลักสูตร สื่อการเรียนการสอนทางศาสนาของศูนย์พระพุทธศาสนา วันอาทิตย์ 
(๔) สำรวจ และรวบรวมข้อมูลสารสนเทศทางด้านการศาสนา ด้านการศึกษาพระปริยัติธรรม 
(๕) พิจารณาคำขออนุญาตจัดตั้งศูนย์หรือหน่วยเผยแพร่ด้านศาสนา และคำขออนุญาตจัดตั้งโรงเรียนพระปริยัติธรรม 
(๖) พิจารณาจัดสรรเงินอุดหนุนตามพระบรมราชโองการ อุดหนุนกิจกรรม ซ่อมแซม ศาสนสถาน องค์กรทางศาสนา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามภารกิจ อุดหนุนการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกธรรม แผนกบาลี และแผนกสามัญศึกษา เงินอุดหนุนบูรณะพัฒนาวัด 
(๗) ฝึกอบรมบุคลากรทางศาสนา รับสนองงานฝึกอบรมพระสังฆาธิการ 
(๘) จัดทำหนังสือรับรองการปฏิบัติงานของผู้เผยแพร่ศาสนาชาวต่างประเทศและหนังสือรับรองการเทียบวุฒิการศึกษาพระปริยัติธรรม 
(๙) ปฏิบัติงานด้านศาสนิกสัมพันธ์ งานด้านการประชุมมหาเถรสมาคม 
(๑๐) ดำเนินการด้านศาสนสงเคราะห์ 
(๑๑) รวบรวม ตรวจสอบข้อมูลประวัติพระสังฆาธิการเพื่อดำเนินการจัดสรรนิตยภัต 
(๑๒) ตรวจสอบข้อมูลและร่วมดำเนินการเกี่ยวกับการร้องเรียนความประพฤติผิดพระวินัยของพระสงฆ์ 
๒. ด้านการวางแผน 
วาง แผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการเพื่อให้การดำเนินงาน เป็นไปตามเป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด 
๓. ด้านการประสานงาน 
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้ 
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย 
๔. ด้านการบริการ 
(๑) รับสนองงานร่วมกับสำนักพระราชวังตามหมายรับสั่ง 
(๒) ให้คำปรึกษา ตอบปัญหาและชี้แจงเกี่ยวกับงานวิชาการด้านศาสนา 
(๓) รับสนองงานแม่กองธรรม และแม่กองบาลีสนามหลวง เกี่ยวกับการสอบธรรม-บาลี 
(๔) ให้คำปรึกษา ตอบปัญหา และชี้แจงเกี่ยวกับงานวิชาการด้านการศึกษาของคณะสงฆ์ การพัฒนาวัด และปัญหาการปกครองคณะสงฆ์ 
(๕) ให้คำปรึกษา ตอบปัญหา และชี้แจงเกี่ยวกับงานวิชาการด้านการพัฒนาศาสนสถาน 
(๖) ให้คำปรึกษา แนะนำแก่ส่วนราชการ องค์กร สมาคม มูลนิธิทางศาสนาตามขอบเขตอำนาจหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 


รายละเอียดเพิ่มเติม  อ่านที่นี่ 

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบนักวิชาการศาสนา

รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ

ความรู้เกี่ยวกับสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

พระราชบัญญัติ คณะสงฆ์ พ.ศ.2505 และแก้ไขเพิ่มเติม

แนวข้อสอบพระราชบัญญัติ คณะสงฆ์ พ.ศ.2505 และแก้ไขเพิ่มเติม

สรุปสาระสำคัญ+แนวข้อสอบ แผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11

แนวข้อสอบเก่าสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ _อัตนัย

''ยุทธศาสตร์การเผยแผ่พุทธศาสนา''

การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม

ถาม - ตอบ ความรู้เกี่ยวกับศาสนาต่างๆ

เทคนิคการสอบสัมภาษณ์


ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่  โทร 085-0127724 Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย  ในราคาเพียงชุดละ   399 บาท 

หนังสือ +MP3 
พระราชบัญญัติ คณะสงฆ์ ราคา  679  บาท

กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ 
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 ธ.กสิกรไทย

 สาขาบิ๊กซีขอนแก่น ชื่อบัญชี เดโช  พระกาย  ออมทรัพย์ 
โอนเงินแล้วแจ้งที่   decho.by@hotmail.com

รูปภาพ: นักวิชาการศาสนา (Large).jpg
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

1. พ.ร.บ.คณะสงฆ์  พ.ศ. 2505 ให้ไว้ ณ วันใด 

ก. 24 ธันวาคม พ.ศ.2505 ค. 21 มกราคม พ.ศ.2505 

ข. 25 ธันวาคม พ.ศ.2505 ง. 20 มกราคม พ.ศ.2505

2. พ.ร.บ.คณะสงฆ์ ไห้ไว้ เป็นปีที่เท่าใด ในรัชกาลปัจจุบัน 

ก. ปีที่ 15 ค. ปีที่ 20

ข. ปีที่ 16 ง. ปีที่ 17

3. มาตรา ๓ ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ปีใด 

ก. พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช 2484 

ข. พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช 2448

ค. พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช 2468

ง. พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช  2498

4. บรรดาพระภิกษุที่ได้รับบรรพชาอุปสมบทจากพระอุปัชฌาย์ตามพระราชบัญญัตินี้ หรือตามกฎหมายที่ใช้บังคับก่อนพระราชบัญญัตินี้ไม่ว่าจะปฏิบัติศาสนกิจในหรือนอกราชอาณาจักร หมายถึง 

ก. พระราชาคณะ 

ข. คณะสงฆ์อื่น 

ค. คณะสงฆ์ 

ง. สมเด็จพระราชาคณะผู้มีอาวุโสสูงสุดโดยสมณศักดิ์ 

5. บรรดาบรรพชิตจีนนิกาย หรือ อนัมนิกาย หมายถึง 

ก. พระราชาคณะ 

ข. คณะสงฆ์อื่น 

ค. คณะสงฆ์ 

ง. สมเด็จพระราชาคณะผู้มีอาวุโสสูงสุดโดยสมณศักดิ์ 

6. พระภิกษุที่ได้รับแต่งตั้งและสถาปนาให้มีสมณศักดิ์ตั้งแต่ชั้นสามัญจนถึงชั้นสเด็จพระราชาคณะ หมายถึง

ก. พระราชาคณะ 

ข. คณะสงฆ์อื่น 

ค. คณะสงฆ์ 

ง. สมเด็จพระราชาคณะผู้มีอาวุโสสูงสุดโดยสมณศักดิ์ 

7. สมเด็จพระราชาคณะที่ได้รับสถาปนาก่อนสมเด็จพระราชาคณะรูปอื่น ถ้าได้รับสถาปนาในวันเดียวกันให้ถือรูปที่ได้รับสถาปนาในลำดับ หมายถึง

ก. พระราชาคณะ 

ข. คณะสงฆ์อื่น 

ค. คณะสงฆ์ 

ง. สมเด็จพระราชาคณะผู้มีอาวุโสสูงสุดโดยสมณศักดิ์ 

8. สมเด็จพระสังฆราช อยู่ในหมวดใดของพ.ร.บ.คณะสงฆ์ พ.ศ.2505 

ก. หมวด 1 ค. หมวด 3

ข. หมวด 2 ง. หมวด 4 

9. ใครคือผู้สถาปนาตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช 

ก. นายกรัฐมนตรี ค. สมเด็จพระราชาคณะผู้มีอาวุโสสูงสุด

ข. พระมหากษัตริย์ ง. มหาเถรสมาคม 

10. ในกรณีที่ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชว่างลง ใครเป็นผู้เสนอนามขึ้นทูลเกล้าฯเพื่อทรงสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราช

ก. นายกรัฐมนตรี ค. สมเด็จพระราชาคณะผู้มีอาวุโสสูงสุด

ข. พระมหากษัตริย์ ง. มหาเถรสมาคม 

11. จากข้อ 10 ในกรณีที่ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชว่างลง นายกรัฐมนตรีจะเสนอนามผู้ใดขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อทรงสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราช

ก. นายกรัฐมนตรี ค. สมเด็จพระราชาคณะผู้มีอาวุโสสูงสุด

ข. พระมหากษัตริย์ ง. มหาเถรสมาคม 

12. จากข้อ 11 นายกรัฐมนตรีจะเสนอนามสมเด็จพระราชาคณะผู้มีอาวุโสสูงสุดโดยสมณศักดิ์ จะต้องได้รับความเห็นชอบจากใครก่อน 

ก. นายกรัฐมนตรี ค. สมเด็จพระราชาคณะผู้มีอาวุโสสูงสุด

ข. พระมหากษัตริย์ ง. มหาเถรสมาคม 

13. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสมเด็จพระสังฆราช 

ก. สมเด็จพระสังฆราชทรงดำรงตำแหน่งสกลมหาสังฆปริณายก 

ข. สมเด็จพระสังฆราชทรงบัญชาการคณะสงฆ์ 

ค. สมเด็จพระสังฆราชทรงทรงตราพระบัญชาสมเด็จพระสังฆราชโดยไม่ขัดหรือแย้งกับกฎหมายพระธรรมวินัยและกฎมหาเถรสมาคม 

ง. ถูกทุกข้อ 

14. เมื่อไม่มีสมเด็จพระสังฆราช ใครคือผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช 

ก. มหาเถรสมาคม 

ข. สมเด็จพระราชาคณะรูปใดรูปหนึ่ง 

ค. สมเด็จพระราชาคณะผู้มีอาวุโสสูงสุด 

ง. สมเด็จพระราชาคณะผู้มีอาวุโสสูงสุดโดยสมณศักดิ์ 

15. สมเด็จพระสังฆราชจะได้ทรงแต่งตั้งให้สมเด็จพระราชาคณะรูปใดรูปหนึ่งปฏิบัติหน้าที่แทนได้ ในกรณีใด 

ก. เมื่อสมเด็จพระสังฆราชไม่ประทับอยู่ในราชอาณาจักร 

ข. เมื่อสมเด็จพระสังฆราชไม่อาจทรงปฏิบัติหน้าที่ได้ 

ค. สมเด็จพระสังฆราชทรงลาออกจากตำแหน่ง 

ง. ถูกทั้ง  และ  

16. สมเด็จพระสังฆราชพ้นจากตำแหน่ง เมื่อใด 

ก. ทรงพระกรุณาโปรดให้ออก ค. พ้นจากความเป็นพระภิกษุ

ข. มรณภาพ ง. ถูกทุกข้อ 

17. สมเด็จพระสังฆราชพ้นจากตำแหน่ง ข้อใด ไม่ใช่

ก. มรณภาพ ค. ไล่ออก

ข. ลาออก ง. พ้นจากความเป็นพระภิกษุ 

18. มหาเถรสมาคม อยู่ในหมวดใดของพ.ร.บ.คณะสงฆ์ พ.ศ.2505

ก. หมวด 1 ค. หมวด 3

ข. หมวด 2 ง. หมวด 4 

19. ประธานกรรมการโดยตำแหน่งในมหาเถรสมาคม คือใคร 

ก. สมเด็จพระราชาคณะ ค. สมเด็จพระสังฆราช

ข. พระราชาคณะ ง. ผู้อำนวยการสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ 

20. ใครเป็นเลขาธิการมหาเถรสมาคมโดยตำแหน่ง 

ก. สมเด็จพระราชาคณะ ค. สมเด็จพระสังฆราช

ข. พระราชาคณะ ง. ผู้อำนวยการสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ 

 

 

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
00000000000
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
111111111111
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
decho ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
11111111111
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

กรุณาใช้ข้อความที่สุภาพ คุณสามารถบันทึกฉบับร่างได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้